งานศึกษาความเหมาะสม ผลกระทบ...

4
กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม งานศึกษาความเหมาะสม ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในขั้นรายละเอียด (EIA) และสารวจออกแบบรายละเอียด โครงการถนนต่อเชื่อมถนนนครอินทร์-ศาลายา สานักก่อสร้างสะพาน กรมทางหลวงชนบท ได้ว่าจ้างกลุ่มบริษัทที่ปรึกษา ประกอบด้วย บริษัท เอพซิลอน จากัด บริษัท แพลนโปร จากัด บริษัท ดีเคด คอนซัลแตนท์ จากัด และบริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จากัด ให้ดาเนินงานศึกษาความเหมาะสม ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในขั้น รายละเอียด (EIA) และสารวจออกแบบรายละเอียด โครงการถนนต่อเชื่อมถนนนครอินทร์-ศาลายา ได้ดาเนินการจัดการประชุมสรุปผลการคัดเลือกรูปแบบการพัฒนา โครงการที่เหมาะสม (สัมมนา ครั้งที่ 2) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอผลการคัดเลือกรูปแบบการพัฒนาโครงการที่เหมาะสมที่สุด รวมทั้งผลการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของประชาชน ตลอดจนแผนการดาเนินงานในขั้นต่อไป พร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการ สาหรับนาไปพิจารณาประกอบ การศึกษาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยที่ผ่านมา ได้จัดให้มีการประชุม จานวน 2 เวที ดังนีเวทีที่ 1 : วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เวลา 08.30-12.00 น. ณ ห้องประชุมไดมอนด์ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท ตาบลศาลายา อาเภอ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยได้รับเกียรติจากนายสุพจน์ ยศสิงห์คา รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม เป็นประธานกล่าวเปิดการประชุมฯ และนายศาศวัต ภูริภัสสรกุล ผู้อานวยการกลุ่มตรวจสอบสะพาน ผู้แทนกรมทางหลวงชนบท เป็นผู้กล่าวรายงาน โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นาชุมชน สถาบันการศึกษา ศาสนสถาน สถานพยาบาล องค์กรพัฒนาเอกชน สื่อมวลชน และประชาชนทั่วไป จานวน 275 คน ร่วมด้วยผู้แทนกรมทางหลวงชนบท จานวน 6 คน และบริษัทที่ปรึกษา จานวน 13 คน โดยผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการ ทั้งนี้สามารถสรุปข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ที่สาคัญ โดยมีรายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 1 และรูปที่ 1 ตารางที่ 1 สรุปประเด็นคาถาม ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะจาการประชุมสรุปผลการคัดเลือกรูปแบบการพัฒนาโครงการที่เหมาะสม (สัมมนา ครั้งที่ 2) เวทีที่ 1 : วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เวลา 08.30-12.00 น. ณ ห้องประชุมไดมอนด์ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ประเด็น ประเด็นคาถาม/ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ การนาไปพิจารณา วิศวกรรม เห็นด้วยกับการพัฒนาโครงการถนนต่อเชื่อมถนนนครอินทร์ - ศาลายา • ถนนโครงการนี้จะลดปัญหาการจราจรติดขัดในพื้นที่ นอกจากนี้ประชาชนในพื้นที่และผู้ใช้เส้นทางจะมี ความสะดวก รวดเร็ว ในการสัญจรบนโครงข่ายทางหลวงชนบทต่อเชื่อมถนนนครอินทร์ - ศาลายา รวมถึง รองรับการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและสังคมในจังหวัดนนทบุรีและจังหวัดนครปฐม ทางแยกต่างระดับจุดเริ่มต้นโครงการแห่งที่ 2 ได้รับการคัดเลือก ว่าเหมาะสมแล้วใช่หรือไม่ จากหลักเกณฑ์การพิจารณาเปรียบเทียบและคัดเลือก พบว่า จุดเริ่มต้นโครงการแห่งที2 มีความเหมาะสมสาหรับโครงการมากที่สุด จุดเริ่มต้นโครงการแห่งที่ 2 ขอให้พิจารณาออกแบบทางขึ้น- ลง ของสนามกอล์ฟเหมือนกับจุดเริ่มต้นโครงการแห่งที1 ได้หรือไม่ • การกาหนดรูปแบบทางแยกต่างระดับได้พิจารณาถึงการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยรอบ หากทางแยก ต่างระดับจุดเริ่มต้นโครงการแห่งที2 ใช้รูปแบบเหมือนกับแห่งที่ 1 จะมีผลกระทบต่ออาคาร และ บ้านเรือนเพิ่มมากขึ้นกว่ารูปแบบที่กาหนดไว้ บริเวณจุดเริ่มต้นโครงการแห่งที่ 2 ขอให้พิจารณา Ramp ให้มีขนาด เล็กลงได้หรือไม่ ที่ปรึกษาได้ดาเนินการออกแบบ Ramp ให้มีขนาดเล็กที่สุดตามมาตรฐานการออกแบบแล้ว ขอให้มีสัญญาณไฟจราจรบริเวณทางหลวงชนบท นฐ.3004 ไว้ เหมือนเดิมได้หรือไม่ • ที่ปรึกษาแนะนาให้ยกเลิกสัญญาณไฟจราจร เนื่องจากจะส่งผลต่อการรองรับปริมาณจราจร และ ทาให้เกิดการจราจรติดขัด แนวเส้นทางเลือกที่ 4 บริเวณทางหลวงชนบท นบ.5014 ช่วงโค้งหักศอก มีระยะห่างจากถนนโครงการเท่าใด และแนวเส้นทางโครงการตัดผ่าน ชุมชนในบริเวณนั้นหรือไม่ ช่วงโค้งหักศอกมีระยะห่างจากถนนโครงการประมาณ 280 เมตร และไม่ตัดผ่านชุมชน หากเดินทางมาจากคลองโยงโดยใช้ถนนโครงการจะเข้า-ออกสนาม กอล์ฟ รอยัลเจมส์ ได้อย่างไร ได้ออกแบบถนนบริการขนาด 2 ช่องจราจรไป-กลับ ทดแทนทางเข้า-ออกเดิมไว้แล้ว หากโครงการต้องตัดผ่านวัด จะหลีกเลี่ยงอย่างไร แนวเส้นทางโครงการจะหลีกเลี่ยงพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ศาสนสถาน สถานพยาบาล สถานศึกษา แล้ว บริเวณทางหลวงชนบท นฐ.5035 สามารถปรับแนวโค้งถนน โครงการให้หลีกที่ดินบริเวณสามเหลี่ยมได้หรือไม่อย่างไร ที่ปรึกษาขอรับไปพิจารณาในรายละเอียดสาหรับการออกแบบเบื้องต้น โครงการจะใช้เวลาในการก่อสร้างนานเท่าไร ตามแผนงานคาดว่าโครงการจะแล้วเสร็จประมาณ ปี พ.ศ. 2564-2565 • ขอให้พิจารณาเพิ่มระบบระบายน้าตลอดแนวเส้นทางโครงการเพื่อ ป้องกันปัญหาแนวเส้นทางโครงการขวางการไหลของนา เนื่องจาก พื้นที่ศึกษาของโครงการเป็นพื้นที่รับน้ที่ปรึกษาจะดาเนินการออกแบบระบบระบายน้าตามมาตรฐานการออกแบบทางและจะดาเนินการ ประสานกรมชลประทานเพิ่มเติม • ระดับความสูงของถนนโครงการ เมื่อเทียบกับทางรถไฟและ ทางหลวงหมายเลข 338 ถนนของโครงการจะมีความสูงหรือต่ากว่า ระดับความสูงของถนนโครงการกาหนดไว้ที่ 3 เมตร จากระดับน้าทะเลปานกลาง ซึ่งจะเท่ากับ ระดับถนนนครอินทร์

Upload: others

Post on 29-Feb-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: งานศึกษาความเหมาะสม ผลกระทบ ......กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม งานศ

กรมทางหลวงชนบทกระทรวงคมนาคม

งานศึกษาความเหมาะสม ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในขั้นรายละเอียด (EIA) และส ารวจออกแบบรายละเอียด โครงการถนนต่อเชื่อมถนนนครอินทร์-ศาลายา

ส านักก่อสร้างสะพาน กรมทางหลวงชนบท ได้ว่าจ้างกลุ่มบริษัทที่ปรึกษา ประกอบด้วย บริษัท เอพซิลอน จ ากัด บริษัท แพลนโปร จ ากัด บริษัท ดีเคด คอนซัลแตนท์ จ ากัด และบริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัด ให้ด าเนินงานศึกษาความเหมาะสม ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในขั้นรายละเอียด (EIA) และส ารวจออกแบบรายละเอียด โครงการถนนต่อเชื่อมถนนนครอินทร์ -ศาลายา ได้ด าเนินการจัดการประชุมสรุปผลการคัดเลือกรูปแบบการพัฒนาโครงการที่เหมาะสม (สัมมนา ครั้งที่ 2) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือน าเสนอผลการคัดเลือกรูปแบบการพัฒนาโครงการที่เหมาะสมที่สุด รวมทั้งผลการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของประชาชน ตลอดจนแผนการด าเนินงานในขั้นต่อไป พร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการ ส าหรับน าไปพิจารณาประกอบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยที่ผ่านมา ได้จัดให้มีการประชุม จ านวน 2 เวที ดังนี้

เวทีที่ 1 : วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เวลา 08.30-12.00 น. ณ ห้องประชุมไดมอนด์ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท ต าบลศาลายา อ าเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยได้รับเกียรติจากนายสุพจน์ ยศสิงห์ค า รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม เป็นประธานกล่าวเปิดการประชุมฯ และนายศาศวัต ภูริภัสสรกุล ผู้อ านวยการกลุ่มตรวจสอบสะพาน ผู้แทนกรมทางหลวงชนบท เป็นผู้กล่าวรายงาน โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้น าชุมชน สถาบันการศึกษา ศาสนสถาน สถานพยาบาล องค์กรพัฒนาเอกชน สื่อมวลชน และประชาชนทั่วไป จ านวน 275 คน ร่วมด้วยผู้แทนกรมทางหลวงชนบท จ านวน 6 คน และบริษัทที่ปรึกษา จ านวน 13 คน โดยผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการ ทั้งนี้สามารถสรุปข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ส าคัญ โดยมีรายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 1 และรูปที่ 1

ตารางท่ี 1 สรุปประเด็นค าถาม ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะจาการประชุมสรุปผลการคัดเลือกรูปแบบการพัฒนาโครงการที่เหมาะสม (สัมมนา ครั้งที่ 2) เวทีท่ี 1 : วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เวลา 08.30-12.00 น. ณ ห้องประชุมไดมอนด์ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท ต าบลศาลายา อ าเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

ประเด็น ประเด็นค าถาม/ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ การน าไปพิจารณา

วิศวกรรม • เห็นด้วยกับการพัฒนาโครงการถนนต่อเชื่อมถนนนครอินทร์ -ศาลายา

• ถนนโครงการนี้จะลดปัญหาการจราจรติดขัดในพื้นที่ นอกจากนี้ประชาชนในพื้นที่และผู้ใช้เส้นทางจะมีความสะดวก รวดเร็ว ในการสัญจรบนโครงข่ายทางหลวงชนบทต่อเชื่อมถนนนครอินทร์-ศาลายา รวมถึงรองรับการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและสังคมในจังหวัดนนทบุรีและจังหวัดนครปฐม

• ทางแยกต่างระดับจุดเริ่มต้นโครงการแห่งที่ 2 ได้รับการคัดเลือกว่าเหมาะสมแล้วใช่หรือไม่

• จากหลักเกณฑ์การพิจารณาเปรียบเทียบและคัดเลือก พบว่า จุดเริ่มต้นโครงการแห่งที่ 2มีความเหมาะสมส าหรับโครงการมากที่สุด

• จุดเริ่มต้นโครงการแห่งที่ 2 ขอให้พิจารณาออกแบบทางขึ้น-ลงของสนามกอล์ฟเหมือนกับจุดเร่ิมต้นโครงการแห่งที่ 1 ได้หรือไม่

• การก าหนดรูปแบบทางแยกต่างระดับได้พิจารณาถึงการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยรอบ หากทางแยกต่างระดับจุดเริ่มต้นโครงการแห่งที่ 2 ใช้รูปแบบเหมือนกับแห่งที่ 1 จะมีผลกระทบต่ออาคาร และบ้านเรือนเพิ่มมากขึ้นกว่ารูปแบบที่ก าหนดไว้

• บริเวณจุดเร่ิมต้นโครงการแห่งที่ 2 ขอให้พิจารณา Ramp ให้มีขนาดเล็กลงได้หรือไม่

• ที่ปรึกษาได้ด าเนินการออกแบบ Ramp ให้มีขนาดเล็กที่สุดตามมาตรฐานการออกแบบแล้ว

• ขอให้มีสัญญาณไฟจราจรบริเวณทางหลวงชนบท นฐ.3004 ไว้เหมือนเดิมได้หรือไม่

• ที่ปรึกษาแนะน าให้ยกเลิกสัญญาณไฟจราจร เนื่องจากจะส่งผลต่อการรองรับปริมาณจราจร และท าให้เกิดการจราจรติดขัด

• แนวเส้นทางเลือกที่ 4 บริเวณทางหลวงชนบท นบ.5014 ช่วงโค้งหักศอก มีระยะห่างจากถนนโครงการเท่าใด และแนวเส้นทางโครงการตัดผ่านชุมชนในบริเวณนั้นหรือไม่

• ช่วงโค้งหักศอกมีระยะห่างจากถนนโครงการประมาณ 280 เมตร และไม่ตัดผ่านชุมชน

• หากเดินทางมาจากคลองโยงโดยใช้ถนนโครงการจะเข้า-ออกสนามกอล์ฟ รอยัลเจมส์ ได้อย่างไร

• ได้ออกแบบถนนบริการขนาด 2 ช่องจราจรไป-กลับ ทดแทนทางเข้า-ออกเดิมไว้แล้ว

• หากโครงการต้องตัดผ่านวัด จะหลีกเลี่ยงอย่างไร • แนวเส้นทางโครงการจะหลีกเลี่ยงพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ศาสนสถาน สถานพยาบาล สถานศึกษา แล้ว

• บริเวณทางหลวงชนบท นฐ.5035 สามารถปรับแนวโค้งถนนโครงการให้หลีกที่ดินบริเวณสามเหลี่ยมได้หรือไม่อย่างไร

• ที่ปรึกษาขอรับไปพิจารณาในรายละเอียดส าหรับการออกแบบเบื้องต้น

• โครงการจะใช้เวลาในการก่อสร้างนานเท่าไร • ตามแผนงานคาดว่าโครงการจะแล้วเสร็จประมาณ ปี พ.ศ. 2564-2565

• ขอให้พิจารณาเพิ่มระบบระบายน้ าตลอดแนวเส้นทางโครงการเพื่อป้องกันปัญหาแนวเส้นทางโครงการขวางการไหลของน้ า เนื่องจากพื้นที่ศึกษาของโครงการเป็นพื้นที่รับน้ า

• ที่ปรึกษาจะด าเนินการออกแบบระบบระบายน้ าตามมาตรฐานการออกแบบทางและจะด าเนินการประสานกรมชลประทานเพิ่มเติม

• ระดับความสูงของถนนโครงการ เมื่อเทียบกับทางรถไฟและทางหลวงหมายเลข 338 ถนนของโครงการจะมีความสูงหรือต่ ากว่า

• ระดับความสูงของถนนโครงการก าหนดไวท้ี่ 3 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง ซึ่งจะเท่ากับระดับถนนนครอินทร์

Page 2: งานศึกษาความเหมาะสม ผลกระทบ ......กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม งานศ

ตารางท่ี 1 สรุปประเด็นค าถาม ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากการประชุมสรุปผลการคัดเลือกรูปแบบการพัฒนาโครงการที่เหมาะสม (สัมมนา ครั้งที่ 2) เวทีท่ี 1 : วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เวลา 08.30-12.00 น. ณ ห้องประชุมไดมอนด์ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท ต าบลศาลายา อ าเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม (ต่อ)

ประเด็น ประเด็นค าถาม/ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ การน าไปพิจารณา

วิศวกรรม(ต่อ)

• หากพบว่าแนวเส้นทางโครงการตัดผ่านที่ดินพระราชทาน จะมีการเวนคืนที่ดินดังกล่าวหรือไม่อย่างไร

• ที่ปรึกษาขอรับข้อเสนอไปหารือกับฝ่ายกฎหมายของกรมทางหลวงชนบท

• จุดเริ่มต้นโครงการแห่งที่ 2 และแนวเส้นทางโครงการที่ได้รับการคัดเลือกแล้วจะปรับแนวได้อีกหรือไม่ เนื่องจากเส้นทางตัดผ่านพื้นที่ที่อยู่อาศัย

• จุดเริ่มต้นโครงการแห่งที่ 2 และแนวเส้นทางโครงการที่ได้รับการคัดเลือก จะใช้เป็นแนวทางส าหรับการออกแบบรายละเอียด โดยไม่มีการปรับแนวเส้นทางหากไม่พบพื้นที่อ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติม

• แนวเส้นทางโครงการตัดผ่านที่ดินและตัวบ้าน แต่ยังเหลือที่ดินด้านข้างเพื่อปลูกบ้านใหม่ จะมีแนวทางในการเวนคืนที่ดินอย่างไรบ้าง

• การเวนคนืที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจะด าเนินการตามมาตรา 21 โดยจะจ่ายที่ดินที่ถูกเวนคืน และหากบ้านถูกเวนคืนไม่เต็มหลังและพบว่าส่วนที่เหลือไม่สามารถอยู่อาศัยได้ จะจ่ายค่าสิ่งปลูกสร้างทั้งหลัง

• ปัจจุบันก าลังผ่อนบ้าน หากถูกเวนคืน จะมีการชดเชยอย่างไร • มีการชดเชยตามมาตรา 21

• ที่ดินที่ถูกเวนคืนเป็นโรงงาน จะมีการชดเชยอย่างไร และจะมีการชดเชยรายได้ให้กับพนักงานของโรงงานด้วยหรือไม่อย่างไร

• นอกจากการชดเชยที่ดินและสิ่งปลูกสร้างแล้วจะยังมีการชดเชยรายได้ในระหว่างการย้ายโรงงานเพิ่มเติม

สิ่งแวดล้อม • จะมีมาตรการแก้ไขผลกระทบเรื่องเสียง ความสั่นสะเทือน ทางเข้า-ออก และอุบัติเหตุจากรถตกจากทางยกระดับ อย่างไร เนื่องจากอาศัยอยู่บริเวณทางเข้าสนามกอล์ฟ รอยัลเจมส์

• เมื่อโครงการได้แนวเส้นทางที่ได้รับการคัดเลือกแล้ว ที่ปรึกษาจะด าเนินการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในรายละเอียด (EIA) เพื่อคาดการณ์ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงการ ทั้งในระหว่างการก่อสร้าง และภายหลังเปดิใช้งานโครงการแล้ว พร้อมทั้งก าหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกัน ลด และบรรเทาความรุนแรงของผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งจะครอบคลุมประเด็นผลกระทบเรื่องเสียง ความสั่นสะเทือน การเข้า-ออก และอุบัติเหตุจากรถตกจากทางยกระดับ

การมีส่วนร่วมของประชาชน

• ไม่เคยรับทราบข่าวสารรายเอียดโครงการมาก่อน • ได้มีการประชาสัมพันธโ์ครงการตลอดระยะเวลาการศึกษาโครงการ โดยโครงการจะด าเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนทั้งหมด 5 ครั้ง ประกอบด้วยการสัมมนา จ านวน 3 ครั้งและการประชุมกลุ่มย่อยจ านวน 2 ครั้ง ซึ่งในการประชุมแต่ละครั้งจะมีหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้รับทราบ รวมถึงได้มีการประชาสัมพันธ์เชิญชวนผ่านสื่อต่างๆ ได้แก่ เว็บไซต์โครงการ ประกาศกรมทางหลวงชนบท โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์โครงการ ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ และการแจกใบปลิวในพื้นที่โครงการ ทั้งนี้ การส่งหนังสือเชิญและการติดประกาศประชาสัมพันธ์จะด าเนินการล่วงหน้าก่อนการประชุม 15 วัน รวมทั้งจะมีการติดประกาศประชาสัมพันธ์สรุปผลการประชุมภายใน 15 วัน หลังจัดการประชุมแล้ว ในหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องในพื้นที่โครงการ ในส่วนของการรับทราบข้อมูลแนวเส้นทาง

นายสุพจน์ ยศสิงห์ค า รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม

เป็นประธานกล่าวเปิดการประชุมฯ

บรรยากาศบริเวณจุดลงทะเบียน บรรยากาศบริเวณบอร์ดนิทรรศการ

บรรยากาศระหว่างการประชุม บรรยากาศช่วงรับฟังความคิดเห็นของประชาชน

รูปที่ 1 บรรยากาศการประชุมสรุปผลการคัดเลือกรูปแบบการพัฒนาโครงการที่เหมาะสม (สัมมนา ครั้งที่ 2) เวทีท่ี 1 : วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2559เวลา 08.30-12.00 น. ณ ห้องประชุมไดมอนด์ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท ต าบลศาลายา อ าเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

บรรยากาศการตอบประเด็นค าถาม ข้อคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม

Page 3: งานศึกษาความเหมาะสม ผลกระทบ ......กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม งานศ

ตารางท่ี 2 สรุปประเด็นค าถาม ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากการประชุมสรุปผลการคัดเลือกรูปแบบการพัฒนาโครงการที่เหมาะสม (สัมมนา ครั้งที่ 2) เวทีท่ี 2 : วันพฤหัสบดีที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เวลา 08.30-12.00 น. ณ หอประชุมเทศบาลต าบลปลายบาง ส านักงานเทศบาลต าบลปลายบาง อ าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี

ประเด็น ประเด็นค าถาม/ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ การน าไปพิจารณา

วิศวกรรม • ถนนโครงการมีเขตทางกว้างกี่เมตร • ถนนโครงการมีเขตทางกว้าง 40 เมตร

• แนวเส้นทางโครงการจะตัดผ่านทางหลวงชนบท นบ.1001 บริเวณใด • แนวเส้นทางโครงการจะตัดผ่านทางหลวงชนบท นบ.1001 บริเวณฝั่งตะวันตกของคลองประปาก่อนถึงวัดป่ามณีกาญจน์ประมาณ 450 เมตร และตัดบริเวณทางทิศเหนือห่างจากสะพานข้ามคลองสามท้าวประมาณ 400 เมตร

• จุดกลับรถถนนโครงการที่ตัดผ่านทางหลวงชนบท นบ .1001มีจ านวนกี่จุด บริเวณใดบ้าง

• มีจุดกลับรถ จ านวน 1 จุด บริเวณทางทิศเหนือของคลองสามท้าว

• บริเวณวัดสุนทรธรรมิการามขอให้พิจารณาปรับแนวถนนโครงการให้ชิดเขตที่ดินข้างใดข้างหนึ่งเพื่อให้ที่ดินมีพื้นที่คงเหลือมากกว่า 20 เมตร

• จะพิจารณาในขั้นตอนการออกแบบรายละเอียดแต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแนวเส้นทางในภาพรวมด้วย

• ขอให้พิจารณาออกแบบถนนขนาด 10 ช่องจราจร เหมือนถนนนครอินทร์ เพื่อรองรับปริมาณจราจรในอนาคต

• ถนนโครงการขนาด 6 ช่องจราจร สามารถรองรับปริมาณจราจรในอนาคตได้อีก 20 ปี

• หากโครงการได้รับอนุมัติแล้วจะด าเนินการก่อสร้างในปี พ.ศ. 2562ใช่หรือไม่ และจะใช้เวลาก่อสร้างนานเท่าใด

• หากได้รับงบประมาณและผ่านคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และส ารวจอสังหาริมทรัพย์ได้ตามก าหนดก็จะเริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2562-2563 ใช้เวลาก่อสร้างประมาณ 30 เดือน

• โครงการมีแผนการจัดการจราจรและมาตรการจัดการผลกระทบด้านการจราจรจากการก่อสร้างบริเวณจุดเริ่มต้น-สิ้นสุดของโครงการอย่างไร

• โครงการจะก าหนดแผนการจัดจราจรระหว่างการก่อสร้างไว้ในแบบรายละเอียดและรายงาน

• ถนนโครงการจะตัดผ่านที่ดินแปลงใดบ้าง • จะทราบเมื่อมีการออกแบบรายละเอียดและส ารวจอสังหาริมทรัพย์แล้วเสร็จ

• หากถนนโครงการตัดผ่านกลางที่ดินขอให้โครงการเวนคืนทั้งหมดได้หรือไม่ • สามารถท าได้ถ้าเข้าหลักเกณฑ์ เช่นเหลือที่ดินไม่เกิน 25 ตารางวา หรือด้านหนึ่งด้านใดน้อยกว่า 5 วา

• หลักเกณฑ์การพิจารณาจ่ายเงินค่าทดแทนในการเวนคืนที่ดินมีอะไรบ้าง และจะใช้ระยะเวลาเท่าไร

• การเวนคืน ค่าทดแทนในการเวนคืนประกอบด้วย 3 ส่วนหลักๆ คือ ที่ดิน โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอ่ืน และต้นไม้ยืนต้น ตามกฎหมายให้ใช้ราคาที่ดินก่อนวันประกาศ พรฎ.เวนคืนที่ดินใช้บังคับ การก าหนดค่าทดแทนที่ดิน จะพิจารณาจาก ราคาที่ซื้อขายกันตามปกติในท้องตลาด ราคาประเมินทุนทรัพย์ของกรมธนารักษ์ ซึ่งจะพิจารณาโดยคณะกรรมการก าหนดราคาเบื้องต้น ราคาสิ่งปลูกสร้างเป็นราคาตามราคาทรัพย์สิน เช่น ไม้ เหล็ก คอนกรีต ราคาของต้นไม้จะแยกตามประเภท อายุ ซึ่งเป็นไปตามราคาฐานของส านักงานเกษตรจังหวัด ในกรณีที่เจ้าของยังไม่พึงพอใจ มีสิทธิ์ยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ภายใน 60 วัน จะมีการส ารวจและแจ้งค่าทดแทนการเวนคืน และท าข้อตกลง ในตอนแรกจะรับเงิน 75% ก่อน มีการรื้อย้ายของในพื้นที่ออกแล้วจะได้รับอีก 25%

• ขอให้น าราคาประเมินที่ดินในอนาคตอย่างน้อย 20 ปี มาประกอบหลักเกณฑ์การพิจารณาจ่ายเงินค่าทดแทนในการเวนคืนที่ดินให้กับผู้ถูกเวนคืนที่ดินด้วย เนื่องจากผู้ถูกเวนคืนจะได้มีเงินซื้อที่ดินข้างเคียงบริเวณเดิมได้

• ตามกฎหมายปัจจุบันยังคงใช้ราคาประเมินที่ใช้อยู่ในวันที่ พรฎ.เวนคืนที่ดิน ใช้บังคับ

• บริเวณจุดสิ้นสุดโครงการจะมีการเวนคืนพื้นที่บริเวณหมู่บ้านกฤษณาหรือไม่ และหากเดินทางมาจากศาลายาจะสามารถเลี้ยวเข้าหมู่บ้านกฤษณาทางด้านหลังได้หรือไม่ และจุดเข้า-ออก ของหมู่บ้านกฤษณาเป็นอย่างไร

• ไม่มีการเวนคืนหมู่บ้านกฤษณา และหากเดินทางมาจากศาลายาไม่สามารถเข้าหมู่บ้านกฤษณาได้โดยตรง

• ถนนโครงการจะมีสะพานลอยคนข้ามหรือไม่อย่างไร • ต าแหน่งสะพานลอยคนเดินข้ามจะพิจารณาจากชุมชน และจากมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งจะก าหนดในขั้นตอนถัดไป

• จะมีการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนสาธารณะตามแนวเส้นทางโครงการหรือไม่ • กรมทางหลวงชนบทขอรับไปประสานงานกับกรมการขนส่งทางบกต่อไป

การมีส่วนร่วมของประชาชน

• ขอให้พิจารณาจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ • การประชุมสัมมนาจ าเป็นต้องจัดในวันท างานเนื่องจากกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมทั้งหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน สื่อมวลชน และประชาชนในพื้นที่โครงการ แต่หลังจากนี้จะมีการประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 ซึ่งจะเน้นประชาชนที่ได้รับผลกระทบในพื้นที่โครงการ ทั้งนี้วันจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นจะพิจารณาให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและอ านวยความสะดวกกับประชาชนในพื้นที่อีกครั้ง

เวทีที่ 2 : วันพฤหัสบดีที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2559 เวลา 08.30-12.00 น. ณ หอประชุมเทศบาลต าบลปลายบาง ส านักงานเทศบาลต าบลปลายบาง อ าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี โดยได้รับเกียรติจากนายศาศวตั ภูริภัสสรกุล ผู้อ านวยการกลุ่มตรวจสอบสะพาน ผู้แทนกรมทางหลวงชนบท เป็นผู้กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมการประชุม โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้น าชุมชน สถาบันการศึกษา ศาสนสถาน สถานพยาบาล องค์กรพัฒนาเอกชน สื่อมวลชน และประชาชนทั่วไป จ านวน 217 คน ร่วมด้วยผู้แทนกรมทางหลวงชนบท จ านวน 4 คน และบริษัทที่ปรึกษา จ านวน 13 คน โดยผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อโครงการ ทั้งนี้สามารถสรุปข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่ส าคัญ โดยมีรายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 2 และรูปที่ 2

Page 4: งานศึกษาความเหมาะสม ผลกระทบ ......กรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม งานศ

สถานที่ติดต่อและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

ส านักก่อสร้างสะพาน กรมทางหลวงชนบทโทรศัพท์ : 0-2551-5527

บริษัท แอพซิลอน จ ากัดด้านวิศวกรรม และรูปแบบโครงการโทรศัพท์ : 0-2571-2760

บริษัท แพลนโปร จ ากัดด้านวิศวกรรมจราจรและขนส่งโทรศัพท์ : 0-2619-9931

เว็บไซต์โครงการ http://www.nakhonin-salaya.com

บริษัท ดีเทค คอนซัลแตนท์ จ ากัดด้านส ารวจสภาพภูมิประเทศ และอสังหาริมทรัพย์เบื้องต้นโทรศัพท์ : 0-2571-2741

บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จ ากัดด้านสิ่งแวดล้อมคุณตวงกลม พฤทธิ์ธโนปจัย โทรศัพท์ : 0-27632828 ต่อ 2833ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนคุณภัทรศยา แก้วมณีโทรศัพท์ : 0-2763-2828 ต่อ 2827

จากนายศาศวัต ภูริภัสสรกุล ผู้อ านวยการกลุ่มตรวจสอบสะพาน

เป็นผู้กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมการประชุม

บรรยากาศบริเวณจุดลงทะเบียน บรรยากาศบริเวณบอร์ดนิทรรศการ

บรรยากาศระหว่างการประชุม

บรรยากาศช่วงรับฟังความคิดเห็นของประชาชน

รูปที่ 2 บรรยากาศการประชุมสรุปผลการคัดเลือกรูปแบบการพัฒนาโครงการที่เหมาะสม (สัมมนา ครั้งที่ 2) เวทีท่ี 2 : วันพฤหัสบดีที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2559เวลา 08.30-12.00 น. ณ หอประชุมเทศบาลต าบลปลายบาง ส านักงานเทศบาลต าบลปลายบาง อ าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี

บรรยากาศการตอบประเด็นค าถาม ข้อคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม