social network & social media for pr

Post on 12-Nov-2014

1.104 Views

Category:

Technology

1 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

เทคนิคการเผยแพร่ผ่านสื่อใหม่ เพื่อการประชาสัมพันธ์และบริการลูกค้า

TRANSCRIPT

เทคนิคการเผยแพรผานสื่อใหมเทคนิคการเผยแพรผานสื่อใหมเพื่อการประชาสัมพันธและบรกิารลูกคาเพื่อการประชาสัมพันธและบรกิารลูกคา

วันที่ ๕ สงิหาคม ๒๕๕๔

กรมวิทยาศาสตรบริการ

บุญเลิศ อรุณพิบูลยboonlert@nstda.or.th

http://facebook.com/boonlert.aroonpiboon

2

บุญเลิศ อรุณพิบูลยบุญเลิศ อรุณพิบูลย

● 2536 – 2551– NECTEC

• เจาหนาทีร่ะบบคอมพิวเตอร• วิทยากร ศนูยฝกอบรมคอมพิวเตอรเนคเทค

• รกัษาการหวัหนางานสนับสนุนทางเทคนิค

• รกัษาการหวัหนางานวิชาการ• รกัษาการหวัหนางานพัฒนาสื่อสาระดจิทิลั

• นักวิชาการ

● 2551 – ปจจุบัน – STKS / NSTDA

• หวัหนางาน งานพัฒนาและบรกิารสื่อสาระดจิทิลั

• รกัษาการหวัหนางานพัฒนาและบรกิารสื่อสาระดจิทิลั

• นักวิชาการ

3

รูเทาทันการสื่อสารมวลชนยคุใหม

Social Networking Social Networking กบัการประชาสมัพันธองคกรกบัการประชาสมัพันธองคกร

4

http://valleywag.gawker.com/5018080/american-teenagers-spend-more-time-online-than-watching-television

5http://188.65.36.211/wp-content/uploads/2011/03/Nokia-story1_2_v3hires.jpg

ขอมลู : มีนาคม 2554

6

7

8

9

เริ่มที่ไหนดี?เริ่มที่ไหนดี?

Picture source: slideshare.net

10

Web 2.0Web 2.0● ยุคใหมของการพัฒนาเว็บไซต● รูปแบบการพัฒนาเว็บไซตที่ใหความสําคัญกับ “ผูใชเว็บ” มากกวา “ผูพัฒนา” หรือ “เจาของเว็บไซต”

● การปรับเว็บไซตจากการใหขอมูลเพียงทางเดียว เปนการใหบริการและขอมูลที่ “ผูใช” เขาถึงไดงายและรวมสราง แกไข

● แนวคิดการพัฒนาเว็บที่ใหความสําคญักับการปฏิสัมพันธ การทํางานรวมกัน การผสานความรวมมือทั้งโครงสรางพื้นฐาน ระบบ ซอฟตแวร และเนื้อหาเว็บ

11

12

13

14

เครื่องมอืเครื่องมอืมากมายมากมาย

Picture source: slideshare.net

15

รูปแบบของ รูปแบบของ Social MediaSocial Media● Communication

● Facebook, Ning, Meebo, Twitter● Distribution

● Flickr, Youtube, Slideshare, Digg● Organization

● Dilicious, LibraryThing, CiteULike● Special, Specific

ShareShare

CollaborateCollaborate

ConnectConnect

CommunicateCommunicate

DiscoverDiscover

AnalystAnalyst

16

เริ่มที่เรา - สะกด+ออกเสียงใหถูกเริ่มที่เรา - สะกด+ออกเสียงใหถูก

สะกด● อินเทอรเน็ต● เว็บไซต● อิเล็กทรอนิกส● ซอฟตแวร● คอลัมน● อ็อปติก

อานออกเสียง● Blog ≠ Block● bag ≠ back● drag and drop● Dog ≠ Dock

17

เริ่มที่เรา – เขียน เริ่มที่เรา – เขียน email email ใหเปนใหเปน● ควรกําหนดชื่อ-นามสกลุผูสงใหถูกตองใน email● ควรสรางขอความลงทายที่มีชื่อ ตําแหนง และที่อยู● ควรใชภาษาที่เหมาะสม● ควรทําใหขอความสั้น กระชับ● ควรตั้งนาฬิกาของเครือ่งใหเที่ยงตรง (ตั้งเวลากับ time server)● ควรแปลงไฟลแนบที่ไมยาวนักเปนสวนหนึ่งของขอความหลักใน

email ● ไมควรสงขอความและไฟลแนบที่ไมจําเปน● ไมควรแนบไฟลขนาดใหญ (เกิน 5MB) เพราะอาจทําให inbox ผูรับลน ใหใชวิธ ีdownload แทน

18

ชื่อ-นามสกุลผูสงถูกตองใน ชื่อ-นามสกุลผูสงถูกตองใน emailemail

● boonlert@nstda.or.th● Boonlert Aroonpiboon <boonlert@nstda.or.th>● Mee <boonlert@nstda.or.th>

19

20

ขอความลงทาย ขอความลงทาย emailemail

21

22

เริ่มที่เรา – เขียน บทความสั้นใหเปนเริ่มที่เรา – เขียน บทความสั้นใหเปน● การเขียนบทความสั้น ตือการยอความสิ่งตางๆ ใหเหลือประมาณ ๑๐๐ ถึง ๓๐๐ คํา

● ผูอานสามารถอานไดในเวลา ๑-๒ นาที● ไดผลในการสรางความสนใจ โดยอาจจเลือกใชภาษาที่เปนกันเอง และแสดงความเปนขอความสวนบุคคล

● ใชชองทางสื่อผานเครื่องมือ Social network เชน blog ไดสะดวก● เปนเครื่องมือชวยสรางความสนใจใหคนอาน press release เต็มๆได

● ใชชื่อเรือ่งที่กระชับ● ใหขอความ ๑๓๐ ตัวอักษรตอนตน เปนการยอความบทความสั้นทั้งหมด

23

เริ่มที่เรา – หัดใชเครื่องมือตางๆเริ่มที่เรา – หัดใชเครื่องมือตางๆ● เลน RSS เพื่อรวมขาวไวอานเอง

● กําหนดใหระบบ Content management สงขาวใหผูอื่นดวย ระบบ RSS

● ใช Facebook, LinkedIn, Flickr, Twitter หรือ YouTube แทนนามบัตร

● หาที่เขียน blog ของตนเอง

● หลังการแถลงขาวและแจกขาว อยาลืมเขียนขอความสั้นลงใน blog ใหคนทราบ

● ปอนขอความสั้นออกทาง Twitter โดยอัตโนมัติ

24

เริ่มตนจากเครื่องมือรวมขาว เริ่มตนจากเครื่องมือรวมขาว RSSRSS● RSS - Really Simple Syndication● การดึงขาว เนื้อหาบทความจากเว็บไซตหนึ่งไปนําเสนอบนอีกเว็บไซต หรือเครื่องมืออาน RSS (RSS Reader) ดวยเทคโนโลยี XML

ไอคอนสีสมแบบนี ้แสดงวาเว็บนั้นมี RSSใหเรานําไปใชงานได

25

นํา นํา RSS feed RSS feed จากฐานขอมลูจากฐานขอมลูตางๆ ปอนเขาตางๆ ปอนเขาเว็บองคกรเว็บองคกร

ทกุๆ ครึ่งชั่วโมงทกุๆ ครึ่งชั่วโมง

กรองเฉพาะขาวที่เกีย่วกับองคการของเรา

กําหนด RSS Feed URLใหกบัระบบ Content Management Systemที่องคกรใชทําเว็บ

26

RSS ReaderRSS Reader

● Desktop Sidebar เครื่องมือชวยดูด RSS จากเว็บมานําเสนอผานจอภาพ

27

Story Telling Story Telling งายๆ ดวย งายๆ ดวย BlogBlog● Blog มาจากคําวา WebLog● อนุทินชวีิตของบุคคล● ทะยอยเขียนเลาเรื่องตามวันที่/เวลา

● ระบบเครือขายสังคม สงขาวให “ผูสนใจ” ทาง email และ RSS เมื่อเราเขยีนบทความเสร็จ - อตัโนมัติ

● บรรจุขอความ ภาพ สื่อมลัติมีเดีย ไดตามสะดวก

28

วิกิ สรางสรรคความรูออนไลนวิกิ สรางสรรคความรูออนไลน● รวมสรางสรรคความรู● เปดใจ แสดงความคิดเห็น และแกไขเนื้อหา

● รักษาคุณภาพของขอเขียนไดดีเทากับการประชมุ และ เร็ว

● ทราบวาใครเขียนสวนใด เมื่อใด● ประยุกตใชไดหลากหลาย

29

เริ่มตนงายๆ กับวิกิเริ่มตนงายๆ กับวิกิ

● สรางวิกิใชเองไมยาก เพราะมีโปรแกรมใหใชมากมาย● หากไมมีเครื่อง ขอใชของฟรีก็ได มีใหหลายแหง● เลือกโปรแกรมวิกิ: http://www.wikimatrix.org● โปรแกรมแนะนํา: dokuwiki, mediawiki, pbwiki

● Dokuwiki เล็ก ความสามารถสูง สรางไฟล OpenOffice ได (www.dokuwiki.org)

● Pbwiki วิกิออนไลน ทํางานงายดวยเครื่องมือเขียนแบบ WYSIWYG Editor (www.pbwiki.com)

30

มุมมองใหม แนวคิดใหมมุมมองใหม แนวคิดใหม

ชวยกันเติม

ชวยกันเก็บ

เนนขอมูล

หลีกความสวย

เพิม่ความเร็ว

31

การเปลี่ยนแปลงของการเปลี่ยนแปลงของอุปกรณเครื่องมืออุปกรณเครื่องมือ

InternetShared-Infrastructure

32

ขอควรพิจารณาขอควรพิจารณา

● การใชอีเมลของหนวยงานในการสมัคร

● การระบขุอมูลสวนตัว● การเผยแพรขอมูลสวนตัว● การระบแุหลงทีม่า และการอางอิง

● สิทธิ์ของเนื้อหา/สื่อที่นําเสนอ

33

หลักคณุธรรมและจริยธรรมไอที (หลักคณุธรรมและจริยธรรมไอที (IT Ethics)IT Ethics)● ใชหลักขอปฏิบัตศิีล (Moral): เชน การปฏิบตัิตามศีลหา ไมลักทรัพย ไมพูดปด

● ใชหลักปฏิบตัิทางกฏระเบยีบทางสังคม (Social Contract): ปฏิบัตติามกฏของบริษทั ขององคกร ปฏิบตัิตามแบบแผนที่ดีของสังคม ชมุชน

● ใชหลักปฏิบตัิในเรื่องการแบงปนความสุข: ใชหลักกฏทองคํา (Golden rule) เราไมชอบอะไร กอ็ยาทําอยางนั้นกับผูอืน่

● ใชหลักกฏหมาย (IT Law)

http://nectecpbl.ning.com/อางอิงจากเอกสารนําเสนอโดยรศ.ยืน ภูวรวรรณ ในการอบรมวันที่ 15 ตุลาคม 2553

34

35

36

ยอมรบัสิทธิของผูสราง(Attribution) - BY

ใชสัญญาอนญุาตแบบเดียวกัน(Share Alike) - SA

ไมแกไขตนฉบับ (No Derivative Works) - NDไมใชเพื่อการคา (Noncommercial) - NC

37

CreativeCommons - LevelCreativeCommons - Level

38

สิทธิ์การเขาใชสื่อสิทธิ์การเขาใชสื่อ

39

Track-back : Auto TrackingTrack-back : Auto Tracking

40

หัวใจของการประชาสัมพันธองคกรหัวใจของการประชาสัมพันธองคกร● สื่อที่เปนทางการไมนาจะพอเพยีง● สื่อเสริมก็มีอิทธิพล● ประสิทธิผลของการสงขาว คือมีคนอาน และสนใจมากที่สุด

● Social networkชวยได

● ขอมูลองคกรตองสามารถคนหาไดงายดวย search engine

ICT เปนเพียงเครื่องมือ

ความสําเร็จความสําเร็จอยูที่ อยูที่

ความเขาใจ และ ความเขาใจ และ การจดัการการจดัการ

top related