การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf ·...

15
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….…… วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา | 69 การพัฒนารูปแบบการจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน โครงสราง 43 แฟมในเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ อําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด The Quality Management Model for 43 Public Health Data Folders in Primary Care Unit Network at Chaturaphakphiman District, Roi-Et Province รติยา วิภักดินิสิตสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นิรุวรรณ เทรินโบล คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เสถียรพงษ ศิวินา โรงพยาบาลเกษตรวิสัย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดรอยเอ็ด บทคัดยอ คุณภาพฐานขอมูลทางดานการแพทยและ สาธารณสุข มีความสําคัญยิ่งตอการพัฒนาระบบ สุขภาพของประเทศการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิง ปฏิบัติการ (Action Research) มีความมุงหมาย เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการคุณภาพขอมูลตาม มาตรฐานโครงสราง 43 แฟมและเปรียบเทียบคุณภาพ ขอมูลกอนและหลังดําเนินการพัฒนา ดําเนินการวิจัย แบงเปน 3 ระยะ คือ 1) ขั้นศึกษาสภาพปญหา การดําเนินงาน 2) ขั้นการปฏิบัติการตามรูปแบบทีกําหนด และ 3) ขั้นประเมินผลกลุมตัวอยาง ประกอบดวยผูที่มีสวนเกี่ยวของในการจัดการคุณภาพ ขอมูล จํานวน 46 คนเก็บรวบรวมขอมูล โดยวิธีการตอบแบบสอบถาม การสังเกต และการ สัมภาษณ วิเคราะหขอมูลใชสถิติพรรณนา ไดแก ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบใช Chi-square test ( χ 2 ), Fisher Exact test สําหรับขอมูลเชิงคุณภาพใชการวิเคราะหเชิง เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบวา กระบวนการพัฒนา รูปแบบจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง 43 แฟมประกอบดวย 6 ขั้นตอน 20 กิจกรรม คือ 1) ขั้น เตรียมการ 2) ขั้นดําเนินการพัฒนาโดยผูมีสวนเกี่ยวของ 3) ขั้นพัฒนาบุคลากร 4) ขั้นนิเทศติดตามการดําเนินงาน 5) ขั้นประเมินผลการดําเนินงาน และ 6) ขั้นการสะทอนกลับและสรุปผล หลังการพัฒนา กระบวนการดังกลาวทําใหไดรูปแบบแนวคิด การพัฒนา คือ CHA_TU Model ซึ่งสงผลใหผูมีสวน เกี่ยวของในการจัดการคุณภาพขอมูลมีความรู เจตคติ และการปฏิบัติที่ดีขึ้น คุณภาพขอมูลดานความ ถูกตอง ครบถวน และทันเวลาเพิ่มขึ้น จากรอยละ 84.61 เปนรอยละ 98.73 และมีความพึงพอใจอยูใน ระดับมาก (Mean= 4.66, S.D.=0.35) วิ ทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา

Upload: others

Post on 26-Aug-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา | 69

การพัฒนารูปแบบการจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟมในเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ

อําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด The Quality Management Model for 43 Public Health Data Folders

in Primary Care Unit Network

at Chaturaphakphiman District, Roi-Et Province

รติยา วิภักด์ิ

นิสิตสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

นิรุวรรณ เทรินโบล

คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

เสถียรพงษ ศิวินา

โรงพยาบาลเกษตรวิสัย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดรอยเอ็ด

บทคัดยอ คุณภาพฐานขอมูลทางดานการแพทยและ

สาธารณสุข มีความสําคัญยิ่งตอการพัฒนาระบบ

สุขภาพของประเทศการวิจัยคร้ังน้ีเปนการวิจัยเชิง

ปฏิบัติการ (Action Research) มีความมุงหมาย

เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดการคุณภาพขอมูลตาม

มาตรฐานโครงสราง 43 แฟมและเปรียบเทียบคุณภาพ

ขอมูลกอนและหลังดําเนินการพัฒนา ดําเนินการวิจัย

แบง เปน 3 ระยะ คือ 1) ขั้นศึกษาสภาพปญหา

การดําเนินงาน 2) ขั้นการปฏิบัติการตามรูปแบบท่ี

กําหนด และ 3 ) ขั้ นประ เ มินผลกลุ มตั วอย า ง

ประกอบดวยผูท่ีมีสวนเก่ียวของในการจัดการคุณภาพ

ขอมูล จํานวน 46 คนเ ก็บรวบรวมขอมูล

โดยวิธีการตอบแบบสอบถาม การสังเกต และการ

สัมภาษณ วิเคราะหขอมูลใชสถิติพรรณนา ไดแก

ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

สถิติทดสอบใช Chi-square test (χ2), Fisher Exact

test สําหรับขอมูลเชิงคุณภาพใชการวิเคราะหเชิง

เน้ือหา (Content Analysis)

ผลการวิจัยพบว า กระบวนการพัฒนา

รูปแบบจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง

43 แฟมประกอบดวย 6 ขั้นตอน 20 กิจกรรม คือ 1) ขั้น

เตรียมการ 2) ขั้นดําเนินการพัฒนาโดยผูมีสวนเก่ียวของ

3) ขั้นพัฒนาบุคลากร 4) ขั้นนิเทศติดตามการดําเนินงาน

5) ขั้ น ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น แ ล ะ

6) ขั้นการสะทอนกลับและสรุปผล หลังการพัฒนา

กระบวนการดั งกล า ว ทํา ให ได รู ปแบบแนวคิ ด

การพัฒนา คือ CHA_TU Model ซ่ึงสงผลใหผูมีสวน

เ ก่ียวของ ในการจัดการคุณภาพขอมูล มีความรู

เจตคติ และการปฏิบัติท่ีดีขึ้น คุณภาพขอมูลดานความ

ถูกตอง ครบถวน และทันเวลาเพ่ิมขึ้น จากรอยละ

84.61 เปนรอยละ 98.73 และมีความพึงพอใจอยูใน

ระดับมาก (Mean= 4.66, S.D.=0.35)

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 2: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

70 | วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา

สรุป การพัฒนารูปแบบการจัดการคุณภาพ

ขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง 43 แฟม มีปจจัยแหง

ความสําเร็จ คือ การวางแผนแบบมีสวนรวมของผูมีสวน

เก่ียวของ การทํางานเปนทีมเครือขายโดยการมีสวนรวม

ในทุกกิจกรรมการติดตามนิเทศงานในระหวางการ

ดําเนินงาน มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการในระดับ

เครือขายอยางตอเน่ืองเพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากร มีการ

แลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ทําใหเกิดความตระหนักในการ

ปฏิบัติและการมีชองทางในการการสะทอนกลับขอมูลท่ี

งายและสะดวก จึงทําใหการดําเนินงานมีประสิทธิภาพ

มากยิ่งขึ้น

คําสําคัญ : คุณภาพขอมูลสุขภาพ ขอมูล 43 แฟม หนวยบริการปฐมภูมิ

Abstract Quality of database in medical and

public health was always vital to developing the

country’s health system. This action research was

conducted with its objectives to develop the

data quality management model for the 43

public health folders and to compare its

quality before and after development. The

study was divided into 3 phrases: 1) preliminary

stage, 2) action stage, and 3) evaluation stage.

The sample group consisted of 46

respondents who were involved in data

quality management. Data collection was

obtained through questionnaires, observations,

and interviews before being analyzed by using

descriptive statistics such as frequency,

percentage, average, standard deviation, Chi-

square test (χ2), and Fisher Exact test. To

obtain qualitative data, a content analysis was

employed.

The results showed that the development process of data quality management model for the 43 public health folders included 6 stages and 20 activities as follows: 1) preparation stage, 2) action stage by stakeholders, 3) human development stage, 4) supervision and following-up stage, 5) evaluation stage, and 6) reflection and conclusion stage. The development of such process had formed a new development concept called the CHA_TU model which in turn resulted in an increasing of knowledge, a better practice and a better attitude of those who were involved in data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness) had increased from 84.61 to 98.73 percent and its satisfaction was found to be at a high level (Mean = 4.66, S.D. = 0.35). In summary, the development of data quality management model for the 43 public health folders comprised factors of success as follows: a participatory planning by stakeholders, working as a teamwork in a network (stakeholders taking part in all activities), a supervision to be made during an implementation stage, a workshop to be recurrently held in a network level for developing the potential of personnel, exchanging and sharing knowledge to raise awareness in practice, and channels for easy and convenient feedback (reflection). These factors contributed to a more effective operation.

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 3: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา | 71

Keywords : quality health information, 43 public health data folders, Primary Care Unit

บทนํา ขอมูลขาวสารเปนเคร่ืองมือท่ีสําคัญในการ

บริหารงานในทุกระดับ ตั้งแตระดับปฏิบัติการ จนถึง

ระดับบ ริหาร และในการกําหนดนโยบายต างๆ

ผูบริหารยุคใหมตองการขอมูลท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือใช

ในการประเมินสถานการณ ใช ในการคาดการณ

เหตุการณ เพ่ือการตัดสินใจท่ีถูกตองแมนยํา และมี

ความผิดพลาดท่ีนอยท่ีสุดเทาท่ีเปนไปได อันจะนํามาสู

องคกรท่ีมีสมรรถนะสูง ขอมูลขาวสารท่ีทันสมัยและมี

ความถูกตอง รวมถึงมีการจัดเก็บอยางเปนระบบจะ

ชวยใหองคกรสามารถกําหนดทิศทางและนโยบายได

อยางมีประสิทธิภาพ ดังน้ันในการพัฒนาระบบขอมูล

ขาวสารสิ่งท่ีตองคํานึงถึง คือ การพัฒนาคุณภาพของ

ขอมูลใหขอมูลมีความนาเชื่อถือ เท่ียงตรง รวมท้ังระบบ

การจัดเก็บท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือใหขอมูลท่ีทันเวลา

(สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข,

2557)

กร ะท ร ว ง ส า ธ า รณสุ ข แ ล ะสํ า นั ก ง า น

หลักประกันสุขภาพแหงชาติ ตระหนักถึงความสําคัญ

ของระบบขอมูลสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศตอ

การพัฒนาระบบสุขภาพ (Health System) จึงกําหนด

นโยบายท่ีจะพัฒนาระบบขอมูลสุขภาพและเทคโนโลยี

สารสนเทศสุขภาพใหมีประสิทธิภาพและจัดการระบบ

ขอมูลท่ีกระจัดกระจาย (Fragmented) ใหสอดคลอง

กับกระบวนการดําเนินงานดานสุขภาพ ซ่ึงไดจัดทํา

โครงการพัฒนาระบบการเชื่อมโยงขอมูลมาตรฐาน

(Standard Data Set) จากเร่ิมแรกเปน 18 แฟม ใน

ระดับสถานีอนามัยและ 12 แฟม ในระบบโรงพยาบาล

ตอมาพัฒนาเปน 21 แฟม (ชื่นจิต หรายลอย, 2551)

ปจจุบันพัฒนาระบบขอมูลสุขภาพตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟมโดยใหการดําเนินการจัดเก็บและ

สงออกขอมูลเปนฐานขอมูลรายบุคคล (Individual

record) จากสถานบริการทุกระดับมายั งสํ านัก

นโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแตป

2550 ในรูปแบบโครงสรางมาตรฐานขอมูล 18 แฟม

และในป 2555 ไดปรับเปน 43 แฟม เพ่ือการสงตอ

ขอมูลการปวยและการใหบริการสรางเสริมสุขภาพและ

ปองกันโรครายบุคคล ซ่ึงไดเพ่ิมโครงสรางมาตรฐาน

ขอมูลของผูปวยในและอ่ืนๆ โดยสถานบริการทุกแหง

จะตองสงขอมูลรายบุคคลไปรวมกันท่ีคลังขอมูลสุขภาพ

ระดับจังหวัด (Health Data center) สํานักงาน

สาธารณสุขจังหวัดเพ่ือรวบรวมสงมายังสํานักนโยบาย

และยุทธศาสตร เพ่ือเปนขอมูลสุขภาพระดับประเทศ

สําหรับการใชประโยชนรวมกัน (กระทรวงสาธารณสุข,

2557)

โรงพยาบาลจตุรพักตรพิมานและสํานักงาน

สาธารณสุขอําเภอจตุรพักตรพิมาน ไดรวมกันพัฒนา

ระบบขอมูลดานการแพทยและสุขภาพใหมีคุณภาพ

เพ่ือใหหนวยบริการมีขอมูลสุขภาพสําหรับใหบริการ

ประชาชนตามกลุมเปาหมายตางๆไดอยางถูกตอง

ครบถวน ทันเวลา และมีประสิทธิภาพ โดยพัฒนา

ระบบขอมูลในรูปแบบของระบบคลั งขอมูลดาน

การแพทยและสุขภาพ (Data Center) ระดับอําเภอ

และเชื่อมตอไปยังจังหวัดเพ่ือใหไดขอมูลท่ีครบถวนและ

ถูกตองโดยขอมูลดังกลาวสอดคลองตามโครงสราง

ขอมูลมาตรฐานดานการแพทยและสุขภาพท่ีกระทรวง

สาธารณสุขกําหนด และระบบสามารถจัดทําเปน

รายงานเพ่ือประโยชนตอผูใชงานในระดับสถานบริการ

คือโรงพยาบาล สาธารณสุขอําเภอ และโรงพยาบาล

สงเสริมสุขภาพตําบลได (โรงพยาบาลจตุรพักตรพิมาน,

2557) ซ่ึงจากผลการดําเนินงานท่ีผานมา พบวา การ

พัฒนาระบบขอมูลสุขภาพตามมาตรฐานโครงสราง 43

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 4: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

72 | วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา

แฟม ยังมีอุปสรรคและปญหาในการดําเนินงานอยาง

มาก ขอมูลขาดคุณภาพและความนาเชื่อถือ เน่ืองจาก

ขาดความถูกตอง ขาดความครบถวน ขาดความ

ครอบคลุม และสงไมทันเวลา ดังจะเห็นไดจากขอมูล

ป 2556 สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ได

ระงับการจายเงินชดเชยตามผลงานการใหบริการ

ชั่วคราว (Pending) เน่ืองจากขอมูลมีความผิดปกติใน

แฟมบุคคล (Person) พบวาจํานวนคนท่ีอาศัยอยูจริง

ในเขตรับผิดชอบมีจํานวนสูงกวาความเปนจริงเม่ือ

เทียบกับจํานวนประชากรสิทธิประกันสุขภาพถวนหนา

(UC) และไมมีการจําหนายบุคคลท่ีเสียชีวิตแลวออก

จากฐานขอมูลในแฟมโรคเร้ือรัง (Chronic) จึงทําให

ขอมูลไมนาเชื่อถือ (สํานักงานหลักประกันสุขภาพ

แหงชาติ, 2556) และผลการสงขอมูล 43 แฟม ป

2557 พบวา คุณภาพดานความถูกตอง คิดเปนรอยละ

88.56 คุณภาพดานความครบถวนของขอมูล คิดเปน

รอยละ 75.81 และคุณภาพดานความทันเวลา คิด

เปนรอยละ 89.62 (โรงพยาบาลจตุรพักตรพิมาน,

2557) จากขอมูลดังกลาวชี้ใหเห็นวาคุณภาพขอมูลยัง

อยูในระดับต่ํา เม่ือเทียบกับเครือขายหนวยบริการ

ปฐมภูมิอ่ืนในจังหวัดรอยเอ็ด ซ่ึงจะมีคาเฉลี่ยคุณภาพ

ขอมูลอยู ท่ี รอยละ 95.88(สํานักงานสาธารณสุข

จังหวัดรอยเอ็ด, 2557) และผลการจัดสรรเงินตาม

ผลงานบริการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค (PP

Workload) และงบจายตามตัวชี้วัดเกณฑคุณภาพและ

ผลงานบริการหนวยบริการปฐมภูมิ (QOF) ป 2558

เครือขายหนวยบริการปฐมภูมิอําเภอจตุรพักตรพิมาน

ไดรับการจัดสรรเงินลดลงอยางเห็นไดชัดเม่ือเทียบกับ

เครือขายหนวยบริการปฐมภูมิอ่ืนๆ ในจังหวัดรอยเอ็ด

(สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ, 2558)

จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวของการ

ใชเทคนิคการประชุมวางแผนแบบมีสวนรวมอยาง

สรางสรรค (AIC) รวมกับแนวคิดวิจัยเชิงปฏิบัติการ

(Action Research) และการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ

พบวาภายหลังการพัฒนารูปแบบการจัดการคุณภาพ

ขอมูลลงทะเบียนหลักประกันสุขภาพถวนหน า

ผูปฏิบัติงานมีคะแนนเฉลี่ยความรูเพ่ิมขึ้นมากกวากอน

การพัฒนาและผลการลงทะเบียนหลักประกันสุขภาพ

ถวนหนามีความถูกตองเพ่ิมขึ้นกวากอนการพัฒนาอยาง

มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 (p<0.05) (อรรถพงษ

ดีเสมอ, 2554) และพบวาการดําเนินการตามวงจร

พัฒนาคุณภาพของเดม่ิง และรวมกันกําหนดแผนปฏิบัติ

การกิจกรรมตางๆทําใหคุณภาพฐานขอมูลดานความ

ครบถวน ถูกตอง และดานความทันเวลา เพ่ิมขึ้นจาก

กอนการดําเนินการอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (ศศิธร

ไชยสัจ, 2554) ดังน้ันผูวิจัยจึงมีความประสงคท่ีจะ

พัฒนารูปแบบการจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟม ของเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ

อําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด ใหมีคุณภาพ

และมีความนาเชื่อถือ สามารถนําขอมูลไปใชประโยชน

ไดอยางแทจริงและถูกตองโดยใชการประชุมวางแผน

แบบมีสวนรวมอยางสรางสรรค (AIC) แนวคิดการ

จัดการ แนวคิดดานคุณภาพขอมูล และแนวคิดการวิจัย

เชิงปฏิบัติการจํานวน 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน

(Plan) การลงมือปฏิบัติงาน (Action) การสังเกตผล

การปฏิบัติงาน (Observation) และการสะทอนผล

กลับ (Reflection) มาเปนเคร่ืองมือในการจัดการ

คุณภาพขอมูลของเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิใหมี

คุณภาพดียิ่งขึ้น ซ่ึงจะสงผลตอการนําขอมูลดังกลาวไป

ใชในการกําหนดนโยบาย การไดรับจัดสรรงบประมาณ

การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด

ของกระทรวงสาธารณสุขไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 5: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา | 73

วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพ่ือศึกษาบริบทของพ้ืนท่ี สภาพปญหา

และอุปสรรคในการจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟมในเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ

อําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด

2. เพ่ือศึกษากระบวนการพัฒนารูปแบบการ

จัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง 43 แฟม

ในเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ อําเภอจตุรพักตร

พิมาน จังหวัดรอยเอ็ด ใหมีคุณภาพในดานความถูกตอง

ดานความครบถวน และดานความทันเวลา

3. เ พ่ือประเมินผลกระบวนการพัฒนา

รูปแบบการจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟมในเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ

อําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด

ระเบียบวิธีวิจัย การดําเนินวิจัย

การวิจัยเร่ืองการพัฒนารูปแบบการจัดการ

คุณภาพขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง 43 แฟม ใน

เครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ อําเภอจตุรพักตรพิมาน

จังหวัดรอยเอ็ดเปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action

Research) ตามแนวคิดของ เคมมิสและแม็คแทกการท

(Kemmis and Mc Taggart, 1990) ประกอบดวย 6

ขั้นตอน 20 กิจกรรม ดังน้ี

ข้ันตอนที่ 1 ขั้นเตรียมการประกอบดวย

กิจกรรมท่ี 1) ศึกษาบริบทพ้ืนท่ีและสภาพปญหาตางๆ

2) เก็บรวบรวมขอมูล 3) ติดตอประสานงานผูมีสวน

เก่ียวของในการดําเนินการ

ข้ันตอนที่ 2 ขั้นดําเนินการพัฒนาโดยผูมีสวน

เก่ียวของตามกระบวนการ ประกอบดวยกิจกรรมท่ี

4) จัดทําคําสั่งคณะกรรมการดําเนินงาน 5) ประชุม

วางแผนแบบมีสวนรวมในภาพของเครือขายเพ่ือรวมกัน

วิเคราะหสถานการณและหาแนวทางแกปญหา

6) จัดทําแผนปฏิบัติการของเครือขาย

ข้ันตอนที่ 3 ขั้นพัฒนาบุคลากรประกอบดวย

กิจกรรมท่ี 7) อบรมเชิงปฏิบัติการ 8) ประกาศนโยบาย

โดยผูบริหาร

ข้ันตอนที่ 4 ขั้นนิเทศติดตาม ประกอบดวย

กิจกรรมท่ี 9) จัดตั้งทีมผูเชี่ยวชาญเปนทีมพ่ีเลี้ยงในดาน

ตางๆ 10) เพ่ิมชองทางการติดตอสื่อสารดานขอมูล

11) Check ตรวจสอบคุณภาพขอมูล 12) Edit

ดําเนินการแกไขใหถูกตอง 13) Sent สงขอมูล HDC,

สปสช.

ข้ันตอนที่ 5 ขั้นประเมินผล ประกอบดวยกิจกรรมท่ี 14) ประเมิน KAP 15) ประเมินคุณภาพขอมูล 16) ประเมินความพึงพอใจผูมีสวนเก่ียวของในการดําเนินการ

ข้ั นตอนที่ 6 ขั้ นสะท อนกลั บผลกา ร

ปฏิบัติงาน ประกอบดวยกิจกรรมท่ี 17) จัดเวที

แลกเปลี่ยนเรียนรู ถอดบทเรียนรวมกัน 18) คืนขอมูลสู

หนวยบริการทุกแหง 19) กําหนดมาตรการ แนวทาง

และสรางคูมือการดําเนินงาน 20) ประกาศนโยบายการ

ดําเนินงานพัฒนาระบบขอมูล 43 แฟม โดยผูบริหาร

ประชากรและกลุมเปาหมาย

1.ประชากร คือ เจาหนาท่ีผูมีสวนเก่ียวของ

ในการเก็บรวบรวมขอมูล การบันทึกขอมูล การ

ตรวจสอบขอมูล การจัดสงขอมูล และผูรับผิดชอบงาน

ขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง 43 แฟมท่ีปฏิบัติงานใน

เครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ อําเภอจตุรพักตรพิมาน

สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ และสํานักงานสาธารณสุข

จังหวัดรอยเอ็ด จํานวนท้ังหมด 203 คน

2. กลุมเป าหมายใช วิ ธีการเลือกแบบ

เจาะจง (Purposive Sampling) โดยการกําหนด

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 6: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

74 | วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา

คุณสมบัติจากเจาหนาท่ีท่ีมีสวนเก่ียวของ จํานวน 46

คน

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

เ ค ร่ื อ ง มื อ ท่ี ใ ช ใ น ใ น ก า ร วิ จั ย ค ร้ั ง น้ี

ประกอบดวยเคร่ืองมือใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเชิง

ปริมาณและเชิงคุณภาพมีจํานวนท้ังหมด 6 ฉบับ ดังน้ี

ฉบับที่ 1แบ บส อบถ ามลั กษ ณะทา ง

ประชากร ขอมูลดานความรู เจตคติและการปฏิบัติใน

การจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง 43

แฟม

ฉบับที่ 2 แบบสัมภาษณอุปสรรคปญหาและ

ขอเสนอแนะในการจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟม

ฉบับที่ 3 แบบบันทึกผลการตรวจสอบ

คุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน โครงสราง 43 แฟม

ประกอบด วย ราย กา รแ ฟ ม ข อ มู ล ท้ั งห มด 4 3

แฟมขอมูล เพ่ือบันทึกผลการตรวจสอบคุณภาพขอมูล

ท้ัง 3 ดาน ไดแก ดานความถูกตอง ดานความครบถวน

และดานความทันเวลา

ฉบับที่ 4 แบบบันทึกสังเกตการมีสวนรวม

ระหวางดําเนินการตามกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ

ฉบับที่ 5 แบบบันทึกผลการสรุปกิจกรรม

ถอดบทเรียน AAR (After Action Review)

ฉบับที่ 6 แบบประเมินความพึงพอใจของผู

รวมวิจัยในการดําเนินการจัดการคุณภาพขอมูลตาม

มาตรฐานโครงสราง 43 แฟม

การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ

1. ผูวิจัยสรางขึ้นจากการทบทวนแนวคิด

และทฤษฎีท่ีเก่ียวของ ตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ

โดยนําแบบสอบถามไปใหผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน

ตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหาความสอดคลองกับ

วัตถุประสงคแลวนํามาหาคา IOC ซ่ึงสูตรของ

Rowinelli และ Hambleton, 1977 (อางใน อรรถพงษ

ดีเสมอ, 2554) กําหนดใหคา IOC (Index of

Congruence) มีคา 0.5 ขึ้นไปจึงจะถือไดวาสอดคลอง

กันพบวามีคา IOC ระหวาง 0.66-1.00 ทุกขอ

2. ผูวิจัยนําแบบสอบถามไปทดลองใช (Try

Out) จํานวน 30 คนวิเคราะหหาคาความเชื่อม่ันโดย

แบบสอบถามดานความรูใช วิธี KR20 (Kuder–

Richardrson Formula 20) มีคาความความเชื่อม่ัน

เทากับ 0.75 แบบสอบถามเจตคติ มีคาความเชื่อม่ัน

เทากับ 0.79 แบบสอบถามการปฏิบัติ มีคาความ

เชื่อม่ันเทากับ 0.82 และแบบสอบถามความพึงพอใจ

ของผูรวมวิจัย มีคาความเชื่อม่ันเทากับ 0.87 โดยใชคา

สัมประสิทธ์ิอัลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha

Coefficient)

การวิเคราะหขอมูล 1. ขอมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห

เน้ือหา (Content Analysis) โดยตรวจสอบความถูกตองครบถวนของขอ มูลแลวจัดหมวดหมูตามประเด็น

2. ข อ มู ล ท่ั ว ไป โ ด ย ใ ช สถิ ติ พ ร รณนา (Descriptive Statistics) ไดแก ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3. ทดสอบปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการ

ปฏิบัติการจัดการคุณภาพขอมูล โดยใชสถิติ Chi-

square test (χ2) และ Fisher’ Exact test

จริยธรรมการวิจัย การวิจัยคร้ังน้ี ผานการพิจารณาและอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย สาขาสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เลขท่ีการรับรอง PH025/2559 ผูวิจัยไดตระหนักถึงสิทธิประโยชนในการใหขอมูล โดยผู ใหขอมูลจะเปนผูตัดสินใจในการเขารวมการศึกษาโดยสมัครใจ หากผูท่ีเก่ียวของในงานวิจัยคร้ังน้ีไมยินดีเขารวมการศึกษาวิจัย

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 7: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา | 75

ก็จะไมมีผลกระทบใดๆ ท้ังสิ้น หรือในระหวางการศึกษาวิจัยจะขอถอนตัวไมเขารวมกิจกรรมยอมได

ผลการวิจัย ผลการศึกษาการพัฒนารูปแบบการจัดการ

คุณภาพขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง 43 แฟม ใน

เครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ อําเภอจตุรพักตรพิมาน

จังหวัดรอยเอ็ด ประกอบดวย 3 ระยะ ดังน้ี

ระยะที่ 1 ขั้นเตรียมการไดศึกษาบริบทของ

พ้ืนท่ี สภาพปญหาและอุปสรรคในการจัดการคุณภาพ

ขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง 43 แฟม

1.1 ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง พบวา ผูมี

สวนเก่ียวของในการจัดการคุณภาพขอมูล สวนใหญ

เปนเพศหญิง (รอยละ 63) อายุตั้งแต 31-40 ป

(ร อยละ 41.3) สถานภาพสมรส (รอยละ 60.9)

จบการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือสูงกวา (รอยละ

89.1) เปนผูปฏิบัติงานเปนตําแหนงสหวิชาชีพ (รอยละ

36.9) มีประสบการณในการทํางานเก่ียวกับขอมูล 43

แ ฟ ม เ ป น ร ะ ย ะ เ ว ล า 1-3 ป ( ร อ ย ล ะ 65.2)

โดยระยะเวลาเฉลี่ย 3 ป (S.D.= 2.39) ต่ําสุด 1 ป

สูงสุด 10 ปไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบงานขอมูล 43

แฟม (รอยละ 84.8) ทราบและตระหนักดีตอของการ

บั น ทึ ก ข อ มู ล ท่ี ถู ก ต อ ง ค ร บ ถ ว น ทั น เ ว ล า

(รอยละ 89.1) เคยไดรับการนิเทศหรือติดตาม (รอยละ

54.3) แ ล ะ เ ค ย ผ า น ก า ร อ บ ร ม ห รื อ ไ ด รั บ ฟ ง

การชี้แจง (รอยละ 65.2)

1.2 ขอมูลดานความรู ดานเจตคติ และดาน

การปฏิบัติตอการจัดการขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง

43 แฟม พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีความรูอยูใน

ระดับปานกลาง (รอยละ 47.83) มีเจตคติอยูในระดับดี

(รอยละ 58.70)และมีการปฏิบัติอยูในระดับดี (รอยละ

67.40)

1.3 ขอมูลดานสภาพปญหาและอุปสรรคใน

การดําเนินงานจากการสัมภาษณกลุมตัวอยาง พบวา

ปญหาดานการบันทึกขอมูล เน่ืองจากโปรแกรมท่ีใชใน

แตละงานมีหลายหนาตางท่ีตองเขาบันทึก ตองใชเวลา

ในการบันทึกมาก จึงทําใหการลงบันทึกขอมูลไมทัน

และมีภาระตองรับผิดชอบในการบันทึกหลายงาน

มีความเขาใจท่ีคลาดเคลื่อนในเงื่อนไขของแตละ

แฟมขอมูล ดานการสงออกขอ มูล พบวาระบบ

เครือขายอินเตอรเน็ตไมเสถียร ทําใหไมสะดวกในการ

ปฏิบัติงาน มีการสงออกขอมูลแคเดือนละคร้ัง จึงไมมี

โอกาสแกไขขอมูลใหถูกตองกอนสงไปยังสวนกลาง

ดานการตรวจสอบขอมูล พบวาโปรแกรมท่ีใชในการ

ประมวลผลตรวจสอบขอมูลเบื้องตน (OPPP2010)

ยังมีขอบกพรองไมสามารถตรวจสอบความผิดพลาด

ไดครบ ดานวัสดุอุปกรณท่ียังไมพอใชกับปริมาณงานท่ี

ตองบันทึกขอมูล และคนไมเพียงพอเน่ืองจากภาระงาน

มาก ดานการควบคุมกํากับและติดตาม พบวายังขาด

การนิเทศติดตามท่ีจริงจังของหัวหนาหนวยงาน ทําใหผู

ปฏิบัติ ไม ใหความรวมมือและไม เห็นความสําคัญ

เทาท่ีควร ขาดแรงจูงใจ ภาระงานมากเหน่ือยลากับการ

ทํางานรวมถึงความไมชัดเจนของนโยบายกระทรวง

สาธารณสุขท่ีมีการเปลี่ยนแปลงบอยในแตละปเก่ียวกับ

แฟมขอมูลท่ีตองการ ทําใหการบันทึกขอมูลไมครบถวน

ไมถูกตอง และสงขอมูลไมทันเวลา

1.4 ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการปฏิบัติการ

จัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง 43 แฟม

พบวา ระดับการศึกษา ประสบการณทํางาน การไดรับ

มอบหมายงาน การไดรับการอบรมชี้แจง มีความสัมพันธ

กับการปฏิบัติการจัดการขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง

43 แฟม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 สวนเพศ

อายุ สถานภาพสมรส และการไดรับนิเทศติดตามพบวาไม

มีความสัมพันธกับการปฏิบัติการจัดการขอมูลตาม

มาตรฐานโครงสราง 43 แฟมดังตาราง 1

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 8: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

76 | วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา

ตาราง 1 ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการปฏิบัติการจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง 43 แฟม

ปจจัยดานบุคคล ระดับการปฏิบัติ

χ

(p-value)

Fisher’ Exact

(p-value) ระดับต่ํา

จํานวน (รอยละ)

ระดับสูง

จํานวน (รอยละ)

เพศ

- ชาย - หญิง

8(47.1)

14(47.8)

9(52.9)

15(52.2)

3.130

(0.077)

อายุ(ป)

- < 36 ป - 36 ปขึ้นไป

12(54.5)

10(41.7)

10(45.5)

14(58.3)

0.087

(0.768)

สถานภาพสมรส

- โสด - สมรส

8(44.4)

14(50.0)

10(56.6)

14(50.0)

2.174

(0.140)

การศึกษา

- อนุปริญญา หรือเทียบเทา - ปริญญาตรี หรือสูงกวา

2(40.0)

20(48.8)

3(60.0)

21(51.2)

28.174

(0.001)*

ประสบการณทํางาน(ป)

- < 3 ป - 3 ปขึ้นไป

16(53.3)

6(37.5)

14(46.7)

10(62.5)

4.261

(0.039)*

การไดรับมอบหมายงาน

- ไดรับมอบหมาย - ไมไดรับมอบหมาย

18(46.2)

4(57.1)

21(53.8)

3(42.9)

22.261

(0.001)*

ไดรับการอบรมช้ีแจง

- เคย - ไมเคย

15(50.0)

7(43.8)

15(50.0)

9(56.2)

0.087

(0.001)*

ไดรับการนิเทศติดตาม

- เคย - ไมเคย

13(52.0)

9(42.9)

12(48.0)

12(57.1)

0.348

(0.555)

* มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ระยะที่ 2 ขั้นดําเนินการไดศึกษากระบวนการพัฒนารูปแบบการจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟม โดยใชกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (PAOR)

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 9: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา | 77

การวางแผน (Planning) 1) ประชุ ม

วางแผนแบบมีสวนรวมในภาพของเครือขาย เพ่ือ

วิเคราะหสถานการณและหาแนวทางแกปญหารวมกัน

2) รวมกันจัดทําเปนแผนปฏิบัติการของเครือขายหนวย

บริการปฐมภูมิ

การปฏิบั ติ (Action) 1) จัดทําคํ าสั่ ง

คณะกรรมการดําเนินงานโดยเครือขายมีสวนรวม

2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการอยางตอเน่ืองในทุกๆ เดือน

3) ผูบริหารกําหนดทิศทางและประกาศนโยบายท่ี

ชัดเจนในการจัดการคุณภาพขอมูล 43 แฟม

การสังเกตการณ (Observation) 1) ทีม

ผูเชี่ยวชาญจะเปนทีมพ่ีเลี้ยงดูแล ใหคําปรึกษา และ

ชวยเหลือในดานตางๆ เชน Hardware, Software,

Peopleware 2) ทีมระดับ CUP รวมนิเทศติดตามผล

การดําเนินงานอยางตอเน่ือง 3) ไดเพ่ิมชองทางการ

ติดตอสื่อสารดานขอมูล 4) Check: ตรวจสอบคุณภาพ

ขอมูลกอนสงสวนกลาง 5) Edit: ดําเนินการแกไขขอมูล

ใหถูกตอง 6) Sent: สงขอมูล HDC จังหวัด และสปสช.

ก า ร ส ะท อ น ก ลั บ ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น

(Reflection) 1) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันถอด

บทเรียนหลังการดําเ นินงาน เ พ่ือสะทอนปญหา

อุปสรรคในแตละกิจกรรม พรอมท้ังรวมหาแนวทาง

แกไขปญหาในภาพรวมของ CUP 2) ทําการคืนขอมูลสู

หนวยบริการทุกแหง 3) กําหนดมาตรการ แนวทาง

และสรางคูมือดําเนินงาน 4) ประกาศนโยบาย การ

ดําเนินงานพัฒนาระบบขอมูล 43 แฟม โดยผูบริหาร

CUP

ระยะที่ 3 ขั้นประเมินผลกระบวนการพัฒนา

รูปแบบการจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟม กอนและหลังดําเนินการพัฒนา

1. เปรียบเทียบดานความรู ดานเจตคติ และ

ดานการปฏิบัติตอการจัดการคุณภาพขอมูล 43 แฟม

กอนและหลังดําเนินการพัฒนา พบวาหลังดําเนินการ

พัฒนาผูมีสวนเก่ียวของในการจัดการคุณภาพขอมูล

สวนใหญมีระดับความรูโดยรวมเพ่ิมขึ้นจากระดับปาน

กลาง (รอยละ 47.8) เปนระดับสูง (รอยละ 97.8)

มีระดับเจตคติโดยรวมเพ่ิมขึ้นอยูในระดับดีโดยกอน

ดําเนินการมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.75 (S.D.=0.49) และ

หลังดําเนินการมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.20 (S.D.=0.38)

มีระดับการปฏิบัติโดยรวมเพ่ิมขึ้นอยูในระดับดีโดยกอน

ดําเนินการมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.28 (S.D.=0.52) และ

หลังดําเนินการมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.54 (S.D.=0.32)

2. เปรียบเทียบคุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟมหลังดําเนินการพัฒนา พบวา

คุณภาพขอมูลเพ่ิมขึ้นกวากอนดําเนินการพัฒนาท้ังดาน

ความถูกตอง ดานความครบถวน และดานความ

ทันเวลา เม่ือพิจารณารายแฟม พบวา สวนใหญมีความ

ถูกตอง คิดเปนรอยละ 100.00 และแฟมท่ีมีความ

ถูกตองต่ํา ไดแก แฟม CHRONIC (ผูปวยโรคเร้ือรัง)

และแฟม DIAGNOSIS_OPD (การวินิจฉัยโรคของ

ผูปวยนอก) คิดเปนรอยละ 99.17 ดานความครบถวน

ไดแก แฟม DRUG_OPD (การจายยาสําหรับผูปวย

นอก) และแฟม PROCEDURE_OPD (หัตถการของ

ผูปวยนอก) สวนดานความทันเวลา สามารถสงได

ทันเวลาทุกแฟม คิดเปนรอยละ 100.00

3. ประเมินความพึงพอใจของผูรวมวิจัย

พบวาผูมีสวนเก่ียวของมีความพึงพอใจตอกระบวนการ

ดําเนินงานจัดการคุณภาพขอมูล 43 แฟม คิดเปน

รอยละ 100.00 (Mean=4.71, S.D.=0.22) โดยสวน

ใหญ มีความพึงพอใจมากท่ีสุดในขั้น เตรียมการ

(Mean=4.76,S.D.=0.26) รองลงมาคือขั้นดําเนินการ

(Mean= 4.70, S.D. = 0.35) และขั้นประเมินผล

(Mean = 4.66, S.D.=0.35) ตามลําดับ ดังตาราง 2

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 10: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

78 | วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา

ตาราง 2 ระดับความพึงพอใจโดยรวมของผูรวมวิจัยตอกระบวนการดําเนินงานจัดการคุณภาพขอมูลตาม

มาตรฐานโครงสราง 43 แฟม ในเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ อําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด

ระดับความพึงพอใจ จํานวน

(n = 46)

รอยละ

(%)

ระดับนอย (1.00-2.33)

ระดับปานกลาง (2.34-3.66)

ระดับมาก (3.67-5.00)

Mean = 4.71, S.D. = 0.22, Max = 5.00, Min = 4.13

0

0

46

0.00

0.00

100.00

4. สรุปผลการศึกษากระบวนการดําเนินการพัฒนาซ่ึงไดแบงขั้นตอนในการดําเนินการวิจัยเปน 3 ระยะ

คือ ขั้นศึกษาสภาพปญหาในการดําเนินงาน ขั้นการปฏิบัติการตามรูปแบบท่ีกําหนด และขั้นประเมินผลรูปแบบการ

พัฒนาการจัดการคุณภาพขอมูล 43 แฟม สามารถนํามาสรางเปนรูปแบบแนวคิดท่ีเหมาะสมในการพัฒนาคือ

CHA_TU Model ซ่ึงไดจากการรวบรวมขอมูลระหวางท่ีทําการศึกษาในทุกกิจกรรม ผูวิจัยและทีมไดทําการ

สัมภาษณเชิงลึก และจากการสังเกตการณ ทําใหสามารถสรุปรายละเอียดไดดังตอไปน้ี

C คือ Channel and Check หมายถึง มีชองทางการสื่อสารในการสะทอนขอมูลท่ีงายและ

สะดวก มีการตรวจสอบคุณภาพขอมูลเปนประจําอยางตอเน่ือง

H คือ Holistic and Handle หมายถึง มีการจัดการแบบองครวมโดยผูมีสวนเก่ียวของท้ังหมด

ชวยกันวางแผนนําไปสูการปฏิบัติ และรวมกันพัฒนาในทุกดาน

A คือ Analysis and Available หมายถึง ทําการวิเคราะหขอมูลท่ีมีคุณภาพใหสามารถ

นําไปใชประโยชนไดจริง เพ่ือใชในการวางแผนใหบริการและดูแลสุขภาพประชาชน

T คือ Teamwork and Training หมายถึง การทํางานเปนทีมเครือขายรวมกันใน

การพัฒนา และทําการฝกอบรมใหมีความรู เกิดทักษะ และสามารถนําไปปฏิบัติไดถูกตอง

U คือ Unity of Primary Care Unit หมายถึง ความเปนอันหน่ึงอันเดียวกันความกลมกลืน

สามัคคีกันของเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ

CHA_TU Model หมายถึง แนวคิดการมีสวนรวมของผูมีสวนเก่ียวของในการวางแผนแกปญหา

และดําเนินการตามกระบวนการจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง 43 แฟม ของเครือขายหนวยบริการ

ปฐมภูมิอําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด โดยมีเปาหมายคือ คุณภาพขอมูลท่ีถูกตอง ครบถวน และทันเวลา

ดังภาพประกอบ 1

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 11: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา | 79

อภิปรายผล ผลการศึกษาการพัฒนารูปแบบการจัดการ

คุณภาพขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง 43 แฟมใน

เครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ อําเภอจตุรพักตรพิมาน

จังหวัดรอยเอ็ดสามารถนํามาเปนขออภิปรายท่ีมี

สาระสําคัญ ดังน้ี

1. ความรูดานการจัดการขอมูลตาม

มาตรฐานโครงสราง 43 แฟม ผลการศึกษาพบวา สวน

ใหญมีความรูอยูในระดับปานกลาง (รอยละ 47.8) โดย

ความรูดานการบันทึกและการจัดเก็บขอมูลอยูในระดับ

ต่ํา (รอยละ 39.1) แสดงวาเจาหนาท่ีท่ีเ ก่ียวของได

ดําเนินการจัดเก็บและบันทึกขอมูลไดในระดับหน่ึงแต

ไมเปนไปตามเปาหมายท่ีกําหนดซ่ึงมีเจาหนาเพียง

บางสวนเทาน้ันท่ีเคยผานการอบรม (รอยละ 65.2) เม่ือ

วิเคราะหความสัมพันธพบวาการอบรมมีความสัมพันธ

กับความรู และการปฏิบัติตอการจัดการคุณภาพขอมูล

ตามมาตรฐานแฟมโครงสราง 43 แฟม อยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติ (p-value=0.002) ซ่ึ งสอดคลอง กับผล

การศึกษาของ วิทยา พลาอาด, เพชรนอย สิงหชางชัย

และสาวิตรี ลิ้มชัยอรุณเรือง(2554) ท่ีไดศึกษาปจจัยท่ี

พยากรณคุณภาพขอมูลในแฟมสุขภาพครอบครัวของ

หนวยบริการปฐมภูมิ จังหวัดสตูล พบวา การไดรับการ

อบรมเปนปจจัยท่ีพยากรณคุณภาพขอมูลในแฟม

สุขภาพครอบครัวของหนวยบริการปฐมภูมิ จังหวัดสตูล

และสอดคลองกับผลการศึกษาของ สุจรรยา ท่ังทอง

(2556) ท่ีไดศึกษาปจจัยท่ีมีผลตอการพัฒนาคุณภาพ

ขอมูลดานสุขภาพ (21 แฟม) ของเจาหนาท่ีสาธารณสุข

ในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลจังหวัดขอนแกน

พบวา ปจจัยท่ีมีผลตอการพัฒนาคุณภาพขอมูลดาน

สุขภาพ (21 แฟม) ไดแกการฝกอบรมระดับเครือขาย

หนวยบริการ (p-value=0.002) การท่ีผลการวิจัย

ปรากฏเชนน้ี อาจเน่ืองมาจากการไดรับการฝกอบรม

CHA_TU Model

C : Channel and Check

H :Holistic and

Handle

A : Analysis and

Available

T : Teamwork

and Training

U :Unity of

Primary care unitวทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 12: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

80 | วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา

เปนการพัฒนาความรูและทักษะของผูปฏิบัติงาน

ซ่ึงการจัดอบรมภายในเครือขายบริการสุขภาพตองจัด

หลักสูตรไดตรงกับปญหาและความตองการของ

เจาหนาท่ีจึงจะสงผลตอคุณภาพขอมูลสุขภาพ

2. เจตคติตอการจัดการขอมูลตาม

มาตรฐานโครงสราง 43 แฟม ผลการศึกษา พบวา สวน

ใหญมีเจตคติอยูในระดับดี (รอยละ 58.7) รองลงมาคือ

ระดับปานกลาง (รอยละ 41.3) ซ่ึงจะพบวาในการ

ดําเนินงานตามนโยบายสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

รอยเอ็ด และกระทรวงสาธารณสุข ตั้งแตป 2550

จนถึงปจจุบันไดใหความสําคัญกับระบบขอมูลดาน

สุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดทําขอมูล

ใหมีคุณภาพท้ังดานความถูกตอง ครบถวน และทันการณ

การเชื่อมโยงเครือขายเพ่ือการใชประโยชนขอมูล

รวมกัน ลดความซํ้าซอนในการจัดทํารายงานของหนวย

บริการ และการไดรับการสนับสนุนงบประมาณจาก

สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ จึงเปนผลรวม

ของกระบวนการท่ีกอใหเกิดการจูงใจ อารมณ และการ

ยอมรับของเจาหนาท่ีท่ีเก่ียวของในการจัดการคุณภาพ

ขอมูล 43 แฟม ใหมีคุณภาพและนาเชื่อถือ ดังน้ัน ใน

การแสดงความคิดเห็นดานเจตคติจึงอยูในระดับดี

3. การปฏิบัติการจัดการขอมูลตาม

มาตรฐานโครงสราง 43 แฟม ผลการศึกษาพบวา สวน

ใหญมีการปฏิบัติอยูในระดับดี (รอยละ 67.4) รองลงมา

คือ ระดับปานกลาง (รอยละ 30.4) ซ่ึงจะพบวาในการ

ดําเนินงานการปฏิบัติการจัดการคุณภาพขอมูล 43

แฟม มีปจจัยหลายดานท่ีเก่ียวของไมวาจะเปนดาน

โปรแกรม (Soft Ware) พบวาโปรแกรมบันทึกขอมูลมี

ความซํ้าซอน การสงออกขอมูลใชเวลานาน และยังขาด

คูมือการใช ดานผูใชงาน (People Ware) พบวา

เ จ า หน า ท่ี ยั ง ข าดค วา ม รู แ ละ ทักษ ะในกา ร ใ ช

คอมพิวเตอร ชื่นจิต หลายลอย (2551) ถึงแมวาผล

การศึกษาจะมีการปฏิบัติอยูในระดับดีก็ตาม แตไมได

หมายความวาจะปฏิบัติไดถูกตองตามเงื่อนไขของแตละ

แฟมขอมูล ซ่ึงมีรายละเอียดและเงื่อนไขตางๆ มาก การ

ท่ีผลการวิจัยปรากฏเชนน้ีอาจเน่ืองมาจากเจาหนาท่ี

ตองปฏิบัติไปตามหนาท่ี หรือตามนโยบายท่ีกําหนด

เทาน้ัน แตยังขาดความตระหนักในดานคุณภาพของ

ขอมูล ขาดความรูความเขาใจท่ีชัดเจนเพราะการ

ปฏิบัติการจัดการคุณภาพขอมูล 43 แฟม มีรายละเอียด

ท่ีซับซอนในแตละแฟมขอมูล ตองมีความรูรอบดานถึง

จะสามารถดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และ

สงผลใหขอมูลมีคุณภาพและนาเชื่อถือ

4 . ป จ จัย ท่ี มีค วามสัม พันธ กับการ

ปฏิบัติ การจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟม ผลการศึกษาพบวา ระดับ

การศึกษา ประสบการณทํางาน การไดรับมอบหมาย

งาน การได รับการอบรมชี้แจงและระดับความรู มี

ความสัมพันธ กับการจัดการขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ

0.05 (p-value=0.001, 0.039, 0.002) สวนเพศ อายุ

สถานภาพสมรส และการไดรับนิเทศติดตาม พบวา

ไม มีความสัมพันธ กับจัดการขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟมซ่ึงสอดคลองกับผลการศึกษาของ

ชื่นจิต หลายลอย (2551) ไดศึกษาความถูกตองของ

ขอมูล 18 แฟม ของสถานีอนามัย จังหวัดชัยนาท

พบวา การมอบหมายหนาท่ีมีความสัมพันธกับความ

ถูกตองของขอมูล 18 แฟมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี

ระดับ 0.05 (p-value=0.027) การท่ีผลการวิจัย

ปรากฏเชนน้ี อาจเ น่ืองมาจากการ ท่ีผู ท่ี ได รับ

มอบหมายหนาท่ีก็ตองปฏิบัติงานตามท่ีไดรับมอบหมาย

จึงมีความจําเปนตองรับผิดชอบหนาท่ีตามท่ีไดรับ

มอบหมายใหดี เพ่ือใหเกิดคุณภาพของการปฏิบัติงาน

และจะตองศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมดวยตนเองเสมอจึง

ส งผลต อคุณภาพขอ มูล ระดับการศึกษา และ

ประสบการณทํางาน มีความสัมพันธกับการจัดการ

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 13: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา | 81

ขอมูลตามมาตรฐานโครงสราง 43 แฟม อยางมี

นัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 (p-value=0.001,

0.039) ซ่ึงแตกตางจากผลการศึกษาของ ชื่นจิต

หล ายลอย (2551) พบว า ระดับการศึกษาและ

ประสบการณทํางานไมมีความสัมพันธกับระดับความ

ถูกตองของขอมูล 18 แฟม การท่ีผลการวิจัยปรากฏ

เชนน้ี อาจเน่ืองมาจากการจัดการคุณภาพขอมูลตาม

มาตรฐานโครงสราง 43 แฟม เปนนโยบายท่ีกระทรวง

สาธารณสุขกําหนดใหทุกหนวยบริการตองจัดเก็บและ

สงออกขอมูลใหสวนกลางเพ่ือนําไปประมวลผล และใช

ประโยชนขอมูลรวมกันในระดับประเทศ ซ่ึงยังเปนเร่ือง

ใหมท่ีใหดําเนินการอยางจริงจังเม่ือป 2557 ท่ีผานมา

ในการดําเนินงานมีความยุงยากและซับซอนในระบบ

ฐานขอมูล อีกท้ังในดานการบันทึกขอมูล ดานการ

ตรวจสอบขอมูล และการส งออกขอมูล รวมถึ ง

โปรแกรมการใช งานท่ี ใช ในการบันทึก ท่ีมีความ

หลากหลายทางโครงสราง ดังน้ัน ระดับการศึกษายอม

เปนปจจัยสําคัญในการพัฒนาบุคคลในการเรียนรูสิ่ง

ใหมและกาวทันเทคโนโลยียุคขอมูลขาวสารไรพรมแดน

อีกท้ังประสบการณทํางาน ยอมสงผลใหการปฏิบัติงาน

ออกมาดี เน่ืองจากคนท่ีมีประสบการณมากยอมมี

ความรูความเขาใจในงานมากกวาคนไมมีประสบการณ

หรือมีประสบการณนอย สําหรับการไดรับการอบรม

ชี้แจงและระดับความรู มีความสัมพันธ กับการ

ปฏิบัติ การจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟมสอดคลองกับผลการศึกษาของ

สุจรรยา ท่ังทอง (2556) ท่ีไดศึกษาปจจัยท่ีมีผลตอการ

พัฒนาคุณภาพขอมูลดานสุขภาพ (21 แฟม) ของ

เจาหนาท่ีสาธารณสุขในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ

ตําบลจังหวัดขอนแกน พบวา ปจจัยท่ีมีผลตอการ

พัฒนาคุณภาพขอมูลดานสุขภาพ (21 แฟม) ไดแก

ก า ร ฝ ก อ บ ร ม ร ะ ดั บ เ ค รื อ ข า ย ห น ว ย บ ริ ก า ร

(p-value=0.002) การท่ีผลการวิจัยปรากฏเชนน้ีอาจ

เน่ืองมาจากการไดรับการฝกอบรมเปนการเพ่ิมพูน

ความรูและพัฒนาทักษะของผูปฏิบัติงาน ซ่ึงระดับ

ความรู ท่ีดียอมสงผลใหการปฏิบัติงานไดดีและมี

คุณภาพ ดังน้ันระดับความรูจึงมีความสัมพันธกับการ

ปฏิบัติ การจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟม

5. สภาพปญหาและอุปสรรคในการ

ดําเนินงาน พบวา เจาหนาท่ีขาดความรูความเขาใจใน

การบันทึกและการจัดเก็บขอมูล 43 แฟม การบันทึก

ขอ มูลไม เปนปจ จุบันทํา ใหส งขอ มูลไม ทันเวลา

ไมมีแนวทางในการดําเ นินงานท่ีชัดเจนและไมได

ตรวจสอบขอมูลกอนสง รวมถึงอุปกรณคอมพิวเตอรไม

ทันสมัยและไมเพียงพอ ซ่ึงสอดคลองกับผลการศึกษา

ของ วีระวุธ เพ็งชัย (2555) ซ่ึงไดศึกษาการจัดการ

คุณภาพฐานขอมูลการใหบริการวัคซีนตามระบบ

ฐานขอมูล 18 แฟมในสถานีอนามัยอําเภอขุนหาญ

จังหวัดศรีสะเกษ พบวา เจาหนา ท่ีสาธารณสุข ท่ี

ปฏิบัติงานไมสามารถดําเ นินการไดอยางถูกตอง

เน่ืองจากไมมีแนวทางในการดําเนินงานอยางเปนลําดับ

การบันทึกขอมูลไมเปนปจจุบัน ไมไดตรวจสอบและ

กําหนดรหัสสรางเสริมภูมิคุมกันโรคท่ีถูกตองไวใน

แฟมขอมูล ไมไดตรวจสอบรุนหรือปรับปรุงโครงสราง

ฐานขอมูลตามท่ีกําหนดและเคร่ืองคอมพิวเตอรไม

พรอมสําหรับการใชงาน การท่ีผลการวิจัยปรากฏเชนน้ี

อาจเน่ืองมาจาก ความไมชัดเจนของนโยบายกระทรวง

ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงบอยในแตละปเก่ียวกับขอมูลท่ี

ตองการ ทําใหการบันทึกขอมูลไมครบถวนและไม

ถูกตอง รวมถึงขาดการควบคุมกํากับ การนิเทศติด

ตามท่ีจริงจังของหัวหนาหนวยงาน ทําใหผูปฏิบัติไมให

ความรวมมือและไมเห็นความสําคัญเทาท่ีควร

6. กระบวนการจัดการคุณภาพขอมูล

ตามมาตรฐานแฟมโครงสราง 43 แฟมในเครือขาย

หนวยบริการปฐมภูมิ อําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัด

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 14: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

82 | วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา

รอยเอ็ด โดยการใชเทคนิคกระบวนการวางแผนอยางมี

สวนรวม (A-I-C) รวมกับแนวคิดของ Stephen

Kemmis & McTaggart ซ่ึงประกอบดวยการวางแผน

(Planning) การปฏิบัติ (Action) การสัง เกต

(Observation) และการสะทอนผล (Reflection) โดย

การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ พบวา ผูมีสวนเก่ียวของมี

ความรู เจตคติ และมีการปฏิบัติเพ่ิมขึ้นกวากอนการ

พัฒนา รวมถึงคุณภาพขอมูลดีขึ้นท้ังดานความถูกตอง

ความครบถวนและความทันเวลา สอดคลองกับผล

การศึกษาของ อรรถพงษ ดีเสมอ (2554) ไดศึกษาการ

พัฒนารูปแบบการจัดการคุณภาพขอมูล การลงทะเบียน

ผูมีสิทธิหลักประกันสุขภาพถวนหนาของหนวยทะเบียน

ในจังหวัดสุรินทร พบวา มีการดําเนินงานลงทะเบียนผู

มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถวนหนาโดยรวมอยูในระดับ

มากและเพ่ิมขึ้น มีความถูกตอง และครอบคลุมการมี

หลักประกันสุขภาพถวนหนา ซ่ึง เปนผลจากการ

ลงทะเบียนเพ่ิมขึ้นมากกวากอนการพัฒนาอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

7. ปจจัยแหงความสําเ ร็จของการพัฒนา

รูปแบบการจัดการคุณภาพขอมูลตามมาตรฐาน

โครงสราง 43 แฟมในเครือขายหนวยบริการปฐมภูมิ

อําเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดรอยเอ็ด คือ การมีสวน

ร วมขอ งผู มี ส วน เ ก่ี ย วข อ ง ทุกภา คส วน การ มี

คณะกรรมการจัดการคุณภาพขอมูลระดับเครือขาย

และการกําหนดบทบาทของคณะกรรมการท่ีชัดเจน

ทําใหการดําเนินงานเปนไปดวยความรวดเร็วและมี

ประสิทธิภาพการทํางานเปนทีม การไดรับความรวมมือ

และการมีสวนรวมในทุกกิจกรรม การดําเนินงานจะทํา

ใหเกิดความตระหนักและเห็นความสําคัญของคุณภาพ

ขอมูลท่ีดี จะสงผลใหเกิดการนําขอมูลไปใชประโยชน

การติดตามนิเทศงานในระหวางการดําเนินงานจะชวย

ทําใหรับรูปญหาและสามารถใหคําแนะนําในการแกไข

ปญหาไดทันทวงที ผูปฏิบัติงานมีกําลังใจท่ีจะทํางาน

ตอเน่ืองจนบรรลุผลสําเร็จ รวมถึงการจัดอบรมเชิง

ปฏิบัติการในระดับเครือขายอยางตอเน่ือง จะทําใหผู

ปฏิบัติมีความรู เกิดทักษะมีความม่ันใจในการทํางาน

และสามารถนําไปปฏิบัติไดอยางถูกตอง รวมถึงการมี

ชองทางการติดตอสื่อสารในการสะทอนขอมูลท่ีงาย

และสะดวก เปนการส ง เสริมและสนับสนุนการ

ปฏิบัติงาน จะเปนการกระตุนใหมีการตรวจสอบ

คุณภาพขอมูลเปนประจําอยางตอเน่ือง

กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธฉบับน้ีสําเร็จสมบูรณไดดวยความ

ก รุ ณ า แ ล ะ ค ว า ม ช ว ย เ ห ลื อ อ ย า ง สู ง ยิ่ ง จ า ก

ผศ.ดร.นิรุวรรณ เทรินโบล อาจารยท่ีปรึกษาหลัก และ

ดร.เสฐียรพงษ ศิวินา อาจารยท่ีปรึกษารวมรวมท้ัง

ผู เชี่ยวชาญในการตรวจสอบเคร่ืองมือในการวิจัย

ขอขอบคุณนายแพทยสุพัชรศักย พันธุศิลา ผอ.รพ.จตุร

พักตรพิมาน ท่ีใหการสนับสนุนการวิจัยขอขอบคุณ

เจาหนาท่ีรพ.สต.ทุกแหง ท่ีใหความรวมมือในการทํา

วิจัยคร้ังน้ีสําเร็จลุลวงดวยดี

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา

Page 15: การพัฒนารูปแบบweb.bcnpy.ac.th/journal/images/file/pdf/year18no2/7.pdf · data quality management. Moreover, data quality (accuracy, completeness, and timeliness)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….….……

วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา | 83

บทคัดยอ

เอกสารอางอิง

ชื่นจิต หรายลอย. (2551). ความถูกตองของขอมูล 18 แฟม ของสถานีอนามัย จังหวัดชัยนาท.

วิทยานิพนธปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

โรงพยาบาลจตุรพักตรพิมาน. (2557). รายงานผลการตรวจสอบขอมูล 43 แฟมเบื้องตน. สรุปรายงาน

การประชุมคณะกรรมการสารสนทศ (เอกสารรายงาน).รอยเอ็ด: โรงพยาบาลจตุรพักตรพิมาน.

วิทยา พลาอาด,เพชรนอย สิงหชางชัย และสาวิตรี ล้ิมชัยอรุณเรือง. (2554). ปจจัยที่พยากรณคุณภาพขอมูลในแฟมสุขภาพครอบครัวของหนวยบริการปฐมภูมิจังหวัดสตูล.วารสารพยาบาลสาธารณสุข, 25(3), 18-29.

วีระวุธ เพ็งชัย. (2555). การจัดการคุณภาพฐานขอมูลการใหบริการวัคซีนตามระบบฐานขอมูล 18

แฟมในสถานีอนามัยอําเภอขุนหาญจังหวัดศรีสะเกษ.วิทยานิพนธปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหา

บัณฑิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศศิธร ไชยสัจ. (2554).การจัดการคุณภาพฐานขอมูลการจายชดเชยคาบริการผูปวยในโรงพยาบาลหวย

ทับทันจังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม.

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดรอยเอ็ด. (2557). เอกสารประกอบการประชุมแนวทางการบันทึกและสงออก

ขอมูล43 แฟม (เอกสารรายงาน).รอยเอ็ด: สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดรอยเอ็ด.

สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ. (2556). คูมือการดําเนินงานพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ.ขอนแกน:

โรงพิมพคลังนานาวิทยา.

. (2558). แนวทางการดําเนินงานระบบขอมูลการใหบริการผูปวยนอกบริการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรค

รายบุคคล (OP/PP Individual data) ป 2558.นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.

สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข. (2557). คูมือการปฏิบัติงานการจัดเก็บและจัดสง

ขอมูลตามโครงสรางมาตรฐานขอมูลดานสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข. นนทบุรี: กระทรวง

สาธารณสุข.

สุจรรยา ทั่งทอง. (2556). ปจจัยที่มีผลตอการพัฒนาคุณภาพขอมูลดานสุขภาพ (21 แฟม)ของเจาหนาที่ สาธารณสุขในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลจังหวัดขอนแกน.วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแกน, 1(3), 37-47. อรรถพงษ ดีเสมอ. (2554). การพัฒนารูปแบบการจัดการคุณภาพขอมูลการลงทะเบียนผูมีสิทธิหลักประกัน

สุขภาพถวนหนาของหนวยทะเบียนในจังหวัดสุรินทร.วิทยานิพนธปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหา

บัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Kemmis, S. &McTaggart, R. (1988).The Action Research Planner.3rd ed. Victoria: Deakin University Press.

วทิยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา