การประเมินผลการด...

14
Vol. 3 No. 2 July - December. 2014 การประเมินผลการด�าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ�าเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี The Evaluation of Thai Women Empowerment Funds in Srimuangmai District Ubon Ratchathai Province. เครือวัลย์ ประทุมแย้ม 1 ธีระ ฤทธิรอด 2 บทคัดย่อ การศึกษาอิสระ เรื่อง การประเมินผลการด�าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาท สตรีในเขตอ�าเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ขั้นตอนและการประเมินผลการด�าเนินงานของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีต�าบล ศึกษา ปัญหาอุปสรรคของการด�าเนินงานของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีต�าบล เสนอแนวทาง ในการแก้ปัญหาการด�าเนินงานของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีต�าบลอย่างเป็นรูปธรรม เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ ข้อมูลใช้สถิติความถี่ ร้อยละ และใช้การพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis) ปรากฏผลดังนีโครงการที่ขออนุมัติงบประมาณทั้งหมด 38 โครงการ ได้รับการอนุมัติ ทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100 และความส�าเร็จของโครงการทั้ง 38 โครงการ เกิดความ ส�าเร็จร้อยละ 80 ขึ้นไป และมีบางโครงการที่สามารถขายสินค้าที่ผลิตได้มากกว่าหนึ่ง รอบการผลิต เช่น โครงการเพาะเห็ด โครงการที่มีการด�าเนินการมากที่สุด 3 อันดับ แรกจากทั้งหมด 38 โครงการ คือ โครงการเลี้ยงปลา โครงการเพาะเห็ด และโครงการ 1 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2 รองศาสตราจารย์ คณะเภสัชศาสตร์และอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ Corresponding Author 3

Upload: others

Post on 05-Aug-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

Vol. 3 No. 2 July - December. 2014

การประเมินผลการด�าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี

ในเขตอ�าเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี

The Evaluation of Thai Women Empowerment Funds in

Srimuangmai District Ubon Ratchathai Province.

เครือวัลย์ ประทุมแย้ม1

ธีระ ฤทธิรอด2

บทคัดย่อ

การศึกษาอิสระ เรื่อง การประเมินผลการด�าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาท

สตรีในเขตอ�าเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา

ขัน้ตอนและการประเมนิผลการด�าเนนิงานของกองทนุพฒันาบทบาทสตรตี�าบล ศกึษา

ปัญหาอปุสรรคของการด�าเนนิงานของกองทนุพฒันาบทบาทสตรตี�าบล เสนอแนวทาง

ในการแก้ปัญหาการด�าเนนิงานของกองทนุพฒันาบทบาทสตรตี�าบลอย่างเป็นรปูธรรม

เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์

ข้อมูลใช้สถิติความถี่ ร้อยละ และใช้การพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis)

ปรากฏผลดังนี้

โครงการที่ขออนุมัติงบประมาณทั้งหมด 38 โครงการ ได้รับการอนุมัติ

ทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100 และความส�าเร็จของโครงการทั้ง 38 โครงการ เกิดความ

ส�าเรจ็ร้อยละ 80 ขึน้ไป และมบีางโครงการทีส่ามารถขายสนิค้าทีผ่ลติได้มากกว่าหนึง่

รอบการผลิต เช่น โครงการเพาะเห็ด โครงการที่มีการด�าเนินการมากที่สุด 3 อันดับ

แรกจากทัง้หมด 38 โครงการ คอื โครงการเลีย้งปลา โครงการเพาะเหด็ และโครงการ

1 นกัศกึษาปรญิญาโท สาขาวชิาการปกครองท้องถิน่ วทิยาลยัการปกครองท้องถิน่ มหาวทิยาลยัขอนแก่น2 รองศาสตราจารย์ คณะเภสัชศาสตร์และอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ Corresponding Author

3

Page 2: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์48

ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557

ทอผ้า ตามล�าดบั ด้านบรบิทของโครงการ พบว่า โครงการมวีตัถปุระสงค์เพือ่รวมกลุม่

สร้างอาชีพ การด�าเนินงานของกองทุนนั้นเป็นการให้สมาชิกกู้ยืมไปเป็นต้นทุน การรวม

กลุ่มอาชีพโครงการมีความเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น คณะกรรมการและสมาชิก

มีความรู้ความเข้าใจในการด�าเนินงาน ด้านปัจจัยน�าเข้า พบว่า จ�านวนเงินที่ได้รับการ

สนับสนุน ไม่เพียงพอต่อการด�าเนินโครงการ สมาชิกของกลุ่มมีความรู้ความสามารถ

แต่ยังไม่มีความช�านาญ ในการด�าเนินกิจกรรมในโครงการพัฒนาชุมชนและองค์กร

ปกครองส่วนท้องถิน่ควรมส่ีวนร่วม ให้ความรูแ้ก่กองทนุในขัน้ตอนการเขยีนโครงการ

ด้านกระบวนการด�าเนินงาน พบว่า กองทุนใช้เงินสนับสนุนตรงตามวัตถุประสงค ์

การด�าเนนิงานของกองทนุมคีวามโปร่งใสและมกีารจดัท�าบญัชรีายรบัรายจ่ายกองทนุ

มีการรายงานผลการด�าเนินการอย่างสม�่าเสมอ แต่มีปัญหาการด�าเนินกิจกรรมของ

กองทุน มีสมาชิกบางคนที่เข้ามาใหม่ยังไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ สมาชิกในกลุ่มควรมี

การท�าข้อตกลงร่วมกันในการจัดสรรรายได้ โดยแบ่งส่วนหนึ่งส�าหรับการพัฒนากลุ่ม

และเป็นทุนในการลงทุน ด้านผลผลิตจากการด�าเนินงาน พบว่า กองทุนสามารถสร้าง

รายได้ได้มากจนเป็นรายได้เสรมิของครอบครวั เงนิสนบัสนนุนีส้ามารถช่วยให้สมาชกิ

ในหมู่บ้านมีงานท�าเพิ่มขึ้น ปัญหาผลผลิตจากกิจกรรมของกองทุนมีปัญหาด้านการ

ตลาดทีร่องรบั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ควรส่งเสรมิให้มกีารประชาสมัพนัธ์สนิค้า

รวมทั้งสินค้าบางชนิดควรมีการจ�าหน่ายทั้งปลีกและส่ง

ค�าส�าคัญ: กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี อ�าเภอศรีเมืองใหม่

Abstract

The independent study on the topic “The evaluation of Thai Women

Empowerment funds (TWEF) in Srimuangmai District, Ubon Ratchathani

Province was purposed to study the steps of operation and evaluation of TWEF, to

study the problems and obstacles of TWEF’s operation and to propose the

guideline and solution for TWEF’s operation concretely. The tool of data

collection consisted of Survey questionnaire, interview and the statistic for data

Page 3: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

การประเมินผลการด�าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 49

Vol. 3 No. 2 July - December. 2014

analysis consisted of Frequency, Percentage and Descriptive Analysis. From the result, it revealed that The project budget for approval, all 38 projects were approved all 100 percent and for the success of 38 projects, the projects were successfully more than 80 percent and there were some projects that could sell goods produced more than one production cycle such as mushroom cultivation project, the project with the most 3 first of all 38 projects were Fish farming project, Mushrom project and Weaving projects, respectively. In the context of the project found that the project aimed to create a bundle of occupation, the operation of fund was to provide loans to members as the cost of occupational bundle and appropriate to local conditions, the board of directors and members had a knowledge and understanding of operations. As for input factor, it was found that the amount of subsidy wasn’t enough to project development, member of the group had the knowledge and ability but had no skills in order to perform activities in community development project and local governments should contribute to the fund in the education of project writing. As for process factor, it was found that the fund used subsidy to meet the objective of the operations of the fund with transparency and accounting revenue expenditure fund operation results were reported on a regular basis. However, there was a problem performing the activities of the fund, there were some new entry members who did not understand their roles, member of the group should have an agreement in the allocation of income by dividing one part for the group development and investment. As for output factor, it was found that the fund could earn extra income as supplementary income of the family, this subsidy could help members in the village, had more job. The output problem from the activity of the fund was the marketing support. Local government should promote public relation items including some items should be available in both retail and wholesale.

Keywords: The evaluation of Thai Women Empowerment funds, Srimuangmai

District

Page 4: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์50

ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557

1. ความเป็นมาและความส�าคัญของปัญหา

จากสภาพปัจจุบันสตรีมีบทบาทในทางสังคมมากขึ้นทั้งด้านการท�างาน

ด้านการบริหาร ซึ่งมีสตรีด�ารงต�าแหน่งส�าคัญหลายอย่าง เช่น ผู้พิพากษา อัยการ

ผู้ประกอบการธุรกิจต่างๆ แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงในสภาพสังคมปัจจุบัน

อีกทั้งแสดงให้เห็นว่าสตรีในปัจจุบันมีศักยภาพในการท�างานสูงขึ้น ดังนั้น “กองทุน

พัฒนาบทบาทสตรี” จึงได้รับการก�าหนดเป็นนโยบายของรัฐบาล โดยมีวัตถุประสงค์

เพื่อยกระดับและเสริมศักยภาพสตรีในทุกมิติ โดยน�าศักยภาพและความแตกต่าง

ระหว่างหญงิชายซึง่นบัว่าเป็นพลงัสงัคมน�ามาใช้อย่างสร้างสรรค์ เพือ่พฒันาและขยาย

ศกัยภาพบทบาทสตรใีห้เป็นพลงัทางสงัคมทีเ่ข้มแขง็สามารถช่วยน�าพาและร่วมสร้าง

สังคมไปสู่ความเสมอภาคอย่างสร้างสรรค์ มีสันติสุขอย่างเคียงบ่าเคียงไหล่กับผู้ชาย

ส�าหรบัการด�าเนนิงานดงักล่าวรฐับาลจะท�างานร่วมกบัองค์กรสตรตีัง้แต่ระดบัท้องถิน่

จนถึงระดับประเทศ เพื่อให้โอกาสสตรีในทุกพื้นที่ ทุกชุมชนได้มีส่วนร่วมในการ

ร่วมคิด ร่วมท�า ร่วมพัฒนา เพื่อสตรีทุกคนโดยความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ

ภาคเอกชนและองค์กรสตรีต่างๆ ในการขับเคลื่อนกองทุน เพื่อให้สตรีทุกคนได้ใช้

ประโยชน์ จากกองทนุพฒันาบทบาทสตรใีนการมส่ีวนร่วมสร้างสรรค์พฒันาเศรษฐกจิ

และสังคมของประเทศภายใต้วิสัยทัศน์สร้างสรรค์พลังสตรีให้เป็นพลังส�าคัญในการ

พัฒนาประเทศ ซึ่งกองทุนนี้มีวัตถุประสงค์ในการด�าเนินงาน เพื่อ 1) เป็นแหล่งเงิน

ทุนหมุนเวียนดอกเบี้ยต�่าหรือปลอดดอกเบี้ยในการสร้างโอกาสให้สตรีเข้าถึงแหล่ง

ทุนส�าหรับการลงทุนเพื่อพัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ หรือส�าหรับการส่งเสริม

และพฒันาไปสูก่ารสร้างสวสัดภิาพหรอืสวสัดกิารให้แก่สตร ี2) เป็นแหล่งเงนิทนุเพือ่

การพัฒนาศักยภาพสตรีและเครือข่ายสตรี การเฝ้าระวังและดูแลปัญหาของสตร ี

ตลอดจนการช่วยเหลอืเยยีวยาสตรทีีป่ระสบปัญหาในทกุรปูแบบ การรณรงค์ให้สงัคม

เข้าใจปัญหาสตรีในทุกมิติและการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิสตรี 3) เป็นแหล่งเงินทุน

เพื่อการส่งเสริมสนับสนุน การจัดกิจกรรมในการพัฒนาบทบาทสตรีและแก้ไขปัญหา

สตรีขององค์กรต่างๆ การสร้างภาวะผู้น�า การพัฒนาองค์ความรู้ คุณภาพชีวิตรวมทั้ง

เสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของสตรี 4) เป็นแหล่งเงินทุน

เพื่อการสนับสนุนโครงการอื่นๆ ที่เป็นการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสตรีตามที ่

Page 5: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

การประเมินผลการด�าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 51

Vol. 3 No. 2 July - December. 2014

คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแห่งชาติพิจารณาเห็นสมควร (คณะ

กรรมการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี, 2555)

ในช่วงเวลาที่ผ่านมาพบว่า คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับ

ต�าบล ได้จัดท�าโครงการเพื่อเสนอขอรับงบประมาณสนับสนุน อย่างไรก็ตามพบว่า

การจัดท�าโครงการนั้นยังไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์และไม่ถูกต้องตามหลักการ

ด�าเนินงาน ท�าให้โครงการที่เสนอไม่ได้รับการสนับสนุน ซึ่งปรากฏในผลการอนุมัติ

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอ�าเภอศรีเมืองใหม่ของส�านักงานพัฒนาชุมชนที่อ�าเภอ

ศรเีมอืงใหม่ จากปัญหาดงักล่าว ผูศ้กึษาในฐานะทีป่ฏบิตังิานเกีย่วข้องกบัการให้ข้อมลู

และช่วยเหลือคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีต�าบล จึงสนใจที่จะศึกษา

การประเมินผลการด�าเนินงานกองทุนบทบาทสตรีในเขตอ�าเภอศรีเมืองใหม่ ศึกษา

ปัญหาการด�าเนินงานของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีต�าบล และ

เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการด�าเนินงานของคณะกรรมการกองทุนพัฒนา

บทบาทสตรีต�าบล

2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1) เพือ่ศกึษาขัน้ตอนและการประเมนิผลการด�าเนนิงานของกองทนุพฒันา

บทบาทสตรีต�าบล

2) เพือ่ศกึษาปัญหาอปุสรรคของการด�าเนนิงานของกองทนุพฒันาบทบาท

สตรีต�าบล

3) เพื่อเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาการด�าเนินงานของกองทุนพัฒนา

บทบาทสตรีต�าบลอย่างเป็นรูปธรรม

3. วิธีการศึกษา

3.1 กลุ่มเป้าหมาย

ประชากรที่ใช้ในการศึกษาการประเมินผลการด�าเนินงานกองทุนพัฒนา

บทบาทสตรีในเขตอ�าเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ดังนี้ ประธานกองทุน

เลขานุการ ตัวแทนคณะกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เลือกมาจากต�าบล

Page 6: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์52

ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557

ละหนึ่งกองทุนที่มีผลการด�าเนินงานที่ประสบความส�าเร็จในเขตอ�าเภอศรีเมืองใหม่

ซึ่งมีทั้งหมด 11 ต�าบล รวม 44 คน และประธานกลุ่มกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

ในแต่ละหมู่บ้านจ�านวน 38 คน รวมทั้งสิ้น 82 คน

3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ใช้แบบสอบถามความคิดเห็น เกี่ยวกับ

ผลการด�าเนนิงานของกองทนุพฒันาบทบาทสตร ีปัญหาอปุสรรคและแนวทางในการ

แก้ปัญหาการด�าเนินงานของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ที่มีลักษณะแบบปลายเปิด

และแบบสัมภาษณ์ ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้

3.2.1 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการด�าเนินงานของกองทุน

พัฒนาบทบาทสตรี เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีลักษณะแบบปลายเปิด โดยมี

ประเดน็ส�าคญัเกีย่วกบัผลการด�าเนนิงาน ปัญหาอปุสรรคและแนวทางในการแก้ปัญหา

การด�าเนินงานของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

3.2.2 แบบสัมภาษณ์ เป็นแนวทางการสัมภาษณ์ (Interviews guide)

สัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interviews) เพื่อใช้เก็บข้อมูลจากประธานกลุ่ม

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในแต่ละหมู่บ้าน โดยสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายในแต่ละ

กองทุนที่มีการด�าเนินงานประสบความส�าเร็จ จ�านวน 38 กองทุน

3.3 กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

งานวิจัยนี้มีการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้เกี่ยวข้อง “กองทุนพัฒนา

บทบาทสตรี” ในระดับหมู่บ้านที่มีผลการด�าเนินงานประสบความส�าเร็จ จ�านวน

38 กองทุน ได้แก่ 1) กลุ่มสานตะกร้าหลอด 2) กลุ่มเพาะเห็ดฟาง 3) กลุ่มเลี้ยงสุกร

4) กลุม่ทอผ้า 5) กลุม่เลีย้งปลาในบ่อปนู 6) กลุม่เลีย้งไก่พืน้บ้าน 7) กลุม่ทอผ้าขาวม้า

8) กลุ่มปลูกดอกมะลิ 9) กลุ่มเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ 10) กลุ่มเย็บผ้าเอือดใหญ่

11) กลุ่มเห็ดนางฟ้า 12) กลุ่มพัฒนาสตรีบ้านบก 13) กลุ่มทอเสื่อ 14) กลุ่มเลี้ยง

ปลาดุกในบ่อซีเมนต์ 15) กลุ่มจักสานกระติบข้าว 16) กลุ่มพัฒนาอาชีพสตรี

17) กลุม่เลีย้งปลาดกุกลุม่สตรบ้ีานเหล่าใต้ 18) กลุม่เลีย้งสุกรบา้นสวาสดิ ์19) กลุม่

เลี้ยงไก่พื้นเมืองเพื่อเสริมรายได้ 20) กลุ่มสตรีเลี้ยงสุกรเนื้อ 21) กลุ่มสตรีเลี้ยงเป็ด

เทศขาย 22) กลุ่มเพาะเห็ดฟางบ้านดอนใหญ่ 23) กลุ่มเพาะเห็ดนางฟ้า 24) กลุ่ม

Page 7: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

การประเมินผลการด�าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 53

Vol. 3 No. 2 July - December. 2014

การประเมินผลการด�าเนินงาน

กองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี

ในเขตอ�าเภอศรีเมืองใหม่

จังหวัดอุบลราชธานี

ผลผลิตการด�าเนินงาน

- ความสามารถของสมาชิกกองทุน

- การน�าความรู้ไปใช้

- การบริหารกองทุน

- ทรัพย์สินของกองทุน

- ผลก�าไร/ผลิตภัณฑ์ ที่ก่อให้เกิดราย ได้แก่ กองทุน

กระบวนการด�าเนินงาน

การจัดกิจกรรมของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

- การวางแผน

- การจัดองค์กร

- การบริหารงานบุคคล

- การอ�านวยการ

- การควบคุม ก�ากับ ติดตาม ประเมินผล

บริบทของโครงการ

- วัตถุประสงค์ของโครงการ

- รูปแบบการด�าเนินงานของโครงการ

- ความเหมาะสมของโครงการ

- ความรู้ความเข้าใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง

ปัจจัยน�าเข้า

- ความเหมาะสมของคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ

- ความชัดเจนและความเหมาะสมของงบประมาณ

- ความเหมาะสมของกิจกรรม

- ความเหมาะสมของสถานที่

เลี้ยงเป็ดเทศ 25) กลุ่มเย็บผ้าบ้านลาดควาย 26) กลุ่มสตรีการทอเสื่อ 27) กลุ่มทอผ้า

28) กลุ่มเลี้ยงปลาดุก 29) กลุ่มเลี้ยงหมูพันธุ์เนื้อ 30) กลุ่มปลูกพืชผักกาดขาว

31) กลุ่มเย็บผ้า 32) กลุ่มเลี้ยงหมูป่า 33) กลุ่มเลี้ยงปลาดุก 34) กลุ่มทอผ้ากาบบัว

35) กลุ่มเย็บผ้าห่มจากเศษผ้า 36) กลุ่มสตรีเพาะเห็ด 37) กลุ่มผลิตไอศกรีม

38) กลุ่มเลี้ยงจิ้งหรีด

4. กรอบแนวคิด

กรอบแนวคิดในการศึกษา การประเมินผลการด�าเนินงานกองทุนพัฒนา

บทบาทสตร ีในเขตอ�าเภอศรเีมอืงใหม่ จงัหวดัอบุลราชธาน ี(คณะกรรมการขบัเคลือ่น

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี: 2555) มีดังนี้

Page 8: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์54

ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557

5. ผลการศึกษา

5.1 ขัน้ตอนและผลการด�าเนนิงานของกองทนุพฒันาบทบาทสตรตี�าบล

มีดังนี้ คือ

ด้านบริบทของโครงการ พบว่า โครงการมีวัตถุประสงค์เพื่อรวมกลุ ่ม

เพื่อสร้างอาชีพ การด�าเนินงานของกลุ่มสตรีมีรูปแบบปล่อยเงินกู้ให้สมาชิกไปใช้

เป็นต้นทุนการรวมกลุ่มอาชีพ โครงการมีความเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นตอบสนอง

ความต้องการของสมาชิก คณะกรรมการและสมาชิกมีความรู้ความเข้าใจในการ

ด�าเนินงาน กลุ่มสตรีมีรูปแบบการช�าระเงินกู้ผ่อนช�าระเป็นรายปี ด้านปัจจัยน�าเข้า

พบว่า กลุม่สตรไีด้ยืน่โครงการเพือ่ขอรบัเงนิสนบัสนนุจ�านวนเงนิทีไ่ด้รบัการสนบัสนนุ

ไม่เพยีงพอต่อการด�าเนนิโครงการ สมาชกิของกลุม่มคีวามรูแ้ละความสามารถ แต่ยงั

ไม่มีความช�านาญในการด�าเนินกิจกรรมในโครงการ ด้านกระบวนการด�าเนินงาน

พบว่า กองทุนได้ใช้เงินสนับสนุนตรงตามวัตถุประสงค์ที่ขอทั้งหมด การด�าเนิน

โครงการของท่านประสบความส�าเร็จตามเป้าหมายเป็นอย่างมาก การด�าเนินงาน

ของกองทุนมีความโปร่งใสและมีการจัดท�าบัญชีรายรับรายจ่าย กองทุนมีการรายงาน

ผลการด�าเนินการอย่างสม�่าเสมอ ด้านผลผลิตจากการด�าเนินงาน พบว่า กองทุน

สามารถสร้างรายได้ได้มากจนเป็นรายได้เสริมของครอบครัว เงินสนับสนุนนี้สามารถ

ช่วยให้สมาชกิในหมูบ้่านมงีานท�าเพิม่ขึน้ได้มาก กองทนุมปีระโยชน์มากต่อครอบครวั

และหมู่บ้านได้รับประโยชน์มากจากกองทุน

5.2 ผลการศกึษาปัญหาอปุสรรคของการด�าเนนิงานของกองทนุพฒันา

บทบาทสตรีต�าบล มีดังนี้ คือ

ด้านปัจจัยน�าเข้า พบว่า ปัญหาด้านการยื่นโครงการ/การเขียนโครงการ

บุคลากรที่เกี่ยวข้องยังขาดความรู ้ความเข้าใจในหลักการเขียนโครงการปัญหา

งบสนับสนุนกองทุนยังไม่เพียงพอ ด้านกระบวนการด�าเนินงาน พบว่า ปัญหาการ

ด�าเนินกิจกรรมของกองทุนมีบ้างในสมาชิกบางคนที่เข้ามาใหม่ยังไม่เข้าใจบทบาท

หน้าที่ มีปัญหาการจัดท�าบัญชีรายรับรายจ่ายของกองทุนยังไม่เป็นระบบท�าให้เกิด

ความผิดพลาด ด้านผลผลิตจากการด�าเนินงาน พบว่า ปัญหาผลผลิตจากกิจกรรม

ของกองทุน มีปัญหาด้านการตลาดที่รองรับ ผลิตสินค้าไม่เพียงพอต่อความต้องการ

บรรจุผลิตภัณฑ์ไม่ทันสมัย และขาดการประชาสัมพันธ์ ปัญหาการพัฒนาด�าเนินงาน

Page 9: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

การประเมินผลการด�าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 55

Vol. 3 No. 2 July - December. 2014

ของกองทุน ยังมีปัญหาด้านการจัดสรรรายได้บางกิจกรรมไม่กันเงินไว้เป็นทุนในการ

พัฒนางาน ท�าให้ประสบปัญหาบ้าง

5.3 ผลการศึกษาแนวทางในการแก้ปัญหาการด�าเนินงานของกองทุน

พัฒนาบทบาทสตรีต�าบลอย่างเป็นรูปธรรม ดังนี้

ด้านปัจจยัน�าเข้า พบว่า พฒันาชมุชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ควรมี

ส่วนร่วมให้ความรูแ้ก่กองทนุในขัน้ตอนการเขยีนโครงการรฐับาลและองค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิน่ควรเพิม่งบสนบัสนนุโครงการทีป่ระสบความส�าเรจ็ในการด�าเนนิงานและ

ควรจดัประชมุแลกเปลีย่นอบรมให้ความรูเ้พิม่เตมิในการด�าเนนิกจิกรรมของโครงการ

ด้านกระบวนการด�าเนนิงาน พบว่า สมาชกิในกลุม่ควรมกีารท�าข้อตกลงร่วมกนัในการ

จัดสรรรายได้โดยแบ่งส่วนหนึ่งส�าหรับการพัฒนากลุ่มและเป็นทุนการลงทุน ควรมี

การจัดอบรมศึกษาดูงานกลุ่มที่ประสบความส�าเร็จ มีการด�าเนินการภายใต้หลัก

ธรรมาภิบาล มีนิติธรรม คุณธรรม มีความโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ทั้งในระบบบัญชี

การมีส่วนร่วมจากสมาชิก มีความรับผิดชอบต่อการด�าเนินงาน และเน้นความคุ้มค่า

ในการด�าเนินการ ด้านผลผลิตจากการด�าเนินงาน พบว่า แนวทางในการแก้ปัญหา

รายได้ของกลุ่ม สินค้าบางชนิดควรมีการจัดจ�าหน่ายทั้งปลีกและส่ง องค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่นส่งเสริมให้มีการประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านทางหอกระจายข่าวหรือในงาน

ต่างๆ ขององค์กร แนวทางในการแก้ปัญหาผลผลิตจากกิจกรรมของกลุ่ม ควรมีการ

พัฒนาด้านบรรจุภัณฑ์ ควรมีการตรวจคุณภาพก่อนออกจ�าหน่ายสินค้าทุกครั้ง และ

กลุ่มเองควรมีการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม พัฒนารูปแบบการด�าเนินอย่างให้สะอาด

โปร่งใส ยุติธรรม และลดต้นทุนให้ได้มากที่สุด

6. อภิปรายผล

จากผลการศึกษาข้างต้นสามารถอภิปรายผลการวิจัยได้ดังนี้

6.1 ขัน้ตอนและผลการด�าเนนิงานของกองทนุพฒันาบทบาทสตรตี�าบล

มีดังนี้ คือ

โครงการมีวัตถุประสงค์เพื่อรวมกลุ่มเพื่อสร้างอาชีพ มีรูปแบบปล่อยเงินกู้

ให้สมาชิกไปใช้เป็นต้นทุนการรวมกลุ่มอาชีพ โครงการมีความเหมาะสมกับสภาพ

Page 10: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์56

ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557

ท้องถิ่นตอบสนองความต้องการของสมาชิก คณะกรรมการและสมาชิกมีความรู ้

ความเข้าใจในการด�าเนินงาน สอดคล้องกับงานวิจัยของ สมศรี บัวทอง (2551)

เรื่อง บทบาทของสตรีในกิจกรรมการพัฒนาท้องถิ่น: ศึกษากรณีองค์การบริหาร

ส่วนต�าบลกระแสบน อ�าเภอแกลง จงัหวดัระยอง ทีพ่บว่า สตรมีบีทบาทของในกจิกรรม

การพัฒนาท้องถิ่น ในบางกิจกรรมมีการน�าเสนอกิจกรรมหรือโครงการการพัฒนา

ท้องถิน่ ด้านปัจจยัน�าเข้า พบว่า กองทนุได้ยืน่โครงการเพือ่ขอรบัเงนิสนบัสนนุ กองทนุ

ได้รบัเงนิสนบัสนนุ จ�านวนเงนิทีไ่ด้รบัการสนบัสนนุไม่เพยีงพอต่อการด�าเนนิโครงการ

สมาชกิของกลุม่มคีวามรูค้วามสามารถแต่ยงัไม่มคีวามช�านาญในการด�าเนนิกจิกรรม

ในโครงการ ด้านกระบวนการด�าเนินงาน พบว่า กองทุนได้ใช้เงินสนับสนุนตรง

ตามวัตถุประสงค์ที่ขอทั้งหมด การด�าเนินโครงการของท่านประสบความส�าเร็จตาม

เป้าหมายเป็นอย่างมาก การด�าเนนิงานของกองทนุมคีวามโปร่งใสและมกีารจดัท�าบญัชี

รายรับรายจ่าย กองทุนมีการรายงานผลการด�าเนินการอย่างสม�่าเสมอ ด้านผลผลิต

จากการด�าเนินงาน พบว่า กองทุนสามารถสร้างรายได้ได้มากจนเป็นรายได้เสริมของ

ครอบครัว เงินสนับสนุนนี้สามารถช่วยให้สมาชิกในหมู่บ้านมีงานท�าเพิ่มขึ้นได้มาก

กองทุนมีประโยชน์มากต่อครอบครัว และหมู่บ้านได้รับประโยชน์มากจากกองทุน

สอดคล้องกับงานวิจัยของ ณิชชาภัทร สุวรรณกูฎ (2555) ได้ศึกษาเรื่อง การติดตาม

ความก้าวหน้าในการด�าเนินโครงการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี อ�าเภอสว่างวีระวงศ์

จังหวัดอุบลราชธานี ที่พบว่า ด้านปัจจัยน�าเข้า พบว่า การจัดตั้งกองทุนมีความ

สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน ด้านกระบวนการด�าเนินงาน พบว่า มีการ

ก�าหนดให้ประชาชนมีสิทธิในการตรวจสอบการด�าเนินงานและมอบหมายงานให้

คณะกรรมการได้อย่างเหมาะสม ด้านผลผลิตการด�าเนินงาน พบว่า สมาชิกสามารถ

น�าความรู ้หลกัการและขัน้ตอนการด�าเนนิงานไปใช้ประโยชน์ได้อย่างถกูต้องเช่นเดยีว

กบัโครงการทัง้หมดทีด่�าเนนิการนัน้ แม้ยงัไม่ถงึก�าหนดการส่งคนืเงนิดงักล่าวเนือ่งจาก

ยังไม่ครบรอบปีและจากการสอบถามแต่ละกลุ่มล้วนได้รับการยืนยันว่าเมื่อครบรอบปี

ทางกลุ่มก็จะน�าผลก�าไรที่ได้จากการด�าเนินโครงการมาปันผลและจัดสรรส่งคืนอย่าง

แน่นอน และไม่น่าจะเกิดปัญหาเนื่องจากการการเก็บผลก�าไรจะมีคณะกรรมการ

ด�าเนินงานอย่างเป็นรูปแบบ มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และหากมีกลุ่มใด

Page 11: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

การประเมินผลการด�าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 57

Vol. 3 No. 2 July - December. 2014

ที่ไม่มีการส่งคืน ทางคณะกรรมการจะมีการแจ้งเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร และคิดค่าปรับ

ตามที่ก�าหนดไว้ในสัญญา

6.2 ปัญหาอปุสรรคของการด�าเนนิงานของกองทนุพฒันาบทบาทสตรตี�าบล

มีดังนี้ คือ

ปัญหาด้านการยื่นโครงการ/การเขียนโครงการ บุคลากรที่เกี่ยวข้องยังขาด

ความรู ้ความเข้าใจในหลักการเขียนโครงการและบทบาทในการท�างาน ปัญหา

งบสนับสนุนกองทุนยังไม่เพียงพอ สอดคล้องกับงานวิจัยของ ณิชชาภัทร สุวรรณกูฎ

(2555) เรื่อง การติดตามความก้าวหน้าในการด�าเนินโครงการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

อ�าเภอสว่างวรีะวงศ์ จงัหวดัอบุลราชธาน ีทีพ่บว่า การขอรบัเงนิสนบัสนนุมคีวามล่าช้า

จากพิจารณาการอนุมัติโครงการ การรายงานผลการใช้จ่ายเงินผู้รายงานยังไม่มีความ

เข้าใจแบบรายงานและการด�าเนินงานของกองทุนนี้ เมื่อครบหนึ่งปีจึงจะเห็นผลก�าไร

ที่เกิดจาการด�าเนินงานของกองทุนได้ชัดเจนจึงจะสามารถสรุปผลการด�าเนินงาน

โดยใช้ผลก�าไรเป็นตัวชี้วัดถึงความส�าเร็จของการด�าเนินงานของกองทุนดังกล่าว

6.3 แนวทางในการแก้ปัญหาการด�าเนนิงานของกองทนุพฒันาบทบาท

สตรีต�าบลอย่างเป็นรูปธรรม

พัฒนาชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรมีส่วนร่วมให้ความรู้

แก่กองทุนในขั้นตอนการเขียนโครงการ รัฐบาลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรเพิ่ม

งบประมาณสนับสนุนโครงการที่ประสบความส�าเร็จในการด�าเนินงาน และควรจัด

ประชุมแลกเปลี่ยน ศึกษาดูงานกลุ่มที่ประสบความส�าเร็จ อบรมให้ความรู้เพิ่มเติม

ในการด�าเนินกิจกรรมของโครงการส่งเสริมให้มีการประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านทาง

หอกระจายข่าว หรือในงานประเพณีต่างๆ และควรมีการพัฒนาด้านบรรจุภัณฑ์

ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ณิชชาภัทร สุวรรณกูฎ (2555) เรื่อง การติดตามความ

ก้าวหน้าในการด�าเนนิโครงการกองทนุพฒันาบทบาทสตร ีอ�าเภอสว่างวรีะวงศ์ จงัหวดั

อบุลราชธาน ีทีพ่บว่า แนวทางการตดิตามความก้าวหน้าในการด�าเนนิโครงการกองทนุ

พฒันาบทบาทสตร ีคอื มกีารสนบัสนนุการรวมตวักนัในพืน้ทีอ่ืน่ได้ ลดขัน้ตอนการลง

ทะเบียน มีการส่งเสริมการฝึกอบรมให้ความรู้ให้กับคณะกรรมการในทุกระดับ

แต่งตั้งคณะท�างานเพื่อท�าหน้าที่ตรวจสอบการท�างานของคณะกรรมการในทุกระดับ

Page 12: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์58

ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557

และรายงานผลการด�าเนนิงานแบบรายงานจะต้องเข้าใจง่ายมรีายละเอยีดท�าให้ทราบ

ถงึผลการด�าเนนิงาน และสอดคล้องกบังานวจิยัของ อมุา วภิษูณะ (2551) เรือ่งบทบาท

ของผู้น�าสตรีในการพัฒนาท้องถิ่นพื้นที่ต�าบลทางเกวียน อ�าเภอแกลง จังหวัดระยอง

พบว่า ผู ้น�าสตรียังคงพอมีการรู ้จักน�าเทคโนโลยีมาใช้กับการปฏิบัติงาน แต่ใน

ขณะเดียวกันก็มิได้อ่อนด้อยในเรื่องของวิชาการและการเป็นนักแก้ปัญหา

ภาพที่ 1 โครงการเลี้ยงจิ้งหรีด หมู่ที่ 8 ต.วาริน อ.ศรีเมืองใหม่ จ.อุบลราชธานี

Page 13: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

การประเมินผลการด�าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 59

Vol. 3 No. 2 July - December. 2014

ภาพที ่2 โครงการเลีย้งปลาบ่อซเีมนต์ หมูท่ี ่5 ต.ลาดควาย อ.ศรเีมอืงใหม่ จ.อบุลราชธานี

ภาพที่ 3 การอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดท�าบัญชี ณ ที่ว่าการอ�าเภอศรีเมืองใหม่

7. ข้อเสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป

1) ควรท�าวิจัยเชิงคุณภาพ เรื่อง รูปแบบการด�าเนินงานของโครงการ

ที่ประสบความส�าเร็จ

Page 14: การประเมินผลการด าเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในเขตอ … (03).pdfการประเมินผลการด

วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์60

ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557

2) ควรท�าวิจัยเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ปัจจัยที่มีผลกระทบโดยตรงต่อ

การด�าเนินงานของโครงการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

2. ข้อเสนอแนะเพื่อการน�าผลการวิจัยไปใช้

1) ด้านปัจจัยน�าเข้า พัฒนาชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ควรมีส่วนร่วมให้ความรู้ เพิ่มงบสนับสนุนโครงการที่ประสบความส�าเร็จ จัดประชุม

แลกเปลี่ยน อบรมให้ความรู้

2) ด้านกระบวนการด�าเนินงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรมีการจัดอบรม ศึกษาดูงานกลุ่มที่ประสบความส�าเร็จ

3) ด้านผลผลิตจากการด�าเนินงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควร

ส่งเสรมิให้มกีารประชาสมัพนัธ์สนิค้าผ่านทางหอกระจายข่าว หรอืในงานต่างๆ ขององค์กร

เอกสารอ้างอิง

คณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี.(2555). คู่มือการด�าเนินงาน

กองทุนพัฒนาบทบาทสตร.ี

ประธาน คงเรืองราช.(2551). บทบาทสตรีในการพัฒนาท้องถิ่น: กรณีศึกษา

องค์การบรหิารส่วนต�าบลโนนอดุม อ�าเภอเมอืงยาง จงัหวดันครราชสมีา.

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ภชดา ทัตภากร. (2549). การยอมรับบทบาทของผู้น�าสตรีในองค์กรภาครัฐ.

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต.

ณชิชาภทัร สวุรรณกฎู. (2555). การตดิตามความก้าวหน้าในการด�าเนนิโครงการ

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอ�าเภอสว่างวีระวงศ์ จังหวัดอุบลราชธานี.

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สมศรี บัวทอง. (2551). บทบาทของสตรีในกิจกรรมการพัฒนาท้องถิ่น: ศึกษา

กรณีองค์การบริหารส่วนต�าบลกระแสบน อ�าเภอแกลง จังหวัดระยอง.

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อุมา วิภูษณะ. (2551). บทบาทของผู้น�าสตรีในการพัฒนาท้องถิ่นพื้นที่ต�าบล

ทางเกวียนอ�าเภอแกลง จังหวัดระยอง. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยขอนแก่น.