การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224)...

19
การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง ( มาตรา 224) โดย อาจารย์ ดร. คนึงนิจ ขาวแสง ตอนที 2

Upload: others

Post on 28-Oct-2019

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

การอุทธรณ์ปัญหาข้อเทจ็จริง(มาตรา 224)

โดย อาจารย์ ดร. คนึงนิจ ขาวแสง

ตอนที่ 2

Page 2: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

ข้อยกเว้นให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริง

ก) - แย้ง / รับรอง / อนุญาต (มาตรา 224 วรรคแรก และวรรคท้าย)

ข) คดีเกี่ยวด้วยสิทธิแห่งสภาพบุคคล /

คดีเกี่ยวด้วยสิทธิในครอบครัว /

คดีฟ้องขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจค านวณเป็นราคาเงินได้

(คดีไม่มีทุนทรัพย์) (มาตรา 224 วรรค 2)

Page 3: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

แย้ง / รับรอง / อนุญาต (มาตรา 224 วรรคแรก และวรรคท้าย)

1. ผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาในศาลชั้นต้นไดท้ าความเห็นแย้งไว้ หรือ

2. ผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาในศาลชั้นต้นไดร้ับรองว่ามีเหตุอันควร

อุทธรณ์ได้ (มาตรา 224 วรรคแรก และวรรคท้าย) หรือ

3. อธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้น หรืออธิบดีผู้พิพากษาภาค อนุญาตให้

อุทธรณ์ (เป็นหนังสือ)

Page 4: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

•ผู้พิพากษาที่นั่งพจิารณาในศาลชั้นต้นได้ท าความเห็นแย้งไว้

(มาตรา 224 วรรคแรก)

• ต้องเป็นความเห็นแย้งในข้อเทจ็จริงเทา่นั้น จึงมีสิทธิ

อุทธรณ์ในข้อเท็จจริงได้ (ฎ.1648/2500)

Page 5: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

•ผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาในศาลชั้นต้นได้รับรองว่ามีเหตุอันควรอุทธรณ์ได้

(มาตรา 224 วรรคแรก และวรรคท้าย)

• ผู้พิพากษาที่จะรับรองให้อุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงได้ ต้องเป็นผู้พิพากษาที่นั่ง

พิจารณาในศาลชั้นต้น ดังนี้ ผู้พิพากษาที่สืบพยานประเด็นจึงไม่มีอ านาจรับรอง

(ฎ.3420/2538)

• อ านาจในการรับรองให้อุทธรณ์นี้ เป็นดุลพินิจเด็ดขาดและเป็นอ านาจเฉพาะตัวของ

ผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณา จึงอุทธรณ์ฎีกาไม่ได้ (ฎ.3081/2549)

Page 6: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

•การยื่นค าร้องขอให้ผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณารับรองให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริง

ไม่จ าต้องระบุชื่อผู้พิพากษา แต่ต้องให้รู้ว่าหมายถึงผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาใน

ศาลชั้นต้น

• กรณีระบุเจาะจงให้ผู้พิพากษาคนใดรับรอง //

• กรณีไม่ได้ระบุเจาะจงว่าเป็นผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาในศาลชั้นต้นท่านใด

Page 7: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

• การรับรองต้องเขียนว่า “รับรองว่ามีเหตุอันควรอุทธรณ์ได้ในปัญหาข้อเท็จจริง”

หรือข้อความอย่างอื่นที่คล้ายกัน

• จะสั่งแต่เพียงว่า “รับอุทธรณ์” ไม่ได้ (ดูประกอบ มาตรา 230)

•ฎ.217/2521 การรับรองให้อุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงได้นั้น ต้องเป็นการรับรองโดย

ชัดแจ้งว่ามีเหตุอันควรอุทธรณ์ได้ ค าสั่งของผู้พิพากษาที่นั่งพิจารณาคดีในศาลชั้นต้นที่

สั่งรับอุทธรณ์เพียงว่า "รับอุทธรณ์ส าเนาให้โจทก์" เฉย ๆ เท่านั้น ย่อมไม่ต้องด้วย

ข้อยกเว้นของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 224 วรรคหนึ่ง

Page 8: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

คดีที่ไมต่้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงตามวรรค 1(มาตรา 224 วรรค 2)

• คดีเกี่ยวด้วยสิทธิแห่งสภาพบุคคล /

• คดีเกี่ยวด้วยสิทธิในครอบครัว /

• คดีฟ้องขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจค านวณเป็นราคาเงินได้

(คดีไม่มีทุนทรัพย์)

Page 9: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

คดีเก่ียวด้วยสิทธิแห่งสภาพบุคคล

•คดีเกี่ยวด้วยสิทธิแห่งสภาพบุคคล = สิทธิต่างๆ เกี่ยวกับสถานะภาพและความสามารถของบุคคล (ปพพ. บรรพ 1 ลักษณะ 2 หมวด 1)

•ฎ .1182/2511 คดีร้องขอให้ศาลมีค าสั่ ง ให้บุคคลวิกลจริตเป็นผู้ ไร้ความสามารถและตั้งผู้อนุบาลนั้น เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์หรือจ านวนทุนทรัพย์ที่พิพาท และเป็นคดีเกี่ยวด้วยสิทธิแห่งสภาพบุคคลไม่ต้องห้ามอุทธรณ์ฎีกาในข้อเท็จจริง

Page 10: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

คดีเก่ียวด้วยสิทธิในครอบครัว

•คดีเกี่ยวด้วยสิทธิในครอบครัว = สิทธิที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่าง สามี ภริยา หรือบิดามารดา และบุตร เช่น

• คดีฟ้องหย่า (ฎ.344/2479)

• คดีภริยาเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูจากสามี (ฎ.319/2479)

• คดีที่สามีหรือภริยาฟ้องเรียกค่าเสียหายหรือค่าทดแทนจากหญิงอื่นหรือจากชายอื่นที่มี

ความสัมพันธ์ฉันชู้สาวกับภริยาหรือสามีของตน (ค าสั่งค าร้องศาลฎีกาที่ 244/2545)

Page 11: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

• ฎ.3134/2530 การที่โจทก์ฟ้องขอให้ศาลมีค าพิพากษาแสดงว่าการสมรสเป็นโมฆะนั้น

เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ แม้จะมีค าขอเรียกค่าทดแทนและค่าเลี้ยงชีพที่อาจค านวณเป็นราคา

เงินได้รวมอยู่ด้วย คู่ความก็ไม่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตาม ป.วิ.พ. มาตรา 248

ทั้งค าขอในส่วนที่เกี่ยวกับค่าทดแทนนี้ยังเป็นคดีเกี่ยวด้วยสิทธิในครอบครัวอีกด้วย จ าเลย

จึงมีสิทธิฎีกาได้

(ป.วิ.พ. มาตรา 248 ยกเลิก ปี 2558 - ใช้เทียบเคียง มาตรา 224)

Page 12: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

•คดีที่ฟ้องเรียกคืนของหมั้นหรือสินสอด และเรียกค่าเสียหายเพราะผิดสัญญา

หมั้นเนื่องจากหญิงไม่ยอมไปจดทะเบียนสมรส มิใช่คดีเกี่ยวด้วยสิทธิแห่งสภาพ

บุคคลหรือสิทธิในครอบครัว

Page 13: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

•ฎ.755/2545 ศาลชั้นต้นพิพากษาให้จ าเลยที่ 1 และที่ 2 ร่วมกันช าระค่าสินสอดแก่โจทก์ทั้งสามจ านวน 35,000 บาท พร้อมด้วยสร้อยคอทองค าหนัก 1 บาท หากคืนไม่ได้ให้ใช้ราคาแทนเป็นเงิน 5,300 บาท•จ าเลยที่ 1 และที่ 2 อุทธรณ์ขอให้ยกฟ้อง •ดังนั้น ทุนทรัพย์ที่พิพาทกันในชั้นอุทธรณ์จึงมีเพียง 40,300 บาท ไม่เกิน 50,000

บาท ทั้งมิใช่คดีเกี่ยวด้วยสิทธิแห่งสภาพบุคคลหรือสิทธิในครอบครัวคดีต้องห้ามมิให้คู่ความอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงตามมาตรา 224 วรรคหนึ่ง ที่จ าเลยที่ 1 และที่ 2 อุทธรณ์ว่า เงินจ านวน 35,000 บาท และสร้อยคอทองค าหนัก 1 บาท เป็นเพียงเงินค่าตอบแทนที่จ าเลยที่ 1 และที่ 2 ยินยอมให้จ าเลยที่ 3 ไปอยู่กินฉันสามีภริยากับโจทก์ที่ 3 มิใช่เป็นค่าสินสอด โจทก์ทั้งสามไม่อาจเรียกคืนได้นั้น เป็นอุทธรณ์ในข้อเท็จจริงต้องห้ามตามบทกฎหมายดังกล่าว

Page 14: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

คดีฟ้องขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจค านวณเป็นราคาเงินได้ (คดีไม่มีทุนทรัพย์)

• การฟ้องเรียกทรัพย์จากจ าเลย เป็นคดีฟ้องขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจค านวณเป็น

ราคาเงินได้ (คดีไม่มีทุนทรัพย์) หรือไม่

• ต้องพิจารณาว่าถ้าเป็นการฟ้องเรียกทรัพย์ของจ าเลย ถือเป็นคดีมีทุนทรัพย์ เช่น ฟ้องขอให้

โอนที่ดินตามสัญญาจะซื้อจะขาย

• แต่ถ้าฟ้องเรียกทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของโจทก์อยู่แล้ว โดยจ าเลยไม่ได้ต่อสู้กรรมสิทธิ์ ถือ

เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์

Page 15: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

• เช่น โจทก์ฟ้องขอให้แบ่งทรัพย์ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์รวมกับจ าเลย จ าเลยไม่ได้ต่อสู้ว่าโจทก์ไม่มี

กรรมสิทธิ์ร่วมกับจ าเลย เป็นคดีไม่มีทุนทรัพย์ (ฎ.4550/2540)

• คดีที่โจทกฟ์้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล ตาม ปพพ. มาตรา 237 = คดีไม่มีทุนทรัพย์

(ฎ.919/2508)

Page 16: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

• คดีมีทุนทรัพย์และไม่มีทุนทรัพย์รวมอยู่ด้วยกัน ต้องพิจารณาว่าค าขอใดเป็นประธาน

และค าขอใดเป็นผลต่อเนื่อง และต้องถือเอาค าขอประธานเป็นหลักในการพิจารณาว่าจะ

อุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงได้หรือไม่ เช่น

• คดีฟ้องขอให้รื้อถอนสิ่งปลูกสร้างซึ่งรุกล้ าที่ดินของโจทก์ แม้จะเรียกค่าเสียหายมา

ด้วย ก็ไม่เป็นคดีมีทุนทรัพย์ (ฎ.1134/2514)

Page 17: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

• คดีไม่มีทุนทรัพย์ หรือคดีขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันไม่อาจค านวณเป็นราคาเงินได้ ไม่ต้องห้ามอุทธรณ์

• เว้นแต่ คดีฟ้องขับไล่.... อันมีค่าเช่า หรืออาจให้ค่าเช่าไม่เกิน 4,000 บาทต่อเดือน

คดีฟ้องขับไล่บุคคลใดๆ ออกจากอสังหาริมทรัพย์

ได้แก่ การฟ้องขับไล่ผู้บุกรุก ผู้เช่า หรือผู้อาศัย

Page 18: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

•ความหมายของค าว่า “อันมีค่าเช่า” หรือ “อาจให้ค่าเช่า”

• “อันมีค่าเช่า” = ใช้กับกรณีฟ้องขับไล่ผู้เช่า

• “อาจให้ค่าเช่า” = ใช้กับกรณีฟ้องขับไล่กรณีอื่นๆ

เช่น ผู้อาศัย หรือผู้ละเมิด

Page 19: การอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง มาตรา 224) ตอนที่ 2 · •คดีที่โจทก์ฟ้องขอให้เพิกถอนการฉ้อฉล

•ฎ. 3411/2545 คดีฟ้องขับไล่ผู้เช่าออกจากอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งจ าเลยท าสัญญาเช่า

อาคารพิพาทจากโจทก์ในอัตราค่าเช่าเดือนละ 2,100 บาท แม้โจทก์จะเรียก

ค่าเสียหายหลังจากครบก าหนดสัญญาเช่าเดือนละ 11,700 บาท มาด้วย ก็ไม่ใช่ว่า

อาคารพิพาทอาจให้เช่าได้เกิน 4,000 บาท

•กรณีที่จะต้องใช้เกณฑ์ "อาจให้เช่า" นั้น จะต้องเป็นกรณีฟ้องผู้อาศัยหรือผู้กระท า

ละเมิดอันก าหนดค่าเช่าไม่ได้ คดีนี้เป็นการฟ้องขับไล่ผู้เช่าซึ่งก าหนดค่าเช่าไว้ชัดแจ้ง

เมื่อค่าเช่าไม่เกิน 4,000 บาท จึงเป็นคดีที่ต้องห้ามอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง