วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง...

16
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนเตรียมทหารชั้นปที่ ๓ ตอการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning วิชาชีววิทยาพื้นฐาน ว ๓๓๑๐๔ ภาคเรียนทีปการศึกษา ๒๕๖๐ โดย ร.อ.หญิง สุภาพร กําซา ร.น. การวิจัยในชั้นเรียนนี้เปนสวนหนึ่งของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาชีววิทยาพื้นฐาน ชั้นปทีภาคเรียนทีปการศึกษา ๒๕๖๐ กองวิชาวิทยาศาสตร สวนการศึกษา โรงเรียนเตรียมทหาร

Upload: others

Post on 31-Dec-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

วิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง

การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนเตรียมทหารชั้นปท่ี ๓ ตอการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning

วิชาชีววิทยาพ้ืนฐาน ว ๓๓๑๐๔ ภาคเรียนท่ี ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐

โดย

ร.อ.หญิง สุภาพร กําซา ร.น.

การวิจัยในชั้นเรียนน้ีเปนสวนหน่ึงของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาชีววิทยาพ้ืนฐาน

ชั้นปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐

กองวิชาวิทยาศาสตร สวนการศึกษา โรงเรียนเตรียมทหาร

Page 2: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

คํานํา

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๔ กําหนดใหการวิจัยในช้ันเรียน เปนสวนหน่ึงของ

การจัดการเรียนรูใหกับผูเรียน การวิจัยเปนกระบวนการสรางองคความรูอยางเปนระบบระเบียบและมีแบบแผน

ชวยใหครูผูสอนไดพัฒนาการจัดการเรียนรู เพื่อเสริมสรางศักยภาพในการเรียนใหกับผูเรียน ในการจัดก ิจกรรม

การเรียนการสอนใหกับนักเรียนเตรียมทหารตองฝกและสงเสริมใหนักเรียนเตรียมทหารศึกษาคนควาดวยตนเอง

คิดเปน ทําเปน และแกปญหาเปน การเรียนการสอนแบบสืบคนบทบาทสมมติ การทดลอง และกิจกรรมกลุมเปน

วิธีการสอนรูปแบบหน่ึงที่สามารถฝกใหนักเรียนเตรียมทหารเรียนรูขอมูลและทําความเขาใจบนพื้นฐานของขอมูล

ที่ศึกษาแลวนําขอมูลดังกลาวมาสรุป วิเคราะห แปลผล และนําเสนอผล กระบวนการดังกลาวจะชวยฝกใหนักเรียน

เตรียมทหารสืบคนความรูจากแหลงการเรียนรูตางๆ ฝกการทํางานเปนทีมแบบมีสวนรวม มีจิตสํานึกตอหนาที่และ

ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข เพื่อให นักเรียนเตรียมทหารเกิดความเช่ือมั่นในตนเอง และฝกการทํางานแบบ

บูรณาการกับวิชาตางๆ จึงมีการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนเตรียมทหารช้ันปที่ ๓ ตอการจัดกิจกรรมแบบ

Active Learning วิชาชีววิทยา ว ๓๓๑๐๔ ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐

ผูจัดทํา

ร.อ.หญิง สุภาพร กําซา ร.น.

Page 3: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

สารบัญ

เรื่อง หนา

คํานํา ก

สารบัญ ข

บทคัดยอ ค

ท่ีมาและความสําคัญ…………………………………………………………………………………………………….… ๑

วัตถุประสงค……………………………………………………………………………………………………………..……. ๑

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ……………………………………………………………………………….……………... ๒

ขอบเขตของการวิจัย…………………………………………………………………………………….………………… ๒

วิธีดําเนินการวิจัย…………………………………..……………………………………………………………………………. ๒

กลุมตัวอยาง…………………………………………………………………...……………….……………………………….๒

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย……………………………………………………..……………………………..…………….. ๓

การสรางเครื่องมือ……………………………………………………………………..……………………………..…..... ๓

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล…………………………………………………………………………………………….……. ๔

การวิเคราะหและการจัดกระทําขอมูล……………………………………..………………………………….…….. ๔

สถิติที่ใชในการวิจัย………………………………………………………………………………………………….………. ๔

ผลการดําเนินการวิจัย…………………………………………………………………..………………………………..….. ๔

สรุปผลการวิจัย………………………………………………………………………………………………………..……… ๕

อภิปรายผล………………………………………………………………………………………………………...…………... ๖

ขอเสนอแนะ……………………..........…………………………………………………………………………..…..….... ๗

บรรณานุกรม…………………………………………………………………………..................................................….... ๘

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก แบบประเมินเพื่อการวิจัย…………………….……………………………….………....….... ๙

ภาคผนวก ข เคาโครงการวิจัยในช้ันเรียน.………………………..………………………………….…...... ๑๒

Page 4: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

บทคัดยอ

งานวิจัย เรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนเตรียมทหารช้ันปที่ ๓ ตอการจัดกิจกรรมแบบ Active

Learning วิชาชีววิทยาพื้นฐาน ว ๓๓๑๐๔ ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐ เพื่อประเมินการจัดกิจกรรมการเรียน

การสอนวิชาชีววิทยาพื้นฐานและนําขอมูลที่ไดมาวางแผนและปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหเหมาะสม

และตอบสนองตอความตองการของผูเรียนอยางแทจริง

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการประเมินครั้งน้ี ไดแก แบบประเมินแบบ Rating Scale เรื่อง

การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนเตรียมทหารตอการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning วิชาชีววิทยาพื้นฐาน ภาค

เรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐ โดยแบงเปน หัวขอความพึงพอใจ เกี่ยวกับ ความพรอมของผูเรียน ความพรอมของ

เอกสารการสอนและความพรอมของอุปกรณชวยสอน ลักษณะคําถามเปนแบบมาตราสวนประมาณคา ๕ ระดับ คือ

มากที่สุดมาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด

Page 5: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

ช่ือเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนเตรียมทหารช้ันปที่ ๓ ตอการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning

วิชาชีววิทยาพื้นฐาน ว ๓๓๑๐๔ ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐

ความเปนมาและความสําคัญ

การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูสอนสามารถใชวิธีสอนที่ใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียน

อาจใชวิธีใดวิธีหน่ึงหรือหลายๆ วิธีในการสอนครั้งหน่ึงๆ เชน วิธีการอภิปราย วิธีการสืบคน วิธีการสืบเสาะ วิธีการ

เรียนแบบรวมมือ และวิธีการเช่ือมโยงมโนทัศน เปนตน โดยวิธีการดังกลาวผูเรียนจะมีบทบาทในการเรียนมากที่สุด

สงผลใหผูสอนมีบทบาทนอยลงแตผูสอนจะเปนเพียงผูกําหนดหัวเรื่องกิจกรรมรวมทั้งสื่อเพื่อจัดประสบการณการเรียน

ใหผูเรียนสามารถสรางความรูไดดวยตนเอง กระบวนการเรียนแบบสืบคนหาความรูเปนกระบวนการที่มีการกําหนด

ประเด็นที่ตองศึกษาและกําหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาใหมีความชัดเจนย่ิงข้ึน เมื่อทําความเขาใจในประเด็นที่

ตองการศึกษาแลวก็ศึกษาคนควาบนพื้นฐานของขอมูลที่เปนไปไดและศึกษาคนควาหาขอมูลจากเอกสารอางองิหรอืจาก

แหลงขอมูลตางๆ เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลอยางเพียงพอแลวนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห แปลผล และนําเสนอผลที่ไดใน

รูปแบบตางๆ และการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning เปนวิธีการสอนรูปแบบใหมที่รับความนิยมในตางประเทศ

และหลายโรงเรียนในประเทศไทย ดังน้ัน ในการเรียนการสอนชีววิทยาพื้นฐานจึงสนใจที่จะจัดกิจกรรมแบบ Active

Learning มาใชเพื่อสํารวจความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอน และนําไปใชเปนขอมูลเพื่อวางแผนและปรับปรุง

ตลอดจนสรางแรงจูงใจในการเรียนของนักเรียนเตรียมทหารช้ันปที่ ๓

แนวคิดเก่ียวกับ Acitive Learning

“Active Learning” หมายถึง กระบวนการเรียนการสอนรูปแบบหน่ึงซึ่งเปลี่ยนการใชชวงเวลาของ

การบรรยายเน้ือหา (Lecture) ในหองเรียนเปนการทํากิจกรรมตางๆ เพื่อฝกแกโจทยปญหา และประยุกตใชจริง

สวนการบรรยายจะอยูในชองทางอื่นๆ เชน วิดีโอ วิดีโอออนไลน podcasting หรือscreen castingฯลฯ ซึ่งนักเรียน

เขาถึงไดเมื่ออยูที่บานหรือนอกหองเรียน ดังน้ัน การบานที่เคยมอบหมายใหนักเรียนฝกทําเองนอกหองจะกลายมาเปน

สวนหน่ึงของกิจกรรมในหองเรียน และในทางกลับกัน เน้ือหาที่เคยถายทอดผานการบรรยายในหองเรียนจะเปลี่ยนไป

อยูในสื่อที่นักเรียนอาน-ฟง-ดู ไดเองที่บานหรือที่ไหนๆ ก็ตาม (Kachka, 2012) ผูสอนอาจทิ้งโจทย หรือใหนักศึกษา

สรุปความเน้ือหาน้ันๆ เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักศึกษา และนํามาอภิปรายหรือปฏิบัติจริงในหองเรียน

Active Learningเปนทางเลือกหน่ึงที่นาสนใจในการจัดการสภาพแวดลอมของการเรียนรู (learning

environment) ทามกลางความตองการที่จะลดอัตราสวนระหวางครูกับนักเรียนของการเรียนในหอง อาจดูเหมือนวา

การสอนแบบ Activeทาทายตอของการสอนที่ใหความสําคัญกับการบรรยาย และไมใหความสําคัญกับการบรรยายอีก

ตอไป แตที่จริงแลว Activeไมไดตอตานวิธีการสอนแบบบรรยาย Active Learningมีหลายรูปแบบและไมใชสูตรสําเร็จ

เพียงแต Activeต้ังคําถามกับการสอนแบบบรรยายที่เปน teacher-centered lectures และสนใจวาจะทําใหวิธีการ

สอนแบบบรรยายมีประสิทธิภาพมากข้ึนไดอยางไรบางมากกวา

Page 6: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

ลองคิดดูวาในการเรียนที่เนนการบรรยายและถายทอดเน้ือหาของบทเรียนเปนหลักน้ัน ผูเรียนจะมีแนวโนมให

ความสําคัญกับการจดจําในสิ่งที่ผูสอนถายทอดมากกวา แตในทางตรงขาม รูปแบบของ Active Learningที่เนน

กิจกรรมการเรียนรูใหไดทํากิจกรรมที่เนนกระบวนการคิดเกี่ยวกับแนวคิดหลักหรือแกนของความรูน้ันๆ (core

concept) ชวยใหผูสอนทราบวาผูเรียนยังตองการความรูหรือขาดความเขาใจในสวนใด ตองการคําช้ีแนะอยางไรบาง

บรรยากาศในหองเรียนลักษณะน้ีดีกวาการมุงบรรยายสาระความรูที่ผูสอนตองการใหครบถวนตามแผนการสอนใน

ลักษณะของการสื่อสารทางเดียว แตไมสามารถสรางสวนรวมหรือดึงดูดความสนใจจากผูเรียน ฉะน้ัน เหตุผลประการ

หน่ึงที่นาสนใจของ Activeคือ การเรียนการสอนที่ใหความสําคัญกับการพัฒนาผูเรียน เน่ืองจากกิจกรรมที่ใหฝกฝนน้ัน

จะชวยใหผูสอนรู feedback วานักเรียนมีความรู มีทักษะหลังจากการเรียนไปแลวดังที่คาดหวังไวหรือไมไดเปนอยางดี

แนวคิดเรื่อง Active Learningไมไดเปนเรื่องใหมแตอยางใด หากพูดถึงมิติเพียงแคการใหนักเรียนอานเน้ือหา

ลวงหนาและมาทํากิจกรรมในหอง ลองนึกถึงการเรียนวิชาวรรณกรรมซึ่งนักเรียนตองอานนวนิยายมากอนลวงหนาแลว

นํามาวิเคราะหตอในหองเรียน หรือการเรียนวิชาดานกฎหมายซึ่งนําสิ่งที่อานมาแลวมาอภิปรายตอในบรรยากาศแบบ

Socratic seminar ก็นับไดวาเขาขายลักษณะของ Active Learningไดในสวนหน่ึง (Berrett, 2012) สิ่งที่ Eric Mazur

ซึ่งเปนอาจารย/นักฟสิกสที่มหาวิทยาลัย Harvard ใชวิธีการสอนที่เรียกวา Peer instruction ที่เนนการฝก

กระบวนการคิดข้ันสูงมากกวาการจดจําเน้ือหา และทํามาตอเน่ืองมาแลวกวา 21 ป หรือโครงการ SCALE-UP ที่

North Carolina State University (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่เว็บไซต http://scaleup.ncsu.edu/) ก็สอดคลองใน

วิธีการสอนเพื่อกระตุนใหผูเรียนต้ังใจและมีสวนรวมในการเรียนรูเชิงรุก การใชเทคนิคและเครื่องมือการเรียนรูตางๆ

เปนแนวคิดที่คลายกับการเรียนรูในหองเรียนแบบ Activeโดยจุดรวมของวิธีการสอนเหลาน้ีคือการตอบโจทยวาจะทาํให

นักศึกษาเกิดการเรียนรูในหองเรียนหรือมีสวนรวมในหองเรียนมากข้ึน (engagement) ไดอยางไร ผานการเรียนรูเชิง

รุก การเรียนรูแบบรวมมือ (Collaborative Learning) และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสอนและการเรียนรู

(ICT for teaching and learning) เปนตน

แนวคิดเก่ียวกับความพึงพอใจ

ไพบูลยชางเรียน (๒๕๑๖. หนา๑๔๖-๑๔๗อางอิงมาจากนริษานราศร๒ี๕๔๔. หนา๒๘) ไดกลาวถึงความหมาย

ของความพึงพอใจสรุปไดวาความพึงพอใจเปนความตองการทางรางกายมีความรุนแรงในตัวบุคคลในการรวมกิจกรรม

เพื่อสนองความตองการทางรางกายเปนผลทําใหเกิดความพึงพอใจแลวจะรูสึกตองการความมั่นคงปลอดภัยเมื่อบุคคล

ไดรับการตอบสนองความตองการทางรางกายและความตองการความมั่นคงแลวบุคคลจะเกิดความผูกพันมากข้ึนเพือ่ให

เปนที่ยอมรับวาตนเปนสวนหน่ึงของกลุม

อุทัยหิรัญโต (๒๕๒๓. หนา๒๗๒อางอิงมาจากนริษานราศรี๒๕๔๔. หนา๒๘) ไดใหความหมายของความพึง

พอใจไววา “ ความพึงพอใจเปนสิ่งที่ทําใหทุกคนเกิดความสบายใจเน่ืองจากสามารถตองสนองความตองการของเขาทํา

ใหเขาเกิดความสุข ”

กิติมาปรีดีดิลก (๒๕๒๔. หนา๒๗๘-๒๗๙) ไดรวบรวมความหมายของความพึงพอใจในการทํางานดังน้ี

Page 7: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

๑. ความพึงพอใจในการทํางานตามแนวคิดของคารเตอร (Carter) หมายถึงคุณภาพ สภาพหรือระดับความ

พึงพอใจของบุคคลซึ่งเปนผลมาจากความสนใจและทัศนคติของบุคคลที่มีตอคุณภาพและสภาพของงานน้ันๆ

๒. ความพึงพอใจในการทํางานตามแนวคิดของเบนจามิน (Benjamin) หมายถึงความรูสึกที่มีความสุขเมื่อ

ไดรับผลสําเร็จตามความมุงหมายความตองการหรือแรงจูงใจ

๓. ความพึงพอใจในการทํางานตามแนวคิดของเอรเนสท (Ernest) และโจเซพ (Joseph)

หมายถึงสภาพความตองการตางๆที่เกิดจากการปฏิบัติหนาที่การงานแลวไดรับการตอบสนอง

๔. ความพึงพอใจตามแนวคิดของจอรจ (George) และเลโอนารด (Leonard) หมายถึงความรูสึกพอใจใน

งานที่ทําและเต็มใจที่จะปฏิบัติงานน้ันใหบรรลุวัตถุประสงคหรือตามพจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน (๒๕๒๕. หนา

๕๗๗-๕๗๘) ความหมายจากพจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถานพ.ศ. ๒๕๒๕ไดใหความหมายวา

พอใจ หมายถึง สมใจชอบใจเหมาะ พึงใจ หมายถึง พอใจชอบใจ

ธงชัยสันติวงษ (๒๕๓๓. หนา๓๕๙) กลาววาถาบุคคลหน่ึงไดมองเห็นชองทางหรือโอกาสจะสามารถสนอง

แรงจูงใจที่ตนมีอยูแลวก็จะทําใหความพึงพอใจของเขาดีข้ึน หรืออยูในระดับสูง

สมศักด์ิคงเที่ยงและอัญชลีโพธ์ิทอง (๒๕๔๒. หนา๒๗๘-๒๗๙) กลาววา

๑. ความพึงพอใจเปนผลรวมของความรูสึกของบุคคลเกี่ยวกับระดับความชอบหรือไมชอบตอสภาพตาง ๆ

๒. ความพึงพอใจเปนผลของทัศนคติที่เกี่ยวของกับองคประกอบตางๆ

๓. ความพึงพอใจในการทํางานเปนผลมาจากการปฏิบัติงานที่ดีและสําเร็จจนเกิดเปนความภูมิใจและได

ผลตอบแทนในรูปแบบตางๆตามที่หวังไว

กิลเมอร (Gilmer, ๑๙๖๖.p. ๘๐) ไดใหความหมายวาความพึงพอใจในการทํางานเปนทัศนคติของบุคคลที่มี

ตอปจจัยตางๆที่เกี่ยวของกับการดํารงชีวิตโดยทั่วไปที่ไดรับมา

ไพรซและมูลเลอร (Price and Muller, ๑๙๘๖. P. ๒๑๕) ใหทัศนะวาความพึงพอใจในงานคือระดับของ

ความรูสึกในทางบวกหรือในทางที่ดีของพนักงานหรือลูกจางตองาน

จากความคิดเห็นของนักวิชาการไดกลาวถึงสิ่งที่สรางความพึงพอใจสรุปไดวา

ความพึงพอใจจะทําใหบุคคลเกิดความสบายใจหรือสนองความตองการทําใหเกิดความสุขเปนผลดีตอการปฏิบัติงาน

แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวกับความพึงพอใจ

สมพงศ เกษมสิน (๒๕๑๘. หนา๒๙๘อางอิงมาจากนริษานราศร๒ี๕๔๔. หนา๒๘) บุคคลจะเกิดความพึงพอใจ

ไดน้ันจะตองมีการจูงใจไดกลาวถึงการจูงใจวา “ การจูงใจเปนการชักจูงใหผูอื่นปฏิบัติตามโดยมีมูลเหตุความตองการ

๒ประการคือความตองการทางรางกายและความตองการทางจิตใจ ”

นฤมล มีชัย (๒๕๓๕. หนา๑๕) กลาววาความพึงพอใจเปนความรูสึกหรือเจตคติที่ดีตอการปฏิบัติงานตาม

ภาระหนาที่และความรับผิดชอบน้ันๆดวยใจรักมีความกระตือรือรนในการทํางานพยายามต้ังใจทํางานใหบรรลเุปาหมาย

และมีประสิทธิภาพสูงสุดมีความสุขกับงานที่ทําและมีความพอใจเมื่องานน้ันไดผลประโยชนตอบแทน

Page 8: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

จรูญทองถาวร (๒๕๓๖. หนา๒๒๒-๒๔อางอิงมาจากนริษานราศรี๒๕๔๔. หนา๒๘)ไดกลาวถึงความตองการ

พื้นฐานของมนุษยโดยไดสรุปเน้ือความมาจากแนวคิดของมาสโลว (Maslow) สรุปไดวาความตองการพื้นฐานของ

มนุษยแบงเปน๕ระดับดังน้ี

๑. ความตองการทางรางกายเปนความตองการพื้นฐานไดแกความตองการอาหารเครื่องนุงหมที่อยูอาศัยและ

ยารักษาโรค

๒. ความตองการมั่นคงและปลอดภัยไดแกความตองการมีความเปนอยูอยางมั่นคงมีความปลอดภัยในรางกาย

และทรัพยสินมีความมั่นคงในการทํางานและมีชีวิตอยูอยางมั่นคงในสังคม

๓. ความตองการทางสังคมไดแกความตองการความรักความตองการเปนสวนหน่ึงของสังคม

๔. ความตองการเกียรติยศช่ือเสียงไดแกความภูมิใจการไดรับความยกยองจากบุคคลอื่น

๕. ความตองการความสําเร็จแหงตนเปนความตองการระดับสูงสุดเปนความตองการระดับสูงเปนความ

ตองการที่อยากจะใหเกิดความสําเร็จทุกอยางตามความคิดของตน

สเตาสและเชเลย (Srauss and Sayles, ๑๙๖๐. P. ๑๑๙-๑๒๑) กลาววาความรูสึกพอใจในงานที่ทําและเต็ม

ใจที่จะปฏิบัติงานน้ันใหบรรลุวัตถุประสงคขององคกรคนที่จะพอใจในงานที่ทําเมืองานน้ันใหผลประโยชนตอบแทนดาน

วัตถุและจิตใจซึ่งสามารถสนองความตองการข้ันพื้นฐานของเขาได

โวแมน (Wolman, ๑๙๗๓. p. ๙๕) ใหความหมายของความพึงพอใจวาความพึงพอใจคือความรูสึกมี

ความสุขเมื่อไดรับผลสําเร็จตามความมุงหมายตองการหรือแรงจูงใจ

การวัดความพึงพอใจ

หทัยรัตนประทุมสูตร (๒๕๔๒. หนา๑๔) กลาววาการวัดความพึงพอใจเปนเรื่องที่เปรียบเทียบไดกับความ

เขาใจทั่วๆไปซึ่งปกติจะวัดไดโดยการสอบถามจากบุคคลที่ตองการจะถามมีเครื่องมือที่ตองการจะใชในการวิจัยหลายๆ

อยางอยางไรก็ดีถึงแมวาจะมีการวัดอยูหลายแนวทางแตการศึกษาความพึงพอใจอาจแยกตามแนวทางวัดไดสองแนวคิด

ตามความคิดเห็นของซาลีซนิคคคริสเทนสกลาวคือ

๑. วัดจากสภาพทั้งหมดของแตละบุคคลเชนทีทํางานที่บานและทุกๆอยางที่เกี่ยวของกับชีวิตการศึกษาตาม

แนวทางน้ีจะไดขอมูลที่สมบูรณแตทําใหเกิดความยุงยากกับการที่จะวัดและเปรียบเทียบ

๒. วัดไดโดยแยกออกเปนองคประกอบเชนองคประกอบที่เกี่ยวกับงานการนิเทศงานเกี่ยวกับนายจาง

วัตถุประสงคของการวิจัย

เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนเตรียมทหารช้ันปที่ ๓ ตอการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning วิชา

ชีววิทยาพื้นฐาน ว๓๓๑๐๔ ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐ และนําขอมูลไปใชเปนขอมูลเพื่อวางแผนและ

ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนใหเหมาะสม มีประสิทธิภาพ ตลอดจนตอบสนองตอความตองการของนักเรียน

เตรียมทหารช้ันปที่ ๓

Page 9: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

เปนขอมูลแกอาจารยผูสอนวิชาชีววิทยาช้ันปที่ ๓ ในการวางแผนและปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการ

สอนใหเหมาะสม มีประสิทธิภาพ และตอบสนองตอความตองการของผูเรียน

ขอบเขตในการวิจัย

๑. ประเมินการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning วิชาชีววิทยาพื้นฐาน ว ๓๓๑๐๔

๒. กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนเตรียมทหารช้ันปที่ ๓ ตอนเรียนที่ ๓, ๖, ๙ , ๑๗, ๒๐ จํานวน ๑๒๕ นาย

วิธีดําเนินการวิจัย

ในการวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงคเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนเตรียมทหาร การจัดกิจกรรมแบบ

Active Learning วิชาชีววิทยาพื้นฐาน ว ๓๓๑๐๔ ช้ันปที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐ คณะผูวิจัยได

ดําเนินการตามข้ันตอน ดังน้ี

๑. การกําหนดกลุมตัวอยาง

๒. เครื่องมือที่ใชในการศึกษาวิจัยและการสรางเครื่องมือ

๓. การเก็บรวบรวมขอมูล

๔. การวิเคราะหขอมูล

กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งน้ี ไดแก นักเรียนเตรียมทหารช้ันปที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐

จํานวน ๑๒๕ นาย กําหนดขนาดกลุมตัวอยาง จํานวน ๕ ตอนเรียน

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการประเมินครั้งน้ี เปนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัด

กิจกรรมแบบ Active Learning ของนักเรียนเตรียมทหาร ช้ันปที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐ คือ แบบ

ประเมินแบบ Rating Scale เรื่อง ความพึงพอใจของนักเรียนเตรียมทหารช้ันปที่ ๓ ตอรูปแบบการจัดกิจกรรมแบบ

Active Learning วิชาชีววิทยาพื้นฐาน ว๓๓๑๐๔

Page 10: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

การสรางเครื่องมือ

๑. ศึกษาแนวคิด ทฤษฏีผลงานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอนแบบสืบคนและการสราง

เครื่องมือวัดความคิดเห็น เพื่อกําหนดขอบเขตของเน้ือหารวมทั้งรูปแบบของแบบประเมิน

๒. กําหนดกรอบการประเมิน

๓. นําแบบประเมินไปตรวจสอบ ขอบเขตของเน้ือหาวาครอบคลุมและเหมาะสมหรือไม ภาษาถูกตองชัดเจน

หรือไม มาตราวัดที่ใชเหมาะสมหรือไม

๔. นําแบบประเมินมาปรับปรุงแกไขขอบกพรองทั้งในเรื่องภาษา และเน้ือหา เพื่อใหไดแบบประเมินที่มีความ

ครอบคลุมและมีความถูกตองสมบูรณมากย่ิงข้ึน

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

การเก็บรวบรวมขอมูลทําโดยการนําแบบประเมินการจัดกิจกรรม Active Learning วิชาชีววิทยาพื้นฐาน

ว ๓๓๑๐๔ ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐ ใหผูตอบเขียนตอบดวยตนเองโดยตรงโดยมีการช้ีแจงวัตถุประสงคและ

รายละเอียดใหชัดเจน เก็บรวบรวมขอมูลภายในเดือนธันวาคม-มกราคม

การวิเคราะหขอมูลและการจัดกระทําขอมูล

ผูวิจัยไดดําเนินการรวบรวมแบบสอบถามที่ไดรับคืนมา ดําเนินการจัดกระทําขอมูลและวิเคราะห

ขอมูลตามข้ันตอนดังน้ี

๑. ตรวจสอบแบบประเมินทั้งหมดที่ไดรับคืนมาจากแบบประเมินที่สงไปทั้งหมด และนําแบบประเมินที่มี

ความสมบูรณไปวิเคราะหขอมูล

๒. วิเคราะหความคิดเห็นในแบบประเมินกิจกรรมการเรียนการสอน วิชาชีววิทยาพื้นฐาน ช้ันปที่ ๓ ภาคเรียน

ที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐ โดยใชคารอยละที่คิดคะแนนทั้งฉบับตามระดับความคิดเห็น

๓. วิเคราะหเน้ือหาขอมูลจากแบบประเมินการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning ของนักเรียนเตรียมทหาร

ช้ันปที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐

สถิติที่ใชในการวิจัย

๑. คารอยละ

๒. ความถ่ี

Page 11: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

ผลการศึกษาวิจัย (คิดเปนรอยละ)

หัวขอ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอย นอยท่ีสุด

๑.นตท.มีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนแบบ

Active Learning

70 20 6.67 2.66 0.67

๒.นตท.มีบทบาทในการเรียนการสอนมากย่ิงข้ึนกับการ

เรียนการสอนแบบ Active Learning

62 18.62 12.73 5.32 1.33

๓.อาจารยเตรียมการสอนอยางมีข้ันตอนเขาใจไดงาย 93.3 6.7 0 0 0

๔.เน้ือหาการสอนสามารถนําไปประยุกตใชไดจริง 86.67 13.33 0 0 0

๕.อาจารยสอนใชเวลาในการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ 90.67 9.33 0 0 0

๖.อาจารยยกตัวอยางประกอบการทํากิจกรรมไดชัดเจน

สอดคลองกับความเขาใจของ นตท.

72 13.3 14.7 0 0

๗.กิจกรรม Acitive Learning สอดคลองกับเน้ือหาที่ใช

ในการเรียนการสอน

60 20 10.33 6.67 3

๘.กิจกรรม Active Learning สรางบรรยากาศที่ดีใน

การเรียน

92 4.62 3.33 0.05 0

๙.อาจารยมอบหมายภารกิจใหทําใหปริมาณที่เหมาะสม 88 6 6 0 0

๑๐.อาจารยสรุป ข้ีแจง ขอบกพรองของ และใหแนว

ทางแกไข

88.7 11.3 0 0 0

๑๑.กิจกรรม Active Learning สรางทัศนคติที่ดีในตอ

เน้ือหา

60 20 6.67 6.67 6.66

เฉลี่ย 78.49 13.02 5.49 1.94 1.06

Page 12: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

กราฟแสดงระดับความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning

จากตารางพบวา นตท.มีความพีงพอใจเปนสวนมากคิดเปน รอยละ ๗๘.๔๙ หัวขอท่ี นตท.มีความพึงพอใจ

สูงสุด คือ กิจกรรม Active Learning สรางบรรยากาศที่ดีในการเรียน คิดเปนรอยละ ๙๒

0102030405060708090

100

มากทีสดุ

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยทีสดุ

Page 13: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

บรรณานุกรม

จิราภรณ ศิรีทวี, ณิชกมล แกนเพิ่ม, พรทิพย ไชยโส, ภาวิณี ศรีสุขวัฒนานันท, วสันต ทองไทย

และ อนันตศิลป รุจิเรข. (๒๕๔๙). หลักการวัดและการประเมินผลการศึกษา.กรุงเทพฯ :

ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

บุญเรียง ขจรศิลป. (๒๕๓๙). วิธีวิจัยทางการศึกษา.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ พี.เอ็น.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. ๒๕๔๕.พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒

และท่ีแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕. กรุงเทพมหานคร: บริษัทพริกหวานกราฟฟค จํากัด.

สมพร ผามุง (๒๕๕๗) , การจัดกิจกรรมการเรียนแบบ Active ,โรงพิมพฟามิงโก พับพลิค

Page 14: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

ภาคผนวก

Page 15: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

ภาคผนวก ก

แบบประเมินเพ่ือการวิจัย

Page 16: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ...edbsci/website/pdf/supaporn2-60.pdf · 2018. 1. 31. · วิจัยในชั้นเรียน

แบบสอบถามการจัดกิจกรรม Active Learning ชั้นปท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐

คําชี้แจง ให นตท.ขีดเครื่องหมาย / ในชองที่ตามความเปนจริง

หัวขอ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

๑.นตท.มีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนแบบ

Active Learning

๒.นตท.มีบทบาทในการเรียนการสอนมากย่ิงข้ึนกับการเรียน

การสอนแบบ Active Learning

๓.อาจารยเตรียมการสอนอยางมีข้ันตอนเขาใจไดงาย

๔.เน้ือหาการสอนสามารถนําไปประยุกตใชไดจริง

๕.อาจารยสอนใชเวลาในการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ

๖.อาจารยยกตัวอยางประกอบการทํากิจกรรมไดชัดเจน

สอดคลองกับความเขาใจของ นตท.

๗.กิจกรรม Active Learning สอดคลองกับเน้ือหาที่ใชใน

การเรียนการสอน

๘.กิจกรรม Active Learning สรางบรรยากาศที่ดีในการ

เรียน

๙.อาจารยมอบหมายภารกิจใหทําใหปริมาณที่เหมาะสม

๑๐.อาจารยสรุป ข้ีแจง ขอบกพรองของ และใหแนว

ทางแกไข

๑๑.กิจกรรม Active Learning สรางทัศนคติที่ดีในตอเน้ือหา

ที่เรียน