การปฏิวัติอุตสาหกรรม - wordpress.com · 2011-02-23 ·...

Post on 06-Jan-2020

0 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

การปฏิวัติอุตสาหกรรม

เป็นการเปล่ียนแปลงที่ส าคัญในระบบและวิธีการผลิต คือ เปลี่ยนจากการใช้แรงงานคนและสัตว์มาเป็นเครื่องจักรกลที่สลับซับซ้อน และมีประสิทธิภาพมากขึ้น การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรปเริ่มขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่ 21 เกิดในประเทศอังกฤษเป็นประเทศแรก โดยในระยะแรกเรียกว่า สมัยแห่งพลังไอน้ า ซึ่งต่อมาจึงได้เกิดเครื่องจักรไอน้ าของเจมส์ วัตต์ขึ้นเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมทั่วไป

การปฏิวัติอุตสาหกรรมในระยะที่สองประมาณ พ.ศ.2403-2457 เริ่มมีการใช้แก๊ส น้ ามันปิโตรเลยีม และไฟฟ้า แทนถ่านหินและไอน้ า ซึ่งการใช้พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานหลักของอุตสาหกรรม ส่วนการผลิตด้านการเกษตรกรรมก็เปลี่ยนมาเป็นการผลิตสินค้าเฉพาะอย่างเพื่อการค้า

การปฏิวัติอุตสาหกรรม ระยะแรก

การปฏิวัติอุตสาหกรรระยะแรก ประมาณ ค.ศ.1760 เรียกว่า สมัยแห่งพลังไอน้ า” เนื่องจากมีการค้นพบพลังไอน้ าและน าเครื่องจักรไอน้ ามาใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมทอผ้า เพราะอังกฤษมีแหล่งถ่านหินและเหล็ก ซึ่งเป็นเชือ้เพลิงและวัตถุดิบที่อุดมสมบูรณ์รวมทั้งมีการประดิษฐ์เครื่องจักรกลใหม่ ๆ ซึ่งน ามาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง

การปฏิวัติอุตสาหกรรม ระยะแรก เป็นอย่างไร ?

(1) อุตสาหกรรมทอผ้า สิ่งประดิษฐ์ในระยะแรก ๆ เป็นเครื่องจักรกลที่น ามาใช้ใน อุตสาหกรรมทอผ้า เช่น - เครื่องทอผ้า ที่เรียกว่า “กี่กระตุก” ของ จอห์น เคย์ (John Kay)

- เครื่องปั่นด้าย “สปินนิง มูล” (Spinning Mule) ของแซมมวล ครอมป์ตัน - เครื่องทอผ้า ที่เรียกว่า หูกทอผ้า “พาเวอร ์ลูม”

การปฏิวัติอุตสาหกรรม ระยะแรก

(2) เครื่องจักรไอน้ า เป็นผลงานของ เจมส์ วัตต์ (James

Watt) นักประดิษฐ์ชาวสก็อต ในป ีค.ศ.1786 เป็นผลให้อุตสาหกรรมทอผ้าฝ้ายของอังกฤษประสบความส าเร็จ

การปฏิวัติอุตสาหกรรม ระยะแรก

(3) อุตสาหกรรมเหล็ก ตัวอย่างเช่น ท ารางรถไฟ ตู้รถสินค้าของถไฟ จึงมีผู้เรียกการปฏิวัติอุตสาหกรรมในช่วงแรกว่า “การปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคเหล็ก” (Age of Iron)

การปฏิวัติอุตสาหกรรม ระยะแรก

การปฏิวัติอุตสาหกรรม ระยะที่สอง

การปฏิวัติอุตสาหกรรมในระยะที่สอง เกิดขึ้นประมาณปี ค.ศ.1860-1914 มีการน าความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการผลิตภาคอุตสาหกรรมอย่างแท้จริง เป็นยุคที่ใช้พลังงานเชื้อเพลิงจากกา๊ซธรรมชาติ น้ ามันปิโตรเลยีม และไฟฟ้า (ส่วนถ่านหินและเครื่องจักรไอน้ าลดความส าคัญลง)

การปฏิวัติอุตสาหกรรม ระยะที่สอง เป็นอย่างไร ?

อุตสาหกรรมทีส่ าคัญ คือ อุตสาหกรรมผลิตเครื่องจักรกลที่ท าด้วยเหล็กกล้า และอุตสาหกรรมเคม ี จึงมีผู้เรียกการปฏิวัติอุตสาหกรรมในช่วงที่สองนี้ว่า“การปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคเหล็กกล้า" (Age of Steel )

การปฏิวัติอุตสาหกรรม ระยะแรก

(1) การค้นพบวิธีการผลิตเหล็กกล้า ในป ี ค.ศ.1856 และการใช้พลังงานใหม่ ๆ แทนที ่ ถ่านหิน ได้แก่ พลังงานจากก๊าซ น้ ามันปิโตรเลียม และไฟฟ้า เป็นผลให้อุตสาหกรรมของทวีปยุโรปขยายตัวอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะเมื่อเหล็กกล้ามีราคาถูกลงท าให้อุตสาหกรรมหนัก เชน่ การต่อเรือ การคมนาคม และการผลิตเครื่องจักรกลต่าง ๆ พัฒนาก้าวหนา้มากยิ่งขึ้น

ความก้าวหน้าและการขยายตัวของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

(2) การขยายตัวของการปฏิวัติอุตสาหกรรมในทวีปยุโรป ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีประเทศในภาคพื้นยโุรปหลายประเทศประสบผลส าเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม โดยเฉพาะเยอรมนีกลายเป็นประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้าและเป็นคู่แข่งที่ส าคัญของอังกฤษ

ความก้าวหน้าและการขยายตัวของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

(3) การเกิดประเทศผู้น าด้านอุตสาหกรรมของโลก ก่อนสงครามโลก ครั้งที่ 1(ค.ศ.1914-1918) อังกฤษยังคงมีฐานะเป็นประเทศผู้น าทางด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมชั้นน าของโลก โดยเยอรมนีเป็นประเทศที่มีระดับการพัฒนาใกล้เคียงมากที่สุด จนกระทั้งในปี ค.ศ.1920 จึงเกิดประเทศคู่แข่งส าคัญเพิ่มขึ้น ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต และญี่ปุ่น

ความก้าวหน้าและการขยายตัวของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

(4) การเกดิระบบการบริหารและการจัดการทางอุตสาหกรรม การปฏิวัติอุตสาหกรรมท าให้เกิดการบริหารงานในระบบโรงงานที่มีประสิทธิภาพ เช่น มีการแบ่งงานกันท าเป็นฝ่ายหรือแผนก

ความก้าวหน้าและการขยายตัวของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

สาเหตุของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

(1) ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ จึงเกิดความสนใจที่จะประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ เพือ่ใช้ในการอุตสาหกรรม

(2) การส ารวจทางทะเลและการแสวงหาอาณานิคม ท าให้มีแหล่งวัตถุดิบและตลาดระบายสินค้า เป็นการกระตุ้นให้การค้าขยายตัว จึงสนับสนุนให้คดิประดิษฐ์เครือ่งจักร

สาเหตุของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

(3) ความมั่นคงและเสรีภาพทางการเมืองในยุโรป ท าให้พ่อค้า นายทุน และนักอุตสาหกรรม มีสิทธิมีเสียงในการปกครองประเทศ การอุตสาหกรรมจึงได้รับการสนับสนุนใหเ้จริญก้าวหน้า

สาเหตุของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

(1) การเพิ่มของจ านวนประชากร โดยเฉพาะประเทศอังกฤษและเยอรมนีมีอัตราการเพิ่มของประชากรสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็นผลจากการเปล่ียนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจจากเกษตรกรรมมาเป็นอุตสาหกรรม เกิดการขยายตัวของชุมชนเมือง และความเจริญก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุข

(2) การขยายตัวของสังคมเมือง เกิดเมืองใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจากการอพยพของผู้คนในชนบทเข้ามาท างานในเมือง ท าให้เกิดปัญหาสงัคมตามมา โดยเฉพาะปัญหาชุมชนแออัด และเกิดอาชีพใหม่ ๆ หลากหลาย

ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

(3) การแสวงหาอาณานิคมและลัทธิจักรวรรดินิยม ประเทศยุโรปที่มีการปฏิวัติการผลิตด้านอุตสาหกรรมีความจ าเป็นต้องแสวงหาแหล่งวัตถุดิบป้อนโรงงานอุตสาหกรรม และขยายตลาดระบายสินค้าที่ผลิตจึงเกิดการแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคมในทวีปแอฟริกาและเอเชีย

ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

(4) ความเจริญก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมในคริสต์ศตวรรษที่ 20 การปฏิวัติอุตสาหกรรมท าให้โลกมีการพัฒนาการผลติภาคอุตสาหกรรมก้าวหน้าต่อไปไม่หยุดยั้ง เช่น มีการน าวัสดุอ่ืน ๆ มาใช้ผลิตแทนวัสดุธรรมชาติ เช่น พลาสติก และโลหะที่มีน้ าหนักเบา ระบบใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการท างาน เป็นต้น

ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

ผลดีของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

เกิดระบบโรงงานเพื่อผลติสินค้าเพิ่มจ านวนขึ้น เกิดแรงงานเพิ่มขึน้และมาอยู่รวมกันในเมืองใหญ่ มีรายได้เพิม่สูงขึ้น คุณภาพสินค้าและบริการมีคุณภาพขึ้น และมีการน าวิทยาการเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาพัฒนาใช้เพื่อความก้าวหน้าของประเทศเพิม่ขึ้น

ผลกระทบของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ในยุโรปต่อสังคมไทย

ผลกระทบของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ในยุโรปต่อสังคมไทย

ผลดีของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

ก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่พัฒนาและก าลังพัฒนา เป็นบ่อเกิดของลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตก เนื่องจากต้องการแหล่งวัตถุดิบและขยายการค้า และมีการแบ่งชนชั้นคือนายทุนที่มัง่คั่งกับลูกจ้างผู้ยากไร้ภายในประเทศ

เหตุการณ์ส าคัญกับการปฏิวัติอุตสาหกรรม.(ออนไลน)์. เข้าถึงได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/

ผลกระทบของการปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรปต่อสังคมไทย.(ออนไลน)์. เข้าถึงได้จาก http://www.lks.ac.th/kukiat/student/

betterroyal/social/39.html

การปฏิวัติอุตสาหกรรม.(ออนไลน์).เข้าถึงได้จาก http://www.lks.ac.th/

kukiat/student/betterroyal/social/39.html

เอกสารอ้างอิง

จัดท าโดย

นายธีรพันธุ์ ใจกล้า เลขที ่ 4นายพลวัชร์ ยงยืน เลขที่ 8นางสาวฑิฆัมพร ตาเต เลขที่ 18

นางสาวณัฐชา ปัญญาชนกุล เลขที่ 19

นางสาวพัชรี พงษ์สาริกรรณ์ เลขที่ 24

นางสาวพิชชาพร คูสินทรัพย์ เลขที่ 33

นักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 6/4

top related