ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์...

24
© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org , CC-BY-SA MACBETH MarketAccess through Competency Based Education and Training in Horticulture ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือ FSKN I 10 Bangkok, Thailand November 7-8, 2012

Upload: others

Post on 29-Oct-2019

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

MACBETH Market Access through Competency Based Education and Training in Horticulture

ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือ

FSKN I 10

Bangkok, Thailand

November 7-8, 2012

Page 2: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

ข้อก าหนดระดับกลางของ GFSI

• อาคาร สถานที่ตั้ง และ/หรือโรงงานต้องออกแบบสร้าง และได้รับการบ ารุงรักษา เพื่อควบคุมความเสี่ยงของการปนเปื้อนผลิตภัณฑ ์

Page 3: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

ผังโรงงาน • การออกแบบโรงงานควรประกันได้ว่า ไม่มีความเสี่ยงของการปนเปื้อนข้ามทาง

จุลชีววิทยา ทางเคมี และทางกายภาพ • มีข้อควรพิจารณาที่เกี่ยวข้องกับระดับความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับผังการไหลของ

ผลิตภัณฑ์และการออกแบบของโรงงาน เช่น ความเสี่ยงการปนเปื้อนระหว่างการให้ความร้อนกับผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่บรรจุและปิดผนึกแล้ว

• มีสถานภาพทางสุขลักษณะของผลิตภัณฑ์ 3 ประเภท ที่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมและชนิดของอาหารที่ผลิต

การปฏิบัติในการผลิตที่ดี Good Manufacturing Practice

บริเวณที่ได้รับการดูแลสูง High Care Area

บริเวณที่มีความเสี่ยงสูง High Risk Area

• ต้องไม่ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารสดที่พร้อมบริโภคกับอาหารสดที่ต้องมีการปรุงให้สุกก่อนบริโภคฝนบริเวณการผลิตและเวลาเดียวกัน

Page 4: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

สภาพที่สัมพันธ์กับสถานภาพทางสุขลักษณะ

สภาพแวดล้อมภายใต้ของอาหารที่ถูกผลิตขึ้นกับประเด็นความเสี่ยงต่อความปบอดภัยอาหาร ทั้งนี้ค านึงถึงโอกาสที่อาหารจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ และความสัมพันธ์กับชนิดของอาหาร เทคโนโลยีการผลิตอาหาร และ การม/ีไม่มีอันตรายในอาหาร

สถานภาพทางสุขลักษณะมี 3 ระดับ; มีความส าคัญต่อสภาพแวดล้อมและการควบคุมที่เกี่ยวข้องว่ามีความเหมาะสมต่อการเกิดความเสี่ยงของผลิตภัณฑ ์

Page 5: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

1 .บริเวณที่มีวิธีปฏิบัติที่ดีในการผลิต – วิธีปฏิบัติที่ดีในการผลิต ขั้นต่ า – การโม่แป้ง ผลิตภัณฑ์ขนมหวานที่ท าด้วยน้ าตาล 2. บริเวณที่ต้องได้รับการดูแลสูง – มีการออกแบบพื้นที่อุณหภูมิต่ าให้ได้มาตรฐานสูง ซึ่ งมีการปฏิบัติของพนักงาน ส่วนผสม บรรจุภัณฑ์ และสภาพแวดล้อม เพื่อป้องกันการปนเปื้อนของผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์ก่อโรค – การถอดกระดูกเนื้อสัตว ์ 3. บริเวณความเสี่ยงสูง – มีการออกแบบพื้นที่อุณหภูมิต่ าที่มีการกั้นแยกให้ได้มาตรฐานสุขลักษณะสูง ซึ่งมีการปฏิบัติของพนักงาน ส่วนผสม เครื่องมือบรรจุภัณฑ์ และสภาพแวดล้อม เพื่อลดการปนเปื้อนของผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์ก่อโรค - อาหารพร้อมบริโภค

Page 6: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

การผลิตอาหารพร้อมบริโภคแช่เย็น

บริเวณเตรียมทีม่ีความเสีย่งต่ า

การรับ&การเก็บรักษา

บริเวณเตรียมทีม่ีความเสีย่งต่ า

บริเวณเก็บรักษาทีม่ี

ความเสีย่งต่ า

เตาอบ

กะทะแบบเปิด

เครื่องนึ่ง

เตาอบ

บริเวณเก็บรักษาที่ต้องดูแลสูง

บริเวณเตรียมทีม่ีความเสีย่งสูง

สายการผสมที่ต้องดูแลสูง

บริเวณเตรียมทีม่ีความเสีย่งสูง

การบรรจุ การเก็บรักษา

บริเวณเตรียมที่มีความเสี่ยงสูง วิธีปฏิบัติที่ดีในการผลติ วิธีปฏิบัติที่ดีในการผลิต

Page 7: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

อาหารที่มีความเส่ียงสูง:High Risk Food

ค าจ ากัดความ

ผลิตภัณฑ์ที่ใช้เพื่อการบริโภค ไม่ว่าในสภาพเย็นหรือให้ความร้อนซ้ า โดยไมมีการปรุงให้สุกอีก ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวสามารถสนับสนุนการเจริญของแบคทีเรียก่อโรค และ หากมีการปนเปื้อน จะมีโอกาสท าให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ

การปรุงให้สุก-การแยก-การควบคุมสุขลักษณะ

Page 8: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

ผังการไหลของผลิตภัณฑ ์• สายการผลิตและผังการไหลของผลิตภัณฑ์ควรออกแบบให้ด าเนินการเป็นแนวเส้นตรง

จากวัตถุดิบไปผลิตภัณฑ์สุดท้าย

• ค านึงถึงการแบ่งแยกสัดส่วนส าหรับการผลิตอาหารที่มีความเสี่ยงสูงและต้องดูแลสูงในกระบวนการผลิตแนวเส้นตรง

• ควรมีฉากกั้นแบ่งแยกกิจกรรมและพนักงานส าหรับกระบวนการผลิตผลิตภัณ์อาหารที่มีความเสี่ยงสูง และบริเวณที่ออกแบบเปิด

• ควรมีแบบแปลนโรงงานและสายการผลิตชัดเจน เพื่อทบทวนและยืนยันได้ว่า มีการแบ่งแยกสัดส่วนเหมาะสมตามธรรมชาติของวัสดุ เคร่ืองมือ คน ของเสีย การไหลของอากาศ และอื่นๆ

• แบบแปลนควรค านึงถึงการสัญจรของพนักงานจากทางเข้าโรงงานสู่บริเวณปฏิบัติงานและการสัญจรสู่บริเวณอื่นๆ ภายในโรงงาน เช่น สิ่งอ านวยความสะดวกของพนักงาน

• ณ บริเวณที่มีการเคลื่อนย้ายของผลิตภัณฑ์จากบรเวณความเสี่ยงต่ าสู่บริเวณความเสี่ยงสูง ควรมีการดูแลเพื่อให้มั่นใจได้ว่าการปฏิบัติดังกล่าว ลดความเสี่ยงของการปนเปื้อน

• ควรดูแลการควบคุมวัสดุบรรจุภัณฑ์

Page 9: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

การปฏิบตัิและการควบคุมสารก่อภูมิแพ้ การออกแบบ

โรงงาน

การออกแบบโรงงานและวิธีปฏิบัติ

การออกแบบโรงงาน

บรรจุภัณฑ์

พนักงาน

วัตถุดิบและห่วงโซ่อุปทาน

อาคาร เครื่องมือ และกระบวนการ

ผลิต

การท าความสะอาด

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่และการปรับ

สูตร

การจัดการสารก่อภูมิแพ ้

Page 10: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

การออกแบบอาคาร • ข้อควรพิจารณา;

วัสดุส าหรับก่อสร้างอาคาร

ระบบระบายน้ าเสีย

สิ่งอ านวยความสะดวก- น้ า ไอน้ า

บริเวณที่มีการควบคุมอุณหภูม ิ

บริเวณที่มีการควบคุมสภาพบรรยากาศ

การก าจัดของเสีย

สิ่งอ านวยความสะดวกของพนักงาน

บริเวณล้างภาชนะ

สิ่งอ านวยความสะดวกส าหรับการล้างมือพนักงาน

Page 11: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

โครงสร้างอาคาร ข้อก าหนดโคเด็กซ:์ โครงสร้างภายในอาคารผลิตอาหารควรสร้างอย่างแข็งแรงจากวัสดุที่ทนทาน ง่ายต่อบ ารุงรักษา ท าความสะอาด และ ณ ที่จ าเป็น สามารถฆ่าเชื้อได้ โดยเฉพาะตามสภาพเฉพาะที่ก าหนดต่อไปนี้ ณ ที่จ าเป็น เพื่อป้องกันความปลอดภัยและความเหมาะสมต่อการบริโภคของอาหาร:

• พื้นผิวของผนัง

• พื้น

• เพดานและอุปกรณ์ติดเพดาน

• หน้าต่าง

• ประตู

• พื้นผิวปฏิบัติงาน

Page 12: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

โครงสร้างอาคาร พื้นผิวของผนังและเพดาน

• พื้นผิวควรซีลปิด และเรียบ ทนต่อการดูดซับน้ า และล้างได้ง่าย

• พื้นผิวควรปราศจากรอยแตกร้าวและเสียหาย

• รอยต่อควรมีการซีลปิดและฉาบให้เป็นมุมโค้ง(cove)

• ป้องกันพื้นผิวที่ไวต่อการเสียหายโดยใช้

• อื่นๆ เช่น ท่อ หรือท่อลมที่ติดตั้งผ่านทางผนังและเพดานควรได้รับการซีลปิด

Page 13: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

โครงสร้างอาคาร พื้น

• ทนทานต่อกระบวนการผลิตที่รุนแรง

• ไม่ดูดซับความชื้นและทนทานต่อสารเคมีและอาหาร

• มั่นใจได้ว่าความลาดเอียงของพื้นเหมาะสมต่อการไหลสู่ช่องระบายน้ า

• ออกแบบเพื่อลดการตกค้างของน้ าและเกิดน้ าขัง

• ระบบระบายน้ าควรออกแบบให้มีการไหลจากบริเวณท่ีมีความเสี่ยงสูงสู่บริเวณที่มีความเสี่ยงต่ า โดยไม่มีการเกิดการไหลย้อนกลับ

Page 14: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

โครงสร้างอาคาร หน้าต่าง

• หน้าต่างที่เปิดสู่ภายนอก หรือหน้าต่างที่อยู่ใกล้กับบริเวณการผลิตควรมีการติดตะแกรงอย่างประสิทธิภาพเพื่อป้องการการเข้ามาของแมลงบิน

• ควรไม่เป็นแก้ว โดยเฉพาะหน้าต่างในบริเวณการผลิต

• หากเป็นแก้ว ควรมีการป้องกันการแตก (shatterproof) หรือหุ้มด้วยฟิล์ม

• หากเป็นไปได้ ควรเปลี่ยนหน้าต่างแก้วเป็นหน้าต่างพลาสติกที่แข็งแรงแทน

Page 15: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

โครงสร้างอาคาร

ประต ู

• ประตูทุกที่ต้องปิดได้แน่นสนิทและมีติดตั้งสิ่งป้องกันแมลงและสัตว์อื่น

• หลีกเลี่ยงการติดตั้งประตูภายนอกที่เปิดสู่ลริเวณการผลิตโดยตรง หากมีประตูดังกล่าว ควรติดตั้งตะแกรงหรือท าเป็นประตูแบบเปดิแล้วปิดได้เอง

• ควรอยู่ในสภาพดีและง่ายต่อการท าความสะอาด

Page 16: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

โครงสร้างอาคาร พื้นผิวปฏิบัติงาน

• พื้นผิวปฏิบัติงานทุกที่ควรสน้างจากวัสดุที่

เหมาะสม โดยไม่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อความปลอดภัยอาหาร

• พื้นผิวควรทนต่อการดูดซับน้ า ง่ายต่อการท าความสะอาด และฆ่าเชื้อ และไม่กัดกร่อน

• พื้นผิวไม่ควรทาสีหรือเคลือบด้วยวัสดุที่อาจย่อสลายและก่อให้เกิดความเสี่ยงของอันตรายทางกายภาพ

Page 17: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

บริเวณติดตั้งเครื่องมือ • เคร่ืองมือมุกชนิดควรติดตั้งโดยไม่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อความปลอดภัย

อาหาร

• เคร่ืองมือทุกชนิดควรติดตั้งให้ง่ายต่อการท าความสะอาด และ ณ ที่เหมาะสม ถอดแยกชิ้นส่วนภายในเพื่อสามารถท าความสะอาดและฆ่าเชื้อ

• ไม่ควรเก็บรักษาเครื่องมือส ารองและอะไหล่ในบริเวณการผลิต

• ควรติดตั้งในต าแหน่งที่ง่ายต่อการเข้าไปท าความสะอาด การตรวจสอบ และการให้บริการ

Page 18: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

การออกแบบเครื่องมอื • เครื่องมือทุกชนิดควรท าความสะอาดง่ายและสามารถฆ่าเช้ือได้

• ควรได้รับอนุญาตก่อนใช้เครื่องมือและทบทวนแผน HACCPเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเครื่องมือการผลิต

• ควรใช้ให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน

• ควรออกแบบเพื่อลดความเสี่ยงจากการปนเปื้อนทางจุลชีววิทยา เนื่องจากพื้นผิวที่ไม่ดี การเข้าถึงเพื่อท าความสะอาดได้ยาก และมีการสะสมเศษอาหาร

• ไม่ควรทาสีและปราศจากการกัดกร่อน น้ ามันหรือกรีส(greese)

• สารหล่อลื่นที่ใช้ในโรงงานผลิตอาหารควรเป็นเกรดส าหรับใช้กับอาหาร(food grade)

• เมื่อมีการจัดซื้อเครื่องมือใหม่ ซึ่งสัมผัสกับอาหารโดยตรง เช่น สายพานล าเลียง เครื่องผสม ถังพัก ใบรับประกันควรแสดงให้เห็นว่าสอดคล้องตามกฎระเบียบของพื้นผิวสัมผัสอาหารจากผู้จัดจ าหน่ายเครื่องมือ

Page 19: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

หลักการออกแบบเครื่องมือ แนวปฏิบัติของ CFA

1. เคร่ืองมือที่สัมผัสกับผลิตภัณฑ์ต้องเป็นไปตามกฎระเบียบ เช่น องค์การอาหารและยา และสหภาพประชาคมยุโรป

2. พื้นผิวสัมผัสทุกชนิดต้องเฉื่อยต่อผลิตภัณฑ์อาหาร

3. พื้นผิวทุกชนิดต้องเข้าถึงเพื่อท าความสะอาดและตรวจสอบด้วยสายตา เมื่อมีการท าความสะอาดด้วยมือ

4. พื้นผิวต้องเรียบ ไม่มีรอยต่อ และรอยขีดข่วน

5. การออกแบบควรส่งเสริมการไหลแบบต่อเนื่อง( streamlined flow) เหนือพื้นผิวสัมผัสอาหาร

6. การออกแบบควรป้องกันหรือลดการหกเลอะเทอะ

Page 20: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

หลักการออกแบบเคร่ืองมือ แนวปฏิบัติของ CFA

7. การออกแบบควรง่ายเท่าที่เป็นไปได้ มีส่วนที่ออกแบบซับซ้อนน้อย

8. การออกแบบควรให้มีช่องเปิดเท่าที่เป็นไปได้

9. ไม่มีซีมรอยต่อ ช่องว่าง รอยร้าว หรือจุดใดๆ ที่เป็นมุมอับ

10. สายยางแบบห้อยแขวนลงมา ไม่ควรท าให้เกิดการปนเปื้อนพื้นผิวที่สะอาด

11. ระบบต้องท าให้ง่ายต่อการปฏิบัติดูแลท าความสะอาด เช่น สกปรกเมื่อไร ท าความสะอาดทันที ‘clean as you go’

12. ส่วนเล็กๆที่แยกได้ง่ายของเครื่องจักรควรได้รับป้องกันอย่างเหมาะสม

13. ส่วนของเครื่องมือที่มีช่องเปิดสู่สภาพแวดล้อมควรมีการปิด

Page 21: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

หลักการออกแบบเครื่องมือ แนวปฏิบัติของ CFA

14. เคร่ืองมือควรระบายได้ดีและไม่มีบริเวณที่ท าให้เกิดการขังนิ่งของเหลว

15. เคร่ืองมือทุกชนิดต้องออกแบบให้ทนทานต่อสารละลายล้างที่มีฤทธ์ิเป็นเบส และสายยาง

16. เมื่อมีการประกอบเคร่ืองมือก่อนใช้ ควรด าเนินการให้ห่างจากบริเวณการผลิต

Page 22: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

MACBETH Market Access through Competency Based Education and Training in Horticulture

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

ค าถาม?

Page 23: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

การขออนุญาตเพื่อเผยแพร่ซ้ า

• © 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกน และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อนุญาตให้เผยแพร่ดัดแปลงโดยต้องระบุที่มา และต้องเผยแพร่งานดัดแปลงโดยใช้สัญญาอนุญาตเดียวกัน (Creative Commons Attribution-Share Alike 3.0 Unported; CC-BY-SA).

• แหล่งที่มา: © 2009 Global Food Safety Initiative and Michigan State University,แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org อนุญาตให้เผยแพร่ดัดแปลงโดยต้องระบุที่มา และต้องเผยแพร่งานดัดแปลงโดยใช้สัญญาอนุญาตเดียวกัน (CC-BY-SA).

• สามารถตรวจสอบส าเนาใบอนุญาตขอเผยแพร่ ได้ที่ http://creativecommons.org/licenses/by-sa/3.0/ หรือส่งจดหมายไปยัง Creative Commons, 559 Nathan Abbott Way, Stanford, California 94305, USA.

Page 24: ผังโรงงาน ผังการไหลของผลิตภัณฑ์ และเครื่องมือmacbeth.agro.ku.ac.th/wp-content/Intermediate-GMP/PDF/FSKN

© 2012 มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐมิชิแกนและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แหล่งที่มา http://www.fskntraining.org, CC-BY-SA

License to Reuse

• © 2012 Michigan State University, and Global Food Safety Initiative, licensed using Creative Commons Attribution-Share Alike 3.0 Unported (CC-BY-SA).

• Source: © 2009 Global Food Safety Initiative and Michigan State University, original at http://www.fskntraining.org, licensed using Creative Commons Attribution-Share Alike 3.0 Unported.

• To view a copy of this license, visit http://creativecommons.org/licenses/by-sa/3.0/ r send a letter to Creative Commons, 559 Nathan Abbott Way, Stanford, California 94305, USA.