presentation สกว

Post on 12-Mar-2016

215 Views

Category:

Documents

1 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

งานนำเสนอ สกว.

TRANSCRIPT

กฎหมาย ระเบียบ และนโยบายท่ีเก่ียวข้องระดบัชาติ

รฐัธรรมนูญ พ.ศ. 2550 หมวด 5 แนวนโยบายพืน้ฐานแห่งรฐั ส่วนท่ี10 แนวนโยบายด้านการมีส่วนรว่มของประชาชน

แผนยทุธศาสตรก์ารพฒันาระบบราชการไทย ฉบบัท่ี 2 (พ.ศ. 2551-2554) ยทุธศาสตรท่ี์ 2

“ปรบัรปูแบบการท างานให้มีลกัษณะเชิงบรูณาการเกิดการแสวงหาความรว่มมือและการสรา้งเครอืข่ายกบัฝ่ายต่างๆ รวมทัง้ เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนรว่ม”

กฎหมาย ระเบียบ และนโยบายท่ีเก่ียวข้องระดบัส านักงานต ารวจแห่งชาติ (ตร.)

• พ.ร.บ.ต ารวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 มาตรา 7 และ มาตรา 16 – 18

• ระเบียบ ตร. ว่าด้วย “การส่งเสริมให้ประชาชน ชมุชน ท้องถ่ินและองคก์รมีส่วนร่วมในกิจการต ารวจ พ.ศ. 2551”

กฎหมาย ระเบียบ และนโยบายท่ีเก่ียวข้องระดบัส านักงานต ารวจแห่งชาติ (ตร.)

• ยทุธศาสตรข์อง ตร.ตามแผนปฏิบติัราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2552 – 2555) ด้านการป้องกนัอาชญากรรม

กลยทุธท่ี์ 4

“การส่งเสริมให้ประชาชนและชมุชนมีส่วนร่วมในการป้องกนัและแก้ไขปัญหาอาชญากรรม”

ก.พ.ร. ให้ความหมายของ“การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม”

การบ ริหารร าชการ ท่ี เ จ้ าห น้ า ท่ี ห รื อหน่วยงานของรฐัได้เปิดโอกาสให้ประชาชน หรือผูเ้ก่ียวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมใน

- การตดัสินใจทางการบริหาร และ - การด าเนินงานของรฐั ทัง้ทางตรงและทางอ้อม

เพ่ือท่ีจะตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน

การก าหนดรปูแบบการมีส่วนรว่ม

ระเบียบ ตร. ว่าด้วยการส่งเสริมให้ประชาชน ชมุชน ท้องถ่ิน และองคก์ร มีส่วนรว่มในกิจการต ารวจ พ.ศ. 2551 หมวด 1 ข้อ 5

การก าหนดรปูแบบการมีส่วนรว่ม

1. การมีส่วนร่วมของประชาชนทัว่ไป1.1. เครือข่ายชุมชน ลักษณะแนวร่วม

1.2. เครือข่ายชุมชน ลักษณะปฏิบัติการ

2. การมีส่วนร่วมขององคก์ร

3. การมีส่วนร่วมของพนักงานรกัษา

ความปลอดภยัเอกชน

ลกัษณะของการมีส่วนร่วมท่ีควรจะเป็น

1. การให้ข้อมลูอาชญากรรม ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ

2. การมีส่วนร่วมของทุกขัน้ตอนของแผนงานแก้ไขปัญหาอาชญากรรม

ขัน้ตอนการวางแผนงานแก้ไขปัญหาอาชญากรรม

1. ตรวจสอบสภาพปัญหาตรงตามความเป็นจริง2. วิเคราะหปั์ญหาอาชญากรรมได้ถกูต้องแม่นย า3. พิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหาได้ตรงจดุ4. วางแผนและจดัท าแผนปฏิบติัการอย่างจริงจงั5. ลงมือปฏิบติัการตามแผนอย่างมีประสิทธิภาพ6. ประเมินผลการปฏิบติัด้วยตวัช้ีวดัอย่างเป็นท่ียอมรบั7. ปรบัปรงุแผนและการปฏิบติั ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากท่ีสดุอย่างต่อเน่ือง

การวิเคราะหอ์งคป์ระกอบของอาชญากรรม

1. ตวัคนร้ายท่ีกระท าผิด

2. แผนประทุษกรรมของคนร้าย

3. ตวัเหยื่อ / ผูเ้สียหาย

4. ผูส้นับสนุนการกระท าผิด

5. ปัจจยัเอ้ืออ านวยต่อการกระท าผิด

แนวทางการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม

• สืบสวนติดตามจบักมุคนรา้ยผูก้ระท าผิด

• ตรวจค้นจบักมุและป้องกนัคนร้ายกระท าผิดตามแผนประทุษกรรมท่ีวิเคราะหไ์ว้

• ให้ความรูแ้ละแนะน ากลุ่มเป้าหมาย ให้รอดพ้นจากการเป็นเหยื่อของคนร้าย

แนวทางการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม(ต่อ)

• สืบสวนจบักมุผูส้นับสนุนการกระท าผิด

• ควบคมุปัจจยัต่างๆ มิให้ส่งเสริมการกระท าผิด เช่น แหล่งอบายมขุ การแพร่ระบาดของ ยาเสพติด การเผยแพร่ส่ือลามกอนาจาร การเล่นการพนัน เป็นต้น

การส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม

• การแสวงหาภาคีเครือข่าย ภาครฐั และ ภาคประชาชนตลอดจนการด ารงรกัษาสมัพนัธภาพท่ีดีให้ยัง่ยืนตลอดไป

• การส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในทุกขัน้ตอนของ การแก้ไขปัญหาอาชญากรรม

• การส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในความรบัผิดชอบของผลการด าเนินงานร่วมกบัต ารวจด้วย ทัง้ในแง่ของประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ร่วมประเมินผลและพัฒนา

•ตวัคนร้ายท่ีกระท าผิด•แผนประทุษกรรมของคนร้าย•ตวัเหย่ือ•ผูส้นับสนุนการกระท าผิด•ปัจจยัเอ้ืออ านวย

การด าเนินโครงการภาคสนาม (1)

• เสนอขอความร่วมมือในการสนับสนุนโครงการจากผูบ้ริหารต ารวจระดบั ตร.

• ประชุมปรึกษาหารือร่วมกบัผูบ้ริหารต ารวจระดบักองบญัชาการ (บช.) เพ่ือขอความร่วมมือและสนับสนุนการด าเนินโครงการ รวมทัง้การคดัเลือกพืน้ท่ีน าร่อง จ านวน 1 แห่ง

การด าเนินโครงการภาคสนาม ( 2 )

การด าเนินโครงการภาคสนาม ( 3 )

• จดัเวทีแลกเปล่ียนความรูร้ว่มกนัระหว่างคณะวิจยั ผูบ้ริหารต ารวจระดบั บก. ท่ีเป็นพืน้ท่ีน ารอ่ง และ หน.สถานีต ารวจ

• จดัเวทีแลกเปล่ียนความรูร้ว่มกนัระหว่างคณะวิจยั ผูบ้ริหารต ารวจระดบั บก. ท่ีเป็นพืน้ท่ีน ารอ่ง หน.สถานีต ารวจ และ แกนน าหรอืผูแ้ทนภาคีเครอืข่าย

• คณะกรรมการ ตมอ. รว่มจดัท าแผนปฏิบติัการลดอาชญากรรม

การด าเนินโครงการภาคสนาม ( 4 )

• จดัตัง้คณะกรรมการ ต ารวจรว่มมวลชนลดอาชญากรรม (ตมอ.) ประจ าพืน้ท่ีสถานีต ารวจ

• ผูบ้ริหารต ารวจระดบั บก.รว่มพิจารณาแผน ปฏิบติัการ ตมอ.ของพืน้ท่ีน ารอ่งในภาพรวมทัง้หมด

• จดัเวทีแลกเปล่ียนความรูร้ว่มกนัระหว่างคณะวิจยั ผูบ้ริหารต ารวจระดบั บก. ท่ีเป็นพืน้ท่ีน ารอ่ง หน.สถานีต ารวจ และ แกนน าหรอืผูแ้ทนภาคีเครอืข่ายในเรือ่ง การจดัท าแผนปฏิบติัการ ตมอ.ระยะ 1 เดือนแรกของโครงการ

การด าเนินโครงการภาคสนาม ( 5 )

• แผนปฏิบติัการตมอ.โดยสรปุของ ภ.จว./ บก.น.

ทัง้ 10 แห่งของพืน้ท่ีน าร่อง มีกลุ่มคดีเป้าหมายท่ีมีลกัษณะคล้ายคลึงกนั คือ

1. กลุ่มคดีท าร้ายรา่งกาย

2. กลุ่มคดีลกัทรพัยใ์นเคหสถาน

3. กลุ่มคดีลกัรถยนตแ์ละรถจกัรยานยนต์

พระนครศรีอยุธยาสภ.พระนครศรีอยุธยา,สภ.อุทัย

สภ.บางปะอิน,สภ.วังน้อยสภ.พระอินทร์ราชา สภ.นครหลวง

ชลบุรี

นครราชสีมา

ขอนแก่น

เชียงใหม่1. เมือง2. แม่ริม3. สันทราย4. หางดง5. สันปาตอง6. สารภี7. สันก าแพง8. ดอยสะเก็ด

นครสวรรค์

นครปฐม

นครศรีธรรมราช

สงขลา

บก.น.9

การด าเนินโครงการ ระยะท่ี 2

วตัถปุระสงค์

• เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของรปูแบบและกระบวนการมีส่วนร่วมของมวลชนในการลดอาชญากรรมในเขตพืน้ท่ีน าร่อง

• เพ่ือค้นพบและสร้างรปูแบบและวิธีการน าพลงัมวลชนร่วมลดอาชญากรรมต้นแบบท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

การเกบ็รวบรวมและวิเคราะหข้์อมลู

ผูใ้ห้ข้อมลูหลกั คือ

- ต ารวจ

- ภาคีเครือข่ายภาครฐัและภาคประชาชน - ประชาชนในพืน้ท่ีด าเนินโครงการ

แนวทางการวิจัย ผู้ให้ข้อมูลหลัก วิธีการ

และ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย

แนวทางการวิจยั ผูใ้ห้ข้อมลูหลกั วิธีการและ เครื่องมือ

- ศึกษา วิธีคิด และ วิธีปฏิบัติการของ ตมอ.

ต ารวจ ตัวแทนภาคีเครือข่าย และประชาชนโดยทั่วไป อย่างน้อยประเภทละ 3 คน / พื้นที่เป้าหมาย

การสัมภาษณ์แบบลึก ( in-depth interview) โดยใช้แนวค าถาม-ศึกษาประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผล ปัญหาอุปสรรค กระบวนการแก้ไขและการปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการป้องกันและลดอาชญากรรม

แนวทางการวิจยั ผูใ้ห้ข้อมลูหลกั วิธีการและ เครื่องมือ

- ศึกษาการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการป้องกันและลดอาชญากรรมของภาคีเครือข่าย- ศึกษาวิธีปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการ ตมอ.

- ต ารวจ และ ภาคีเครือข่าย- กลุ่มที่เป็นปัจจัยส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดอาชญากรรมในพื้นที่เป้าหมาย

การสังเกตอย่างมีโครงสร้าง และ การสัมภาษณ์

แนวทางการวิจยั ผูใ้ห้ข้อมลูหลกั วิธีการและ เครื่องมือ

- ศึกษาวิธีคิด และการให้ความหมาย เกี่ยวกับรูปแบบและวิธีการน าพลังมวลชนร่วมลดอาชญากรรม

- กลุ่มต ารวจ- กลุ่มภาคีเครือข่าย- กลุ่มต ารวจร่วมกับภาคีเครือข่าย- กลุ่มชาวบ้าน

สนทนากลุ่ม (group discussion) โดยใช้แนวค าถาม

- ศึกษาประสบการณ์ของผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับรูปแบบและวิธีการน าพลังมวลชนร่วมลดอาชญากรรม

แนวทางการวิจยั ผูใ้ห้ข้อมลูหลกั วิธีการและ เคร่ืองมือ

-ศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคม- การวิเคราะห์จุดอ่อน /จุดแข็งในการสร้างและการรักษาพลังมวลชนร่วมลดอาชญากรรมให้ยั่งยืน

- ต ารวจ- ภาคีเครือข่าย ในพื้นที่ปฏิบัติการ

- ท า social network เครือข่ายความสัมพันธ์ระหว่างต ารวจกับ ภาคีเครือข่าย

- การสัมภาษณ์ การสังเกต โดยใช้แนวค าถาม

แนวทางการวิจยั ผูใ้ห้ข้อมลูหลกั วิธีการและ เคร่ืองมือ

- ศึกษาเปรียบเทียบสถิติคดีอาชญากรรมก่อน และ หลังการด าเนินโครงการ

- ต ารวจ

- ภาคีเครือข่าย

ของประชาชนในพื้นที่

ปฏิบัติการ

การส ารวจ(survey)

โดยใช้

- สถิติคดีอาชญากรรม

เปรียบเทียบ

- แบบส ารวจความพึง

พอใจ

- ศึกษาความพึงพอใจต่อการป้องกันและลดอาชญากรรมโดยใช้วิธีการน าพลังมวลชนเข้ามามีส่วนร่วม

การวิเคราะหข้์อมลู

• วิเคราะห์ข้อมูลการศกึษาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการป้องกันและ ลดอาชญากรรมโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าร้อยละ และ ค่าเฉลี่ย

• วิเคราะห์ข้อมูล การศึกษารูปแบบและวิธีการน าพลังมวลชนร่วมลดอาชญากรรม โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

ระยะเวลาด าเนินการ

• โครงการ 8 เดือน

• กรกฎาคม 2553 – กุมภาพันธ์ 2554

top related