การจัดอบรมเชิงวิชาการ power system harmonic ......

2
ศูนย์เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะด้านเทคโนโลยีไฟฟ้ากำลัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดโดย ใบสมัครเขาอบรมเชิงวิชาการ Power System Harmonic Analysis and Case Studies วันพฤหัสบดี - ศุกร์ที่ 1 - 2 เมษายน 2553 ห้องสุโขทัย โรงแรมนารายณ์ Power System Harmonic Analysis and Case Studies การจัดอบรมเชิงวิชาการ 1).ชื่อ-สกุล ...................................................................... 2).ชื่อ-สกุล ...................................................................... หน่วยงาน ...................................................................... ที่อยู...................... ตำบล/แขวง ..................................... อำเภอ/เขต ................ จังหวัด ............... รหัสไปรษณีย์ ......... โทรศัพท์ ..................................... โทรสาร ........................ E-Mail ............................................................................ ผู้ติดต่อประสานงาน........................................................................ คาลงทะเบียน ท่านละ 4,500 บาท การชำระเงิน เงินสด / เช็ค สั่งจ่าย “ศูนย์เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะด้านเทคโนโลยี ไฟฟ้ากำลัง” หรือ “Center of Excellence in Electrical Power Technology” โอนเงิน เข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด สาขาสภากาชาดไทย เลขที่บัญชี 045-2-50146-6 (กรุณา Fax ใบฝากธนาคารมาที่หมายเลข 02-218-6544) **หมายเหตุ ผู้เข้าร่วมอบรมต้องนำเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ Notebook มาเองในวันสัมมนา อัตรานี้รวมค่าอาหาร, ของว่าง และเอกสารประกอบการอบรม (ไม่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม และไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม คุณดวงใจ ขันสังข์ และคุณเพชรรัตน์ ยงยุทธชัยกุล ศูนย์เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะด้านเทคโนโลยีไฟฟ้ากำลัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทร 0 2218-6542-3, 0 2218-6483 แฟ็กซ์ 0 2218-6544 e-mail : [email protected] หรือ [email protected] 10:30-10:45 พักรับประทานอาหารว่าง ชา-กาแฟ 10:45-12:00 กรณีศึกษาต่างๆจาก ABB - กรณีศึกษาต่างๆ - บทสรุปจากกรณีศึกษาต่างๆ 12:00-13:00 รับประทานอาหารกลางวัน 13:00-14:30 ขั้นตอนการวิเคราะห์ฮาร์มอนิกและ ตัวอย่างการวิเคราะห์จาก PEA - ขั้นตอนการวิเคราะห์ฮาร์มอนิก - ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหาฮาร์มอนิก 14:30-14:45 พักรับประทานอาหารว่าง ชา-กาแฟ 14:45-16:00 กรณีศึกษาต่างๆจาก PEA - กรณีศึกษาต่างๆ - บทสรุปจากกรณีศึกษาต่างๆ 16:00-16:30 ปัญหาและคำตอบ

Upload: others

Post on 29-Jun-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การจัดอบรมเชิงวิชาการ Power System Harmonic ... final.pdf · 2010-02-11 · การจัดอบรมเชิงวิชาการ

ศูนย์เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะด้านเทคโนโลยีไฟฟ้ากำลัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จัดโดย

ใบสมัครเข้าอบรมเชิงวิชาการ Power System Harmonic Analysis

and Case Studies

วนัพฤหสับด ี- ศกุรท์ี ่1 - 2 เมษายน 2553

ณ ห้องสุโขทัย โรงแรมนารายณ์

Power System Harmonic Analysis and

Case Studies

การจัดอบรมเชิงวิชาการ

1).ชื่อ-สกุล......................................................................

2).ชื่อ-สกุล......................................................................

หน่วยงาน......................................................................

ที่อยู่ . . ....................ตำบล/แขวง.....................................

อำเภอ/เขต................จังหวัด...............รหัสไปรษณีย์.........

โทรศัพท์.....................................โทรสาร........................

E-Mail............................................................................

ผู้ติดต่อประสานงาน........................................................................

ค่าลงทะเบียน

ท่านละ 4,500 บาท

การชำระเงิน

เงนิสด / เชค็ สัง่จา่ย “ศนูยเ์ชีย่วชาญพเิศษเฉพาะดา้นเทคโนโลย ี

ไฟฟ้ากำลัง” หรือ “Center of Excellence in

Electrical Power Technology”

โอนเงิน เข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด

สาขาสภากาชาดไทย เลขทีบ่ญัช ี 045-2-50146-6

(กรุณา Fax ใบฝากธนาคารมาที่หมายเลข 02-218-6544)

**หมายเหต ุ ผูเ้ขา้รว่มอบรมตอ้งนำเครือ่งคอมพวิเตอรแ์บบ Notebook

มาเองในวันสัมมนา

อัตรานี้รวมค่าอาหาร, ของว่าง และเอกสารประกอบการอบรม

(ไม่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม และไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย)

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

คุณดวงใจ ขันสังข์ และคุณเพชรรัตน์ ยงยุทธชัยกุล ศูนย์เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะด้านเทคโนโลยีไฟฟ้ากำลัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โทร 0 2218-6542-3, 0 2218-6483 แฟก็ซ ์0 2218-6544 e-mail : [email protected] หรือ

[email protected]

10:30-10:45 พักรับประทานอาหารว่าง ชา-กาแฟ

10:45-12:00 กรณีศึกษาต่างๆจาก ABB

- กรณีศึกษาต่างๆ

- บทสรุปจากกรณีศึกษาต่างๆ

12:00-13:00 รับประทานอาหารกลางวัน

13:00-14:30 ขั้นตอนการวิเคราะห์ฮาร์มอนิกและ

ตัวอย่างการวิเคราะห์จาก PEA

- ขั้นตอนการวิเคราะห์ฮาร์มอนิก

- ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหาฮาร์มอนิก

14:30-14:45 พักรับประทานอาหารว่าง ชา-กาแฟ

14:45-16:00 กรณีศึกษาต่างๆจาก PEA

- กรณีศึกษาต่างๆ

- บทสรุปจากกรณีศึกษาต่างๆ

16:00-16:30 ปัญหาและคำตอบ

Page 2: การจัดอบรมเชิงวิชาการ Power System Harmonic ... final.pdf · 2010-02-11 · การจัดอบรมเชิงวิชาการ

การจัดอบรมเชิงวิชาการ

Power System Harmonic Analysis and Case Studies

วันพฤหัสบดี – ศุกร์ที่ 1 – 2 เมษายน 2553 ณ ห้องสุโขทัย โรงแรมนารายณ์

บทนำ

ปัจจุบันการใช้งานของโหลดที่ไม่เป็นเชิงเส้น (Nonlinear loads) เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้อิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power electronics) ได้มีปริมาณเพิ่มขึ้นและเป็นที่แพร่หลายมากขึ้น เนื่องจากโหลดที่ ไม่เป็นเชิงเส้นเหล่านี้สามารถช่วยเพิ่มความสามารถและประสทิธภิาพในการผลติไดม้ากขึน้ แตก่ระนัน้กต็ามโหลดเหล่านี้สามารถสร้างมลพิษต่อระบบไฟฟ้ากำลังที่เรียกว่า “ฮาร์มอนิก (Harmonics)” ได้ ดังนั้น ฮาร์มอนิกจึงเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ และมีความจำเป็นที่ต้องเอาใจใส่เป็นอย่างยิ่ง ปัญหาหลักของฮาร์มอนิก ได้แก่ หม้อแปลงไฟฟ้าที่ร้อนมากขึน้และมปีระสทิธภิาพลดลง วงจรควบคมุมอเตอรท์ำงานไมป่กต ิ การเกิดเรโซแนนซ์ ในระบบไฟฟ้าทำให้ฟิวส์ของตัวเก็บประจุระเบิด และ กระแสนิวทรัลในอาคารสูงขึ้น เป็นต้น

การที่จะเข้าใจคุณลักษณะและผลกระทบของโหลดที่ไม่เป็นเชงิเสน้เหลา่นี้ใหด้ยีิง่ขึน้ จำเปน็ตอ้งมแีบบจำลองทีถ่กูตอ้ง และเชื่อถือได้ของแหล่งกำเนิดฮาร์มอนิก และอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ในระบบไฟฟา้กำลงั ดงันัน้แบบจำลองและการจำลองทางฮารม์อนกิ (Harmonic Modeling and Simulation) จึงเป็นเรื่องที่สำคัญสำหรับการศึกษาฮาร์มอนิกในระบบไฟฟ้ากำลัง และการจำลองทางฮาร์มอนิกโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ก็มีส่วนสำคัญที่จะช่วยให้การวิเคราะห์ฮาร์มอนิกสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น

การอบรมเชิงวิชาการนี้จะให้ความรู้แก่ผู้เข้าอบรมทางด้านการจำลองทางฮาร์มอนิก โปรแกรมวิเคราะห์ฮาร์มอนิก และกรณีศึกษาต่างๆ โดยการอบรมแบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ 1) การทบทวนแบบจำลองทางฮาร์มอนิกต่างๆ การวิเคราะห์ฮาร์มอนิก และการตรวจวัดฮาร์มอนิก และ 2) กรณีศึกษาต่างๆ ของปัญหาทางด้านฮาร์มอนิกที่เกิดขึ้นจริงของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) และบริษัท ABB LIMITED

วัตถุประสงค์

1. เพื่อเสริมความรู้เรื่องแบบจำลอง การจำลองทางฮาร์มอนิกโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และ การตรวจวัดฮาร์มอนิก 2. เพื่อให้มีประสบการณ์ ในการใช้โปรแกรมวิเคราะห์ฮาร์มอนิก และได้ความรู้จากกรณีศึกษาจริง ซึ่งจะสามารถนำมาประยุกต์ ใช้แก้ปัญหาทางด้านฮาร์มอนิกของผู้ เข้าอบรมได้

วิทยากร

1. ผศ.ดร.ธวัชชัย เตชัสอนันต์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. ไตรภพ เหลืองรัตนเจริญ และ ดุสิต เลิศสวัสดิ์วิชา Power Products Division บริษัท ABB LIMITED

3. ดร.จักรเพชร มัทราช หัวหน้าแผนกวิจัยคุณภาพไฟฟ้าอุตสาหกรรม กองวิจัย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.)

วันเวลา และสถานที่

วันพฤหัสบดี – ศุกร์ที่ 1 – 2 เมษายน 2553

ณ ห้องสุโขทัย โรงแรมนารายณ์

กำหนดการ

วันพฤหัสบดีที่ 1 เมษายน 2553

8:00-8:30 ลงทะเบียน

8:30-10:00 การจำลองทางฮาร์มอนิก

- แบบจำลองทางฮาร์มอนิกต่างๆ

ของแหล่งกำเนิดฮาร์มอนิก และ

อุปกรณ์ ในระบบไฟฟ้า

10:00-10:15 พักรับประทานอาหารว่าง ชา-กาแฟ

10:15-12:00 วิธีการวิเคราะห์ฮาร์มอนิก

- การวิเคราะห์ฮาร์มอนิกโดยวิธีโด

เมนทางเวลาและความถี่

12:00-13:00 รับประทานอาหารกลางวัน

13:00-14:30 การตรวจวัดฮาร์มอนิกและโปรแกรม

วิเคราะห์ฮาร์มอนิก

- วัตถุประสงค์ ในการตรวจวัด และ

การตีความผลการตรวจวัด

- โปรแกรมวิเคราะห์ฮาร์มอนิกต่างๆ

14:30-14:45 พักรับประทานอาหารว่าง ชา-กาแฟ

14:45-16:30 การใช้โปรแกรมวิเคราะห์ฮาร์มอนิก

- การใช้โปรแกรมวิเคราะห์ฮาร์มอนิก

- กรณีศึกษา

วันศุกร์ที่ 2 เมษายน 2553

9:00-10:30 ขั้นตอนการวิเคราะห์ฮาร์มอนิกและ

ตัวอย่างการวิเคราะห์จาก ABB

- ขั้นตอนการวิเคราะห์ฮาร์มอนิก

- ตวัอยา่งการวเิคราะหป์ญัหาฮารม์อนกิ