สมนฺตปาสาทิกา นาม ปฐมภาโค - สมัน ... ·...

972
สมนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฺฐกถา มหาวิภงฺควณฺณนาย ปฐมภาโค ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค ๑ แปล สมันตปาสาทิกา ภาค ๑ บาลี-ไทย ฉบับเร่งด่วน ยังไม่เรียบร้อย (๑๓ ก.ย.๖๑) สารบัญหลัก (คลิกเพื่อไปยังหัวข้อในสารบัญย่อย) อารมฺภกถา ๑๒ พาหิรนิทานวณฺณนา ๑๗ เริ่มเรื่องทุติยสังคายนา ๖๐ เรื่องระหว่างทุติยตติยสังคายนา ๖๔ เริ่มเรื่องตติยสังคายนา ๖๗ เรื่องนำาพระวินัยปิฎกสืบต่อกันมา ๑๐๕ เรื่องส่งพระเถระไปประกาศพระศาสนาในต่างประเทศ ๑๐๘ เริ่มเรื่องจตุตถสังคายนา ๑๗๐ เวรญฺชกณฺฑวณฺณนา ๑๗๖ พุทธคุณกถา ๑๘๘ กถาว่าด้วยปฐมฌาน ๒๔๖ กถาว่าด้วยทุติยฌาน ๒๕๙ กถาว่าด้วยตติยฌาน ๒๖๕ กถาว่าด้วยจตุตถฌาน ๒๗๒ กถาว่าด้วยปุพเพนิวาสญาณ ๒๘๐ กถาว่าด้วยทิพยจักษุ ๒๙๓ กถาว่าด้วยอาสวักขยญาณ ๓๐๕ เมืองเวรัญชาเกิดทุพภิกขภัย ๓๒๐ มหาโมคคัลลานสีหนาทกถา ๓๓๕ ปฐมปาราชิกวณฺณนา ๓๗๓ สมุฏฐานที่เกิดแห่งอาบัติมี ๖ อย่าง ๕๑๔ วินีตวัตถุปฐมปาราชิก ๕๑๘ ทุติยปาราชิกวณฺณนา ๕๔๒ เรื่องอนุบัญญัติทุติยปาราชิก ๕๖๗ พรรณนาบทภาชนีย์ ๗๑๑ กถาปรารภเรื่องทั่วไป ๗๒๙ ตติยปาราชิกวณฺณนา ๗๕๕ ประชุมสงฆ์ ทรงบัญญัติตติยปาราชิกสิกขาบท ๘๒๓ เรื่องที่ไม่ลับ สำาคัญว่าที่ลับ ๘๕๓ วินีตวัตถุในตติยปาราชิก ๘๗๔ จตุตฺถปาราชิกวณฺณนา ๙๐๒ [บทสรูปปาราชิก] ๙๖๑ [อธิษฐานคาถาของท่านผู้รจนา] ๙๖๔ คำาผิดในหนังสือ ๙๖๕ [000] คือ เลขหน้าในหนังสือบาลี (ค้นหาหน้า ใช้ Ctrl+F เช่น [123]) สตฺถา ประธาน (ปฐมาวิภัตติ) (ข้อความ) ข้อความในวงเล็บที่ควรใส่ หรือต้องใส่ เมื่อแปล ขนาดฟอนต์ 16pt (ข้อความ) ข้อความในวงเล็บที่อาจใส่เพิ่มเข้ามา เมื่อแปล หรือเป็นเพียงคำาอธิบายให้ทราบ) ขนาดฟอนต์ 15pt สำาหรับข้อความที่ยาวมาก มีหลายบรรทัด และ/หรือ ศัพท์บาลีที่ต้องแปลก่อนอยู่สุดท้ายของข้อความยาวๆ นั้น จะแบ่งข้อความเหล่านั้นเป็นช่วงๆ เพื่อสะดวกในการเทียบแปล โดยใช้เครื่องหมาย | ปิดต้น-ท้ายข้อความบาลี เช่น | ข้อความบาลีข้อความบาลี ฯเปฯ ข้อความบาลีข้อความบาลี . | คำาแปลไทยคำาแปลไทย ฯลฯ คำาแปลไทยคำาแปลไทย. คลิกที่เลขเชิงอรรถ เพื่อตรงไปยังเชิงอรรถนั้นๆ ไดPaliDict จัดหน้าด้วยโปรแกรม LibreOffice 6

Upload: others

Post on 07-Mar-2020

15 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • สมนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฺฐกถา มหาวภิงฺควณฺณนาย ปฐมภาโคปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค ๑ แปล

    สมันตปาสาทิกา ภาค ๑ บาลี-ไทย

    ฉบับเร่งด่วน ยังไม่เรยีบร้อย (๑๓ ก.ย.๖๑) สารบัญหลัก (คลิกเพื่อไปยังหัวข้อในสารบัญย่อย)

    อารมฺภกถา ๑๒พาหิรนิทานวณฺณนา ๑๗เร่ิมเร่ืองทุตยิสงัคายนา ๖๐เร่ืองระหว่างทติุยตตยิสงัคายนา ๖๔เร่ิมเร่ืองตตยิสงัคายนา ๖๗เร่ืองนำาพระวินยัปิฎกสืบตอ่กนัมา ๑๐๕เร่ืองส่งพระเถระไปประกาศพระศาสนาในต่างประเทศ ๑๐๘เร่ิมเร่ืองจตุตถสังคายนา ๑๗๐เวรญฺชกณฑฺวณฺณนา ๑๗๖พุทธคุณกถา ๑๘๘กถาว่าด้วยปฐมฌาน ๒๔๖กถาว่าด้วยทุติยฌาน ๒๕๙กถาว่าด้วยตติยฌาน ๒๖๕กถาว่าด้วยจตุตถฌาน ๒๗๒กถาว่าด้วยปุพเพนิวาสญาณ ๒๘๐กถาว่าด้วยทิพยจกัษุ ๒๙๓กถาว่าด้วยอาสวักขยญาณ ๓๐๕

    เมอืงเวรัญชาเกิดทุพภิกขภยั ๓๒๐มหาโมคคัลลานสีหนาทกถา ๓๓๕ปฐมปาราชิกวณฺณนา ๓๗๓สมุฏฐานที่เกิดแห่งอาบัติมี ๖ อย่าง ๕๑๔วินตีวัตถปุฐมปาราชกิ ๕๑๘ทุติยปาราชิกวณณฺนา ๕๔๒เร่ืองอนุบญัญัติทุติยปาราชกิ ๕๖๗พรรณนาบทภาชนีย์ ๗๑๑กถาปรารภเร่ืองท่ัวไป ๗๒๙ตติยปาราชิกวณณฺนา ๗๕๕ประชมุสงฆ์ ทรงบญัญัติตติยปาราชิกสกิขาบท ๘๒๓เร่ืองท่ีไม่ลับ สำาคัญว่าที่ลับ ๘๕๓วินตีวัตถใุนตตยิปาราชิก ๘๗๔จตุตฺถปาราชิกวณฺณนา ๙๐๒[บทสรูปปาราชิก] ๙๖๑[อธษิฐานคาถาของท่านผู้รจนา] ๙๖๔คำาผิดในหนังสอื ๙๖๕

    [000] คือ เลขหน้าในหนังสือบาลี (ค้นหาหน้า ใช้ Ctrl+F เช่น [123]) สตฺถา ประธาน (ปฐมาวิภตัติ)

    (ข้อความ) ข้อความในวงเล็บทีค่วรใส่ หรือต้องใส่ เมื่อแปล ขนาดฟอนต์ 16pt (ขอ้ความ) ข้อความในวงเล็บทีอ่าจใส่เพ่ิมเข้ามา เมือ่แปล หรือเป็นเพียงคำาอธิบายให้ทราบ) ขนาดฟอนต์ 15pt

    สำาหรับข้อความที่ยาวมาก มีหลายบรรทัด และ/หรือ ศัพท์บาลีที่ต้องแปลก่อนอยู่สุดท้ายของข้อความยาวๆ นั้น จะแบ่งข้อความเหล่านั้นเป็นช่วงๆ เพื่อสะดวกในการเทียบแปล โดยใช้เคร่ืองหมาย | ปิดต้น-ท้ายข้อความบาลี เช่น| ข้อความบาลีข้อความบาลี ฯเปฯ ข้อความบาลีข้อความบาลี. |คำาแปลไทยคำาแปลไทย ฯลฯ คำาแปลไทยคำาแปลไทย.

    คลิกที่เลขเชิงอรรถ เพื่อตรงไปยังเชิงอรรถนั้นๆ ได้ PaliDict จัดหน้าด้วยโปรแกรม LibreOffice 6

    http://LibreOffice.org/http://LibreOffice.org/http://PaliDict.com/

  • หน้า ๒ • •

    สารบัญย่อย(คลิกเพื่อไปยังหน้าท่ีต้องการ)

    อารมฺภกถา............................................................................. ๑๒พาหิรนิทานวณฺณนา...............................................................๑๗[พระมหากัสสปะชักชวนทำาสังคายนา].....................................๑๙[พระมหากัสสปะคัดเลือกภิกษุ ๔๙๙ รูป]................................๑๙[ทำาสังคายนาจะเว้นพระอานนท์ไมไ่ด้]......................................๑๙[ภกิษุทั้งหลายขอให้เลือกพระอานนท์].....................................๒๑[เลือกกรุงราชคฤห์เป็นที่ทำาปฐมสังคายนา]..............................๒๑[พระมหาเถระแยกกันเดินทางไปสู่กรุงราชคฤห์]......................๒๒[พระอานนทไ์ปถึงทีไ่หนมีเสียงร้องไห้ในที่นั้น]..........................๒๒[พระอานนท์ปัดกวาดเสนาสนะที่เคยประทับ]..........................๒๓[พระอานนทฉ์ันยาระบาย]........................................................๒๓[พระเถระทั้งหลายคิดซ่อมวิหาร ๑๘ แห่ง]...............................๒๓[พระเถระไปทูลขอหัตถกรรมจากพระเจ้าอชาตศัตรู]...............๒๔[พระราชาทรงอุปถัมภก์ิจสงฆ์ทุกอย่าง]....................................๒๕[พระราชารับส่ังให้ประดับถำ้าดุจวิมานพรหม]...........................๒๕[พวกภิกษุเตือนพระอานนท์มิให้ประมาท]................................๒๖[พระอานนทด์ำาดินไปเข้าประชุมสงฆ์].......................................๒๗[พระเถระเร่ิมปรึกษาและสมมติตนเป็นผู้ปุจฉาวิสัชชนา].........๒๘[คำาสมมติตนปุจฉาวิสัชชนาพระวินัย].......................................๒๙[ปุจฉาและวิสัชชนาพระวินัย]...................................................๒๙[รวบรวมพระวินัยของภิกษไุว้เป็นหมวดๆ]...............................๓๐[รวบรวมวินัยของภิกษุณีเป็นหมวดๆ].......................................๓๑[เร่ิมสังคายนาพระสูตร].............................................................๓๑[คำาสวดสมมติปุจฉาวิสัชชนาพระสูตร].....................................๓๑[ปุจฉาและวิสัชชนาพระสูตร]....................................................๓๒[นิกาย ๕]..................................................................................๓๓[พระพทุธพจน์มีจำานวนต่างๆ กัน]............................................๓๓[พระพทุธพจน์มีอย่างเดียว]......................................................๓๓[พระพทุธพจน์มี ๒ อย่าง].........................................................๓๔[พระพทุธพจน์มี ๓ อย่าง].........................................................๓๔[ปิฎก ๓]....................................................................................๓๖[อรรถาธิบายคำาว่าวินัย]............................................................๓๖[อรรถาธิบายคำาว่าสูตร]............................................................๓๗[อรรถาธิบายคำาว่าอภิธรรม]......................................................๓๘

    [ปิฎกเปรียบเหมือนตะกร้า]......................................................๔๑[อธิบายคัมภีรภาพ ๔ อย่าง].....................................................๔๓[อธิบายคัมภีรภาพอีกนัยหนึ่ง]..................................................๔๔[ปริยัติ ๓ อย่าง]........................................................................๔๖[ภิกษุผู้ปฏิบัตดิีใน ๓ ปิฎกได้ผลดตี่างกัน].................................๔๘[ผู้ปฏิบัติไมด่ีใน ๓ ปิฎกได้ผลเสียต่างกัน].................................๔๘[พระพุทธพจน์มี ๕ นิกาย]........................................................๕๐[ทีฆนิกาย ๓๔ สูตร]..................................................................๕๐[มัชฌิมนิกายมี ๑๕๒ สูตร].......................................................๕๑[สังยุตตนิกายมี ๗,๗๖๒ สูตร]...................................................๕๑[อังคุตตรนิกายมี ๙,๕๕๗ สูตร]................................................๕๑[ขทุทกนิกายมี ๑๕ ประเภท]....................................................๕๒[พระพุทธพจน์มี ๙ อย่าง].........................................................๕๒[อธิบายพระพุทธพจน์มีองค์ ๙ ทีละองค์].................................๕๒[พระพุทธพจน์มี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์]..............................๕๓[วิธีคำานวณนับพระธรรมขันธ์เฉพาะขันธ์หนึ่งๆ]........................๕๔[ปฐมสังคายนาจัดพระพทุธพจน์ไว้เป็นหมวดๆ].......................๕๔[พระพุทธศาสนาอาจตั้งอยู่ได้ ๕,๐๐๐ ปี]................................๕๕[อธิบายความเร่ิมต้นแห่งนิทานวินัย].........................................๕๖[พระมหาเถระมีพระอุบาลีเป็นต้นนำาพระวินัยปิฎกสืบต่อมา]. .๕๖[พระอุบาลีเถระเรียนพระวินัยปิฎกจากพุทธสำานัก]..................๕๗[พระทาสกเถระเรียนพระวินัยปิฏกจากสำานักพระอุบาลีเถระ].๕๘[พระโสณกเถระเรียนพระวินัยปิฎกจากสำานักพระทาสกเถระ].๕๘[พระสิคควเถระเรียนพระวินัยปิฎกจากสำานักพระโสณกเถระ].๕๘

    เร่ิมเร่ืองทุติยสังคายนา............................................................๖๐[ภิกษุชาววัชชีบุตรแสดงวัตถุ ๑๐ ประการ]..............................๖๐[พระยสเถระไดท้ราบเร่ืองภิกษุวัชชีบุตรแสดงวัตถุ ๑๐ ประการ]..................................................................................................๖๑[คัดเลือกพระเถระทำาทุติยสังคายนาได้ ๗๐๐ องค์]..................๖๒

    เร่ืองระหว่างทุติยตติยสังคายนา..............................................๖๔[ติสสมหาพรหมจักแก้ความเส่ือมพระศาสนาในอนาคต]..........๖๔[พวกพระเถระไปเชิญติสสมหาพรหมให้มาเกิดในมนุษยโลก]...๖๕[ติสสมหาพรหมรับปฏิญญามาเกิดในมนุษยโลก]......................๖๕

  • หน้า ๓ • •

    [พวกพระเถระลงทัณฑกรรมแก่พระสิคควะและพระจัณฑวัชชี]..................................................................................................๖๕

    เร่ิมเร่ืองตตยิสงัคายนา............................................................๖๗[ติสสมหาพรหมเกิดในมนุษยโลก].............................................๖๗[พราหมณ์ผู้บิดาของติสสมหาพรหมพบพระสิคควเถระ]..........๖๗[โมคคลีพราหมณ์คอยจับมุสาของพระเถระ]............................๖๗[โมคคลีพราหมณ์เล่ือมใสในพระเถระ]......................................๖๘[พระสิคควเถระเร่ิมสนทนาปราศรัยกับติสสมาณพ].................๖๘[ติสสมาณพถามปัญหากับพระเถระ]........................................๗๐[พระสิคควเถระถามปัญหากับมาณพ]......................................๗๐[ติสสมาณพขออนุญาตมารดาบิดาบวชเพื่อเรียนมนต์].............๗๑[พระเถระส่งสามเณรติสสะไปยังสำานักพระจัณฑวัชชีเถระ].....๗๑[สามเณรติสสะไปอยู่ในสำานักของพระจัณฑวัชชีเถระ].............๗๒[สามเณรติสสะปฏิบัติกิจวัตรตามระเบียบพระวินัย].................๗๒[พระจัณฑวัชชีเถระให้สามเณรติสสะเรียนพระพทุธพจน์]........๗๓[สามเณรติสสะเรียนพระพุทธพจน์พร้อมทั้งอรรถกถา]............๗๓[พระราชประวัตขิองพระเจ้าอโศกมหาราช].............................๗๓[พระราชอำานาจแผ่ไปเบ้ืองบนเบ้ืองตำ่าประมาณ ๑ โยชน์].......๗๔[พระเจ้าอโศกรับส่ังพญากาฬนาคเนรมิตพระพุทธรูปให้ดู]......๗๕[พระเจ้าอโศกไมท่รงเล่ือมใสนักบวชนอกศาสนา]....................๗๖[ประวัตินโิครธสามเณร]............................................................๗๘[นโิครธกุมารบวชสำาเร็จเป็นพระอรหันต์พระชนม์ ๗ ปี]...........๗๙[พระเจ้าอโศกทรงเล่ือมใสนิโครธสามเณร]...............................๘๐[พระเจ้าอโศกมหาราชรับส่ังให้นิมนต์สามเณรเข้ามา]..............๘๐[พระเจ้าอโศกมหาราชตรัสถามข้อธรรม]..................................๘๑[พระเจ้าอโศกมหาราชถวายนิตยภตัสามเณรเป็นทวีคูณ].........๘๒[พระเจ้าอโศกมหาราชถวายนิตยภตัแก่ภิกษุหกแสนรูป]..........๘๓[พระเจ้าอโศกมหาราชทรงสร้างวัด และเจดีย์ ๘๔,๐๐๐ แห่ง] ๘๓[พระเจ้าอโศกมหาราชทรงทำาการฉลองพระวิหาร]...................๘๔[พระเจ้าอโศกมหาราชทรงเห็นทั่วทั้งชมพูทวีป].......................๘๕[พระเจ้าอโศกยังไม่เป็นทายาทแห่งพระศาสนา].......................๘๖[ผู้ที่ให้บุตรบวชชื่อว่าได้เป็นทายาทแห่งพระศาสนา]................๘๖[พระมหินทเถระได้บรรลุพระอรหัตเวลาอุปสมบท]..................๘๘[พระเจ้าอโศกทรงตั้งมูลนิธิถวายสงฆ์ ๕๐๐,๐๐๐]...................๘๙[พวกเดียรถีย์ปลอมบวชในพระพทุธศาสนา]............................๙๐[พวกเดียรถีย์แสดงลัทธินอกพุทธศาสนา].................................๙๐[พระเจ้าอโศกทรงใช้อมาตย์ให้ไประงับอธิกรณ์].......................๙๑

    [ประวัติของพระติสสเถระจะออกบวช].....................................๙๑[พระติสสเถระนั่งกันไม่ให้อมาตย์ตัดศีรษะพระ].......................๙๔[พวกภิกษุถวายความเห็นแด่พระราชาเป็น ๒ นัย]...................๙๔[พระโมคคลีบุตรติสสเถระไม่มาเพราะอาราธนาไม่ถูกเร่ือง].....๙๕[พระเจ้าอโศกมหาราชทรงพระสุบินเห็นช้างเผือกล้วน]...........๙๗[ราชบุรุษถือดาบจะตดัศีรษะพระโมคคลีบุตรติสสเถระ]...........๙๗[พระเจ้าอโศกทรงสงสัยท่านพระโมคคลีบุตรติสสเถระ]...........๙๘[พระโมคคลีบุตรติสสเถระอธิษฐานให้แผ่นดินไหว]..................๙๙[พระเจ้าอโศกตรัสถามข้อสงสัยในเร่ืองบาป].........................๑๐๐[พระโมคคลีบุตรติสสเถระอ้างพระพทุธพจน์เล่าอดีตนิทาน].๑๐๐[พระเจ้าอโศกทรงชำาระเส้ียนหนามแห่งพระพุทธศาสนา].....๑๐๑[พระเจ้าอโศกทรงรับส่ังให้สึกพวกที่มใิช่ภิกษุ ๖๐,๐๐๐ รูป].๑๐๒[พระโมคคลีบุตรติสสเถระเลือกภิกษุพันรูปทำาตติยสังคายนา]...............................................................................................๑๐๓

    เร่ืองนำาพระวินัยปฎิกสืบต่อกันมา.........................................๑๐๕[รายนามพระเถระผู้นำาพระวินัยปิฎกสืบต่อมาจนถึงทุกวันนี้]๑๐๕

    เร่ืองส่งพระเถระไปประกาศพระศาสนาในต่างประเทศ..........๑๐๘[พระมัชฌันติกเถระไปประกาศพระศาสนาที่กัสมีรคันธารรัฐ]...............................................................................................๑๐๙[พญานาคอารวาฬแผลงฤทธ์ิไล่พระเถระ]..............................๑๐๙[พระเถระทรมานพวกนาคให้คลายพยศแล้ว]........................๑๑๐[พระเถระให้โอวาทพวกยักษแ์ละรากษสเป็นต้น]..................๑๑๑[พระมหาเทวเถระไปประกาศพระศาสนาที่มหิสสกมณฑล]. .๑๑๒[พระรักขิตเถระไปประกาศพระศาสนาที่แคว้นวนวาสี].........๑๑๓[พระโยนกธรรมรักขิตเถระไปประกาศพระศาสนาที่อปรันตกชนบท]....................................................................................๑๑๓[พระมหาธรรมรักขติเถระไปประกาศพระศาสนาที่มหารัฐ]...๑๑๔[พระมหารักขติเถระไปประกาศพระศาสนาที่รัฐโยนก].........๑๑๔[พระมัชฌิมเถระไปประกาศพระศาสนาที่หิมวันตประเทศ]...๑๑๕[พระโสณกะกับพระอุตตระไปประกาศพระศาสนาที่สุวรรณภูมิ]...............................................................................................๑๑๕[พระเถระทรมานพวกรากษสให้หนีไปแล้วป้องกันเกาะไว้]. . .๑๑๖[พระมหินทเถระไปประกาศพระศาสนาที่เกาะลังกา]............๑๑๗[พระมหินทเถระเที่ยวเย่ียมญาติจนกว่าจะถึงเวลาไปเกาะลังกา]...............................................................................................๑๑๘[ประวัติย่อของพระมหินทเถระ].............................................๑๑๘

  • หน้า ๔ • •

    [พระอินทร์ทรงเล่าเร่ืองพระพทุธพยากรณ์ถวายให้พระมหินท์ทราบ].....................................................................................๑๒๐[พระมหินทเถระพร้อมกับคณะไปเกาะลังกา]........................๑๒๐[ลำาดับราชวงศ์ที่เสวยราชย์ในเกาะลังกาและชมพูทวีป]........๑๒๑[พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะทรงพบพระมหินทเถระ]...............๑๒๔[ไม้ไผ่ ๓ ลำาประมาณค่าไมไ่ด้ เกิดแก่พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ]...............................................................................................๑๒๕[รัตนะคือแก้ววิเศษ ๘ ชนดิเกิดแก่พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ]...............................................................................................๑๒๖[พระเจ้าอโศกส่งเบญจราชกกุธภัณฑ์ไปถวายพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะ].....................................................................................๑๒๗[พระเถระแสดงให้พระราชาทรงเห็นจริงอีก ๖ คน]...............๑๓๐[พระเถระถามปัญหาเพื่อหย่ังทราบพระปัญญาของพระราชา]...............................................................................................๑๓๑[พระราชาพร้อมด้วยข้าราชบริพารดำารงอยู่ในไตรสรณคมน์] ๑๓๒[สุมนสามเณรประกาศโฆษณาเวลาฟังธรรมทั่วเกาะลังกา]....๑๓๓[เสียงโฆษณาเวลาฟังธรรมกระฉ่อนไปถึงชั้นพรหมโลก]........๑๓๓[พระปฐมเจดีย์เมืองอนุราธบุรี]..............................................๑๓๔[พระราชาทรงรับส่ังให้เตรียมการต้อนรับพระเถระ]..............๑๓๔[พระเถระแสดงธรรมโปรดพระราชาและชาวเกาะ]...............๑๓๖[พระราชาถวายอุทยานสร้างวัด]............................................๑๓๗[พระเถระแสดงธรรมโปรดชาวเกาะตดิต่อกันไป]..................๑๓๘[พระราชาทรงรถตดิตามพระเถระไป]....................................๑๓๙[อริฏฐอมาตย์ขอพระบรมราชานุญาตบวช]...........................๑๔๐[พระเถระแนะให้หาส่ิงที่ควรกราบไหว้บูชา]..........................๑๔๐[สุมนสามเณรรับจัดหาพระธาตุ]............................................๑๔๑[พระเถระส่ังการให้สุมนสามเณรไปเชิญพระธาตุ]..................๑๔๒[สุมนสามเณรไปเชิญพระธาตุมาเกาะลังกาตามเถรบัญชา]....๑๔๒[พระเถระและราชาตลอดถึงชาวเกาะต้อนรับพระธาตุ].........๑๔๓[ช้างนำาพระธาตุไปยังที่จะสร้างพระเจดีย์].............................๑๔๔[ประวัติเกาะลังกาเกี่ยวกับพระพทุธเจ้า]................................๑๔๕[ช้างไม่ยอมให้ยกพระธาตุลงจากกระพอง]............................๑๔๘[พระธาตุแสดงปาฏิหาริย์แก่มหาชน].....................................๑๔๙[พระพทุธเจ้าเคยเสด็จไปเกาะลังกาเมื่อยังทรงพระชนม์อยู่]. ๑๕๐[กุลบุตรชาวเกาะออกบวชในพระศาสนา]..............................๑๕๑[พระนางอนุฬาเทวีทรงมีพระประสงค์จะบวช]......................๑๕๒[พระราชาส่งทตูไปยังชมพูทวีป].............................................๑๕๒

    [ทตูถวายพระราชสาสน์และเถรสาสน์]..................................๑๕๓[พระเจ้าอโศกตั้งพระทัยจะส่งต้นมหาโพธิ์ไปเกาะลังกาอยู่ก่อน]...............................................................................................๑๕๔[มหาอธิษฐาน ๕ ข้อ ของพระผู้มีพระภาค]...........................๑๕๕[วิสสุกรรมเทพบุตรปลอมตัวเป็นช่างเนรมิตกระถางทอง].....๑๕๖[พระราชาพร้อมด้วยเสนาเสด็จไปยังต้นมหาโพธ์ิ].................๑๕๖[พระราชาทรงทำาสัตยาธิษฐาน]..............................................๑๕๗[กิ่งต้นมหาโพธ์ิลอยขึ้นไปอยู่บนท้องฟ้า ๗ วัน]......................๑๕๙[ต้นมหาโพธ์ิแตกหน่อออกใหม่].............................................๑๖๐[พระเจ้าอโศกทรงตั้งตระกูลต่างๆ ไว้เพื่อรักษาต้นมหาโพธ์ิ]..๑๖๑[พระเจ้าอโศกทรงลุยนำ้าส่งต้นมหาโพธ์ิไปเกาะลังกา]............๑๖๑[พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะกรุงลังกาเตรียมต้อนรับต้นมหาโพธ์ิ]...............................................................................................๑๖๒[พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะพักต้นมหาโพธ์ิไว้ในปูชนียสถาน ๔ แห่ง].......................................................................................๑๖๓[ต้นมหาโพธ์ิแสดงอทิธิปาฏิหาริย์]..........................................๑๖๔[ต้นมหาโพธ์ิแตกสาขาออกถึง ๘ ต้นและ ๓๒ ต้น]................๑๖๕[พระนางอนุฬาเทวีและอริฏฐอมาตย์ผนวชแล้วสำาเร็จพระอรหัต]...............................................................................................๑๖๖[พระศาสนาจักตั้งมั่นเพราะกุลบุตรชาวเกาะลังกาบวชเรียน]๑๖๖[พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะสร้างมณฑปเพื่อทำาจตตุถสังคายนา]...............................................................................................๑๖๙

    เร่ิมเร่ืองจตุตถสงัคายนา........................................................๑๗๐[แก้บทมาติกาว่า พระวินัยปิฎกตั้งอยู่แล้วในบุคคลใด]..........๑๗๒[อานิสงส์แห่งการเรียนพระวินัย ๕ ข้อ]..................................๑๗๒[วินัยเป็นข้อปฏิบัติให้บรรลุความหลุดพันจากกิเลสเป็นที่สุด]๑๗๓[คาถาสรูปเร่ือง]......................................................................๑๗๔

    เวรญฺชกณฺฑวณณฺนา............................................................๑๗๖[อธิบายบทว่า “เตน” เป็นต้น]...............................................๑๗๖[อธิบายบทว่า “สมเยน” เป็นต้น]..........................................๑๗๗[อรรถาธิบายคำาว่า เวรญฺชายำ วิหรติ].....................................๑๘๑[อรรถาธิบายคำาว่า นเฬรูปุจิมนฺทมูเล เป็นต้น].......................๑๘๑[อธิบายคำาว่า เวรญฺชายำ และ นเฬรูปุจิมนฺทมูเล]...................๑๘๓[อธิบายคำาว่า “มหตา ภิกขฺุสงฺเฆน สทฺธึ “]............................๑๘๔[อธิบายคำาว่า “อสฺโสสิ โข” เป็นต้น]......................................๑๘๕[อธิบายเร่ืองที่พราหมณ์ได้ฟัง]...............................................๑๘๖

  • หน้า ๕ • •

    พุทธคุณกถา........................................................................ ๑๘๘[อธิบายพุทธคุณบทว่า อรหำ]..................................................๑๘๘[สังสารวัฏ คือปฏิจจสมุปบาทเป็นปัจจัยกัน].........................๑๘๙[ธัมมัฏฐิติญาณ]......................................................................๑๙๒[สังเขปและอัทธาในปฏิจจสมุปบาท].....................................๑๙๒[วัฏฏะและสนธิ ๓ ในปฏิจจสมุปบาท]...................................๑๙๒[อธิบายพุทธคุณบทว่า สมฺมาสมฺพุทโฺธ]..................................๑๙๔[อรรถาธิบายพุทธคุณบทว่า วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน]..................๑๙๖[อรรถาธิบายพระพทุธคุณบทว่า สุคโต].................................๑๙๗[อรรถาธิบายพุทธคุณบทว่า โลกวิทู]......................................๑๙๙[อรรถาธิบายโลก ๓]...............................................................๒๐๐[พระผู้มีพระภาคทรงรู้แจ้งโลกทั้ง ๓].....................................๒๐๑[ขนาดพระจันทร์เป็นต้นประมาณ ๔๙ โยชน์].......................๒๐๔[อรรถาธิบายพระพทุธคุณบทว่า อนุตตฺโร]............................๒๐๕[อรรถาธิบายพระพทุธคุณบทว่า ปุริสทมฺมสารถิ]..................๒๐๕[อรรถาธิบายพระพทุธคุณบทว่า สตถฺา].................................๒๐๗[อรรถาธิบายพระพทุธคุณบทว่า เทวมนุสฺสานำ].....................๒๐๗[เร่ืองกบฟังธรรมของพระพุทธเจ้าได้เป็นเทพบุตร]................๒๐๘[อรรถาธิบายพระพทุธคุณบทว่า พทฺุโธ].................................๒๐๙[อรรถาธิบายพระพทุธคุณบทว่า ภควา].................................๒๐๙[ชื่อมี ๔ อย่าง].......................................................................๒๑๐[พระผู้มีพระภาคทรงหักกิเลสได้ตั้งแสนอย่าง].......................๒๑๒[อรรถาธิบาย สเทวกะ ศัพท์ เป็นต้น]....................................๒๑๔[อรรถาธิบาย สยำ ศัพท์เป็นต้น]..............................................๒๑๖[พระธรรมงามในเบ้ืองต้นท่ามกลางและที่สุด].......................๒๑๗[อรรถาธิบายศัพท์ว่า สาตฺถำ สพฺยญฺชนำ].................................๒๑๘[อรรถาธิบายวิเสสนสัพพนามว่า เยน เตน]............................๒๒๑[อรรถาธิบายศัพท์ว่า สมฺโมทนียำ และ สาราณียำ]...................๒๒๒[อรรถาธิบายสองศัพท์ เอกมนฺตำ นิสีทิ]..................................๒๒๒[การนั่งเว้นโทษ ๖ อย่าง].......................................................๒๒๓[อรรถาธิบายศัพท์ต่างๆ มี เอตำ ศัพท์ เป็นต้น].......................๒๒๔[พระผู้มีพระภาคทรงคัดค้าน]................................................๒๒๖[เวรัญชพราหมณ์กล่าวตู่พระพุทธเจ้าว่าเป็นคนไม่มีรส].........๒๒๗[ปริยายศัพท์ลงในอรรถ ๓ อย่าง]..........................................๒๒๘[พระผู้มีพระภาคทรงละรสในรูปเป็นต้นได้เดด็ขาด]..............๒๒๙[อรรถาธิบายศัพท์ อนภาวำ กตา-อนภาวำ คตา]......................๒๓๐[เวรัญชพราหมณ์กล่าวหาพระพุทธเจ้าว่าเป็นผู้ไร้โภคะ]........๒๓๑

    [เวรัญชพราหมณ์กล่าวหาพระพทุธองค์ว่าเป็นผู้กล่าวการขาดสูญ]...............................................................................................๒๓๒[เวรัญชพราหมณ์กล่าวหาพระพทุธองค์ว่าเป็นผู้รังเกียจ].......๒๓๓[เวรัญชพราหมณ์กล่าวหาพระพทุธเจ้าว่าเป็นผู้กำาจัด]...........๒๓๓[เวรัญชพราหมณ์กล่าวหาพระพทุธองค์ว่าเป็นผู้มักเผาผลาญ]...............................................................................................๒๓๔[เวรัญชพราหมณ์กล่าวหาพระพทุธเจ้าว่าเป็นผู้ปราศจากครรภ์]...............................................................................................๒๓๖[ไกต่ัวออกก่อนเรียกว่าไก่ตัวพี่]..............................................๒๓๙[โพธิศัพท์หมายความถึง ๔ นัย].............................................๒๔๑[ข้อเปรียบเทียบการทรงบำาเพ็ญอนุปัสสนาเหมือนการฟักไข่]...............................................................................................๒๔๒[พระผู้มีพระภาคเป็นผู้ประเสริฐเพราะบำาเพ็ญเพียร]............๒๔๔

    กถาว่าดว้ยปฐมฌาน............................................................๒๔๖[อธิบาย เอว อักษร]...............................................................๒๔๖[อรรถาธิบายองค์ ๕ แห่งปฐมฌาน].......................................๒๕๑[อรรถาธิบายองค์ฌาน คือ ปีติ และสุข].................................๒๕๓[ฌานย่อมเผาผลาญธรรมที่เป็นข้าศึก]...................................๒๕๔[ฌานมี ๒ นัย]........................................................................๒๕๕[ความหมายแห่ง อุปสัมปัชชศัพท์].........................................๒๕๗

    กถาว่าดว้ยทุติยฌาน............................................................๒๕๙[อรรถาธิบาย อัชฌตัตศัพท์]...................................................๒๕๙[อรรถาธิบาย สัมปสาทนศัพท์]..............................................๒๕๙[อรรถาธิบาย เอโกทิภาวศัพท์]...............................................๒๖๐[อรรถาธิบายทตุิยฌานไม่มีวิตกและวิจารเพราะสงบไปแล้ว].๒๖๑[ปฐมฌานมีองค์ ๕ ทุติยฌานมีองค์ ๓]..................................๒๖๓

    กถาว่าดว้ยตตยิฌาน............................................................๒๖๕[อุเบกขา ๑๐ อย่าง]...............................................................๒๖๖[อรรถาธิบายลักษณะแห่งอุเบกขา]........................................๒๖๗[อธิบายลักษณะแห่งสตแิละสัมปชัญญะ]...............................๒๖๗[ทตุิยฌานมีองค์ ๔ ตติยฌานมีองค์ ๕]..................................๒๗๐

    กถาว่าดว้ยจตตุถฌาน..........................................................๒๗๒[อรรถาธิบายอุเบกขาในจตุตถฌาน]......................................๒๗๖[ตติยฌานมีองค์ ๕ จตุตถฌานมีองค์ ๓]................................๒๗๘[อรรถาธิบายฌาน ๔ ของบุคคล ๕ ประเภท]........................๒๗๘

  • หน้า ๖ • •

    กถาว่าด้วยปุพเพนิวาสญาณ................................................๒๘๐[จิตประกอบด้วยธรรม ๖ อย่าง เป็นจิตไม่หว่ันไหว]..............๒๘๑[อรรถาธิบายวิเคราะห์ ปุพเพนิวาสศัพท์]..............................๒๘๓[อรรถาธิบายเร่ืองกัป].............................................................๒๘๕[พทุธเขต ๓ พร้อมทั้งอรรถาธิบาย]........................................๒๘๖[พวกเดียรถีย์ระลึกชาตไิด้ ๔๐ กัป]........................................๒๘๙[พระอสีติมหาสาวกระลึกชาติได้แสนกัป]..............................๒๘๙

    กถาว่าด้วยทิพยจกัษุ............................................................๒๙๓[อรรถาธิบายคำาว่าทิพยจักษุเป็นต้น]......................................๒๙๓[ทิพยจักษุของพระผู้มีพระภาคปราศจากอุปกิเลส ๑๑ อย่าง]...............................................................................................๒๙๕[ลำาดับความเกิดขึ้นแห่งยถากัมมูปคญาณ].............................๒๙๗[การด่าพระอริยเจ้าห้ามสวรรค์และห้ามมรรค]......................๒๙๙[เร่ืองภิกษุหนุ่มกล่าวใส่ร้ายพระอริยเจ้าชั้นสูง]......................๒๙๙[วิธีขอขมาเพื่อให้อดโทษให้ในการด่าใส่ร้าย].........................๓๐๐[การกล่าวใส่ร้ายพระอริยเจ้ามีโทษเช่นกับอนันตริยกรรม]....๓๐๑[อรรถาธิบายคำาว่านรกได้ชื่อว่าอบายเป็นต้น]........................๓๐๒

    กถาว่าด้วยอาสวักขยญาณ...................................................๓๐๕[พระผู้มีพระภาคทรงเกิดก่อนใครทั้งหมดด้วยคุณธรรม].......๓๐๘[เวรัญชพราหมณ์ได้สติรู้สึกตัว]...............................................๓๐๙[อรรถาธิบายอภิกกันตศัพท์ลงในอรรถ ๔ และ ๙ อย่าง]......๓๑๐[ปาพจน์มีความดี ๑๘ อย่าง]..................................................๓๑๒[เวรัญชพราหมณ์ชมเชยพระธรรมเทศนาด้วยอุปมา ๔ อย่าง]...............................................................................................๓๑๒[เวรัญชพราหมณ์แสดงตนถึงพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง]..............๓๑๓[อรรถาธิบายคำาว่าพระธรรม].................................................๓๑๔[อรรถาธิบายคำาว่า พระสงฆ์].................................................๓๑๕[อธิบายอัคคะศัพทท์ี่ลงในอรรถ ๔ อย่าง]..............................๓๑๗[เวรัญชพราหมณ์ไม่กล่าวล่วงเกินพระรัตนตรัยจนตลอดชีวิต]...............................................................................................๓๑๘[พราหมณ์ทูลขอให้พระผู้มีพระภาคจำาพรรษา ณ เมืองเวรัญชา]...............................................................................................๓๑๘[พระผู้มีพระภาคทรงรับการอยู่จำาพรรษาเมืองเวรัญชา]........๓๑๙

    เมืองเวรัญชาเกิดทุพภกิขภัย.................................................๓๒๐[เมืองเวรัญชามีปันส่วนซื้ออาหารเล้ียงชีพ]............................๓๒๑[พ่อค้าม้าถวายข้าวทะนานหนึ่งแก่ภกิษุรูปหนึ่ง]....................๓๒๓

    [อรรถาธิบาย ปุพพัณหสมัยศัพท์]..........................................๓๒๕[พวกภิกษไุด้ข้าวแดงแล่งหนึ่งๆ นำาไปจัดการฉันเอง].............๓๒๖[พ่อค้าม้าถวายข้าวแดงแด่พระผู้มีพระภาค]..........................๓๒๖[พระผู้มีพระภาคตรัสรู้แล้ว ๒๐ ปี ไม่มีผู้อุปัฏฐากประจำา]... .๓๒๗[พราหมณ์และชาวเมืองไมไ่ด้ถวายภัตแด่พระผู้มีพระภาค]. . .๓๒๘[มารไม่สามารถทำาอันตรายแก่ปัจจัย ๔ ได้]...........................๓๒๙[พระผู้มีพระภาคตรัสถามส่ิงที่เป็นประโยชน์]........................๓๓๐[พวกภิกษุจำาพรรษาเมืองเวรัญชาชนะความอดอยากได้].......๓๓๒

    มหาโมคคัลลานสหีนาทกถา..................................................๓๓๕[ท่านพระมหาโมคคัลลานะทูลขออนุญาตพลิกแผ่นดิน]........๓๓๕[ภายใตแ้ผ่นดิน มีง้วนดินที่มีรสโอชา]....................................๓๓๕[พระผู้มีพระภาคไม่ทรงอนุญาตให้พลิกแผ่นดิน]...................๓๓๗เร่ืองปัญหาของพระสารีบุตร..................................................๓๓๙[พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเพราะบริษัทมีมากหรือน้อยก็หาไม่]...............................................................................................๓๔๑[พระวิปัสสีเป็นต้นหาได้ทรงบัญญตัิสิกขาบทเป็นต้นไม่]........๓๔๓[พวกเทวดาบอกวันทำาอุโบสถแก่พวกภิกษุ]...........................๓๔๔[โอวาทปาฏิโมกขคาถา].........................................................๓๔๔[เหตุที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงทำาอุโบสถและปาฏิโมกข์]..............๓๔๕[เหตุให้พระศาสนาดำารงอยู่ไม่นานและนาน].........................๓๔๖[ความต่างกันแห่งอายุกาลของพระวิปัสสีพุทธเจ้าเป็นต้น]....๓๕๑[เหตุที่พระพุทธเจ้าของเราเกิดในกาลแห่งคนมีอายุน้อย]......๓๕๓[พระสารีบุตรทูลให้ทรงบัญญัติสิกขาบท]..............................๓๕๓[พระผู้มีพระภาคตรัสห้ามท่านพระสารีบุตร].........................๓๕๔[ข้อที่จะถูกตำาหนิในการบัญญตัิสิกขาบท]..............................๓๕๕[เปรียบด้วยแพทย์ผู้ไม่ฉลาดทำาการผ่าตัด].............................๓๕๕[อธิบายเหตุที่ให้ทรงบัญญัติสิกขาบท]...................................๓๕๗[อรรถาธิบาย คำาว่า นิรพฺพุโท เป็นต้น]..................................๓๖๐[อาจิณณะ ความเคยประพฤติมามี ๒ อย่าง].........................๓๖๓[พระพุทธเจ้าเสด็จเที่ยวจาริกไปเฉพาะ ๓ มณฑล]................๓๖๓[สาวกาจิณณะ ความเคยประพฤติมาของพระสาวก].............๓๖๕[เวรัญชพราหมณ์ทูลเร่ืองที่มไิด้ถวายทานตลอดไตรมาส]......๓๖๖[เวรัญชพราหมณ์ทูลอาราธนาพระพุทธเจ้าเพื่อเสวยภัตตาหาร]...............................................................................................๓๖๗[พระผู้มีพระภาคทรงรับคำาอาราธนาของพราหมณ์]..............๓๖๘[เวรัญชพราหมณ์ส่ังให้เตรียมภัตตาหารถวายพรุ่งนี้].............๓๖๘[พระผู้มีพระภาคเสด็จไปยังนิเวศน์ของเวรัญชพราหมณ์]......๓๖๙

  • หน้า ๗ • •

    [พราหมณ์ถวายไตรจีวรแก่พระผู้มีพระภาคและพระภิกษุสงฆ์]...............................................................................................๓๗๐[พระผู้มีพระภาคเสด็จจากเมืองเวรัญชาไปประทับที่เมืองไพศาลี]...............................................................................................๓๗๑

    ปฐมปาราชิกวณณฺนา...........................................................๓๗๓[เร่ืองพระสุทิน].......................................................................๓๗๓[อรรถาธิบายชื่อบ้านและชื่อบุตรเศรษฐี]...............................๓๗๓[สุทินกลันทบุตรไปเพื่อฟังธรรม]............................................๓๗๔[สุทินกลันทบุตรได้ฟังธรรมแล้วคิดจะบวช]...........................๓๗๕[สุทินกลันทบุตรทูลขอบรรพชากะพระผู้มีพระภาค]..............๓๗๖[มารดาบิดาไม่อนุญาตให้สุทินบวช].......................................๓๗๘[สหายไปห้ามไม่ให้สุทินบวชไม่สำาเร็จ]...................................๓๘๐[สหายไปขออนุญาตมารดาบิดาให้สุทินบวช].........................๓๘๑[มารดาบิดาอนุญาตให้สุทินบุตรชายบวช].............................๓๘๑[พระพทุธเจ้ารับส่ังภิกษุบวชให้สุทินกลันทบุตร]....................๓๘๒[ญาตขิองท่านสุทินที่เมืองไพศาลีมีสมบัติมาก]......................๓๘๓[ญาตินำาภัตตาหารไปถวายท่านสุทิน ๖๐ ถาด].....................๓๘๔[อธิบายเร่ืองขนมบูด].............................................................๓๘๕[พระสุทินออกบวชได้ ๘ ปี นางทาสีจำาอวัยวะบางส่วนได้]....๓๘๖[พวกบรรพชิตไม่นั่งฉันในทีไ่ม่สมควร เหมือนคนขอทาน].....๓๘๗[บิดาติเตียนพระสุทินว่าฉันขนมบูดเหมือนดื่มนำ้าอมฤต].......๓๘๘[บิดามอบทรัพย์เพื่อให้พระสุทินสึก]......................................๓๙๐[บิดาส่ังภรรยาเก่าให้ล่อหลอกพระสุทินสึก]..........................๓๙๒[มารดาขอร้องให้พระสุทินเพาะพืชพันธ์ุไว้]............................๓๙๔[สตรีมีระดูหยุดก็ตั้งครรภ์]......................................................๓๙๕[พระผู้มีพระภาคทรงบัญญตัิปฐมปาราชิกเมื่อ ๒๐ พระพรรษา]...............................................................................................๓๙๕[เหตทุี่ให้สตรีตั้งครรภ์มี ๗ อย่าง]...........................................๓๙๖[เทวดาประกาศความชั่วของพระสุทิน]..................................๓๙๙[บุตรชายของท่านพระสุทินชื่อว่าพีชกะ]................................๔๐๐[มารดาและพีชกทารกบวชแล้วได้สำาเร็จพระอรหัต]..............๔๐๑[ท่านพระสุทินเดือดร้อนใจเพราะประพฤติชั่วหยาบ].............๔๐๑[พวกภิกษุสหายถามท่านพระสุทินถึงความซูบผอม]..............๔๐๓[พวกภิกษุสหายเห็นด้วยว่ากรรมนั้นให้เกิดความสำาราญได้]..๔๐๔[อรรถาธิบายชื่อพระนิพพาน ๙ บท].....................................๔๐๕[ภกิษุทั้งหลายกราบทูลเร่ืองพระสุทินเสพเมถุนธรรม]...........๔๐๗[พระผู้มีพระภาคทรงตำาหนิพระสุทิน]....................................๔๐๘

    [อรรถาธิบายกรรมที่ไม่ควรแก่สมณะเป็นต้น]........................๔๐๙[พระสุทินเป็นคนแรกในการเสพเมถุนธรรม]..........................๔๑๒[ผู้ไม่ตั้งอยู่ในสังวรเป็นผู้มักมากในปัจจัย ๔]..........................๔๑๓[ผู้ตั้งอยู่ในสังวรไม่เป็นผู้มักมากในปัจจัย ๔]..........................๔๑๔[ผู้ตั้งอยู่ในสังวรเป็นผู้ไม่ส่ังสมกิเลสทั้งปวง]...........................๔๑๔[ประโยชน์แห่งการบัญญัติสิกขาบท ๑๐ อย่าง].....................๔๑๗[อธิบายประโยชน์ของการบัญญตัิสิกขาบท ๑๐ อย่าง]..........๔๑๗[พระสัทธรรม ๓ อย่าง]..........................................................๔๒๐[ทรงบัญญัติปฐมปาราชิกสิกขาบท]........................................๔๒๒

    อนุบญัญัติปฐมปาราชิกเร่ืองที่หนึง่...................................๔๒๔[เร่ืองลิงตัวเมีย].......................................................................๔๒๔[ลิงตัวเมียแสดงของลับแก่ภิกษุอาคันตุกะ]............................๔๒๕[สิกขาบททั้งหมด มโีทษ ๒ อย่าง].........................................๔๒๖

    อนุบญัญัติปฐมปาราชิกเร่ืองที่สอง....................................๔๒๘[เร่ืองภิกษุชาววัชชีบุตร].........................................................๔๒๘[เร่ืองทรงห้ามมิให้ภิกษุชาววัชชีบุตรบรรพชาอุปสมบท]........๔๓๐[วินัย ๔ อย่าง]........................................................................๔๓๑[อรรถาธิบายวินัย ๔ อย่าง]....................................................๔๓๒[วิธีสอบสวนสูตรและสุตตานุโลมเป็นต้น]..............................๔๓๓[พระวินัยธรประกอบด้วยลักษณะ ๓ อย่าง]..........................๔๓๙[อรรถาธิบายลักษณะ ๓ ของพระวินัยธร]..............................๔๓๙[ลำาดับอาจารย์ตั้งแต่พระอุบาลีเถระเป็นต้นมา].....................๔๔๑[พระวินัยธรจะวินิจฉัยอธิกรณ์ ควรตรวจดูฐานะ ๖ อย่างก่อน]...............................................................................................๔๔๒[อรรถาธิบายฐานะ ๖ อย่าง]..................................................๔๔๒[วิธีวินิจฉัยอธิกรณ์].................................................................๔๔๓[ภิกษุผู้มีศีลไม่บริสุทธ์ิ กรรมฐานย่อมไม่เจริญ]......................๔๔๕

    อรรถาธิบายสิกขาบทวิภงัค์ปฐมปาราชิก..........................๔๔๗[อรรถาธิบายความหมายแห่งภิกษุศัพท์เป็นต้น]....................๔๔๙[วิธีอุปสมบท ๘ อย่าง]...........................................................๔๕๒[อรรถาธิบายอุปสัมปทา ๘ อย่าง]..........................................๔๕๓[อรรถาธิบายอธิศีล อธิจิต อธิปัญญา]....................................๔๕๘[อรรถาธิบายบทว่า สิกขาและสาชีพ].....................................๔๖๑[อรรถาธิบายวิธีลาสิกขา].......................................................๔๖๒[ภิกษตุะโกนบอกลาสิกขาก็ได้]...............................................๔๗๐[การบอกลาสิกขาระบุพระนามที่เป็นไวพจน์ของพระพุทธเจ้า]...............................................................................................๔๗๒

  • หน้า ๘ • •

    [วิธีลาสิกขาระบุคำาไวพจน์พระธรรม].....................................๔๗๓[วิธีลาสิกขาระบุคำาไวพจน์พระสงฆ์].......................................๔๗๔[อรรถาธิบายวิธีบอกลาสิกขาทั่วไป].......................................๔๗๔[ลาสิกขากับคนวิกลจริตเป็นต้นไม่เป็นอันบอกลา]................๔๘๑[อรรถาธิบายความหมายแห่งเมถุนธรรม]..............................๔๘๕[สตรีนิมิตได้ฐาน ๕ บุรุษนิมิตได้ฐาน ๖]................................๔๘๗[ภกิษุเมื่อจะพรรณนาเมถุนกถา ควรระลึกถึงพระพทุธคุณ]. .๔๘๘

    อนุปัญญตัิวาร..................................................................๔๘๙[กำาหนดสัตว์ที่เป็นวัตถแุห่งปาราชิกเป็นต้น]..........................๔๘๙[อรรถาธิบายประเภทสัตว์ต่างๆ]............................................๔๘๙[ปาราชิกศัพท์เป็นไปในสิกขาบทเป็นต้น]..............................๔๙๐[อรรถาธิบายความในพระคาถา]............................................๔๙๒[มรรคที่เป็นวัตถุแห่งปาราชิกรวม ๓๐]..................................๔๙๓[ภกิษุถูกผู้อื่นข่มขืนแล้วยินดีเป็นปาราชิก].............................๔๙๕

    กถาว่าด้วยจตุกกะ ๒๖๙ ที่เหลือ......................................๔๙๗[มรรคของมนุษย์ผู้หญิงมี ๒๗ จตกุกะ]..................................๔๙๘[เร่ืองพระวินัยธร ๒ รูป].........................................................๔๙๙[เร่ืองอันเตวาสิกถามปัญหาวินัยพระเถระ]............................๕๐๐

    กถาว่าด้วยองคชาตมีเคร่ืองลาดและไม่มี..........................๕๐๕เร่ืองพระราชาและโจรผู้เป็นข้าศึกต่อภิกษุเป็นต้น.............๕๐๘[ข้าศึกสังหารภิกษุเซ่นไหว้เทวดาเพื่อสำาเร็จการงาน].............๕๐๘

    เร่ืองภกิษุเสพเมถุนธรรมทางมรรคและมิใช่มรรค..............๕๑๐[ภกิษุเสพเมถุนธรรมในทวารของภิกษุหลับไม่พ้นอาบัติ].......๕๑๐[ภกิษุผู้ถูกปฏิบัติผิดไม่รู้ ไม่ยินดี ไม่เป็นอาบัติ]......................๕๑๑[ไม่เป็นอาบัติแก่ภกิษุบ้าและมีจิตฟุ้งซ่าน]..............................๕๑๑

    สมฏุฐานทีเ่กิดแหง่อาบติัมี ๖ อย่าง.......................................๕๑๔[อธิบายสิกขาบทที่เป็นสจิตตกะและอจิตตกะ]......................๕๑๔[อธิบายสิกขาบทที่เป็นกายกรรมเป็นต้น]..............................๕๑๕

    วนิีตวัตถุปฐมปาราชิก..........................................................๕๑๘[อทุานคาถา]..........................................................................๕๑๘[เร่ืองนันทมาณพเสพเมถุนธรรมกับนางอุบลวรรณาเถรี].......๕๒๐[เร่ืองเพศชายกลับเป็นเพศหญิง]............................................๕๒๒[ต้องอาบัติเพราะนอนร่วมกับภิกษุผู้มีเพศกลับ]....................๕๒๓[วิธีปฏิบัติกับภิกษุณีผู้มีเพศกลับ]...........................................๕๒๔[วิธีปฏิบัติในเคร่ืองบริขารต่างๆ]............................................๕๒๖[ขาดประเคนเพราะเหตุ ๗ อย่าง]..........................................๕๒๖

    [ภิกษุเสพเมถุนธรรมทางปากศพเป็นปาราชิก]......................๕๓๐[ภิกษุเสพเมถุนธรรมในหญิงเปรตเป็นต้นเป็นปาราชิก].........๕๓๑[เร่ืองภิกษุอรหันต์ชาวภัททิยนครจำาวัดหลับ].........................๕๓๓[เร่ืองภิกษุเปิดประตูจำาวัด].....................................................๕๓๔[อธิบายประตูเช่นไรควรปิดและไมค่วรปิด]............................๕๓๕[เร่ืองภิกษุฝันได้เสพเมถุนธรรม].............................................๕๓๙

    ทุติยปาราชิกวณณฺนา...........................................................๕๔๒[เร่ืองพระธนิยะกุมภการบุตร]................................................๕๔๒[ภิกษุจำาพรรษาไม่มีเสนาสนะ ปรับอาบัตทิุกกฏ]...................๕๔๔[ปรับอาบัติทุกกฏแก่ภิกษุผู้สร้างกุฎีด้วยดินล้วน]...................๕๔๘[พระผู้มีพระภาคทรงรับส่ังให้ทำาลายกุฎีเป็นอกัปปิยะ].........๕๔๙[ข้อแนะนำาเร่ืองการใช้ร่มและจีวร].........................................๕๕๐[วิธีซักและย้อมจีวร]...............................................................๕๕๒[บริขารที่ควรใช้และไม่ควรใช้]................................................๕๕๓[กล่องยาตาที่ควรใช้และไม่ควรใช้].........................................๕๕๔[ฝักกุญแจและบริขารเบ็ดเตล็ดที่ควรใช้และไม่ควรใช้]...........๕๕๕[เสนาสนะที่ผิดควรทำาลายเสีย]..............................................๕๕๗

    พระธนิยะเร่ิมสร้างกุฎีไม้...................................................๕๕๙[วัสสการพราหมณ์ลงโทษเจ้าพนักงานผู้รักษาไม้]?................๕๕๙[ประชาชนเพ่งโทษติเตียนเหล่าสมณศายบุตร]......................๕๖๒[ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท]..........................................๕๖๓[พระพุทธเจ้าทกุองค์ ปรับโทษถึงที่สุดเพียงบาทเดียว]..........๕๖๕

    เร่ืองอนุบัญญัติทุติยปาราชกิ.................................................๕๖๗[อรรถาธิบายบ้านที่มีกระท่อมหลังเดียวเป็นต้น]....................๕๖๗[อรรถาธิบายเขตอุปจารบ้านและเรือนเป็นต้น]......................๕๖๘[อรรถาธิบายกำาหนดเขตป่า]..................................................๕๗๒[อรรถาธิบายส่ิงของที่เจ้าของมีกรรมสิทธ์ิอยู่]........................๕๗๒[อรรถาธิบายสังเขตศัพท์ลงในอรรถตติยาวิภัตติ]...................๕๗๓[อรรถาธิบายบทมาติกา ๖ บท].............................................๕๗๔[อรรถาธิบายกิริยาแห่งการลัก ๖ อย่าง]................................๕๗๕[ปัญจกะ ๕ หมวดๆ ละ ๕ๆ รวมเป็นอวหาร ๒๕].................๕๗๗[สาหัตถิกปัญจกะ มีอวหาร ๕ อย่าง].....................................๕๗๗[บุพพประโยคปัญจกะ มีอวหาร ๕ อย่าง].............................๕๗๘[เถยยาวหารปัญจกะ มีอวหาร ๕ อย่าง]................................๕๗๙[อรรถาธิบายฐานะ ๕ ประการ].............................................๕๘๐[เร่ืองภิกษุลักจีวร พระวินัยธรตดัสินว่าไม่เป็นอาบัติ].............๕๘๐

  • หน้า ๙ • •

    [พระวินัยธรควรสอดส่องราคาและการใช้สอย]......................๕๘๕[อรรถาธิบายทรัพย์ที่ควรแก่ทุติยปาราชิก]............................๕๘๖[อรรถาธิบายอาบัติที่เป็นบุพพประโยคแห่งทตุิยปาราชิก].....๕๘๙[อาบัติทุกกฏ ๘ อย่าง]...........................................................๕๙๓[อรรถาธิบายคำาว่า ทุกกฏและถุลลัจจัย]................................๕๙๕[กิริยาที่ภิกษุลักทรัพย์ให้เคล่ือนจากฐาน ๖ อย่าง]................๕๙๘[อรรถาธิบายภิกษุลักดดูเอาเนยใส เป็นต้น เป็นปาราชิก].....๖๐๓[อรรถาธิบายคำาว่า ภินทฺิตฺวา เป็นต้น]....................................๖๐๘

    กถาว่าด้วยทรัพย์ที่อยูบ่นบก............................................๖๑๑กถาว่าด้วยทรัพย์ที่อยู่ในอากาศ.......................................๖๑๒กถาว่าด้วยทรัพย์ที่อยู่ในกลางแจ้ง...................................๖๑๖กถาว่าด้วยทรัพย์ทีต่ั้งอยู่ในนำ้า.........................................๖๒๒[สมัยหลังพุทธกาลพวกชนขดุบ่อนำ้าใช้เล้ียง]..........................๖๒๖[ภกิษุจับเอาปลาทีเ่ขาเล้ียงปรับอาบัติตามราคาปลา]............๖๒๖

    กถาว่าด้วยทรัพย์ทีต่ั้งอยู่ในเรือ.........................................๖๒๙กถาว่าด้วยทรัพย์ทีต่ั้งอยู่ในยาน.......................................๖๓๓กถาว่าด้วยภาระ..............................................................๖๓๘กถาว่าด้วยทรัพย์ทีต่ั้งอยู่ในสวน.......................................๖๔๑กถาว่าด้วยทรัพย์ทีต่ั้งอยู่ในวิหาร.....................................๖๔๕กถาว่าด้วยทรัพย์ทีต่ั้งอยู่ในนา.........................................๖๔๖กถาว่าด้วยทรัพย์ทีต่ั้งอยู่ในพ้ืนที่......................................๖๕๐กถาว่าด้วยทรัพย์ทีต่ั้งอยู่ในป่า.........................................๖๕๑กถาว่าด้วยนำ้า..................................................................๖๕๕กถาว่าด้วยไม้ชำาระฟัน.....................................................๖๖๐กถาว่าด้วยตน้ไม้..............................................................๖๖๒กถาว่าด้วยทรัพย์ที่ผู้อ่ืนนำาไป...........................................๖๖๔กถาว่าด้วยสิง่ของที่เขาฝากไว้..........................................๖๖๘[โจรลักของสงฆ์ในเรือนคลัง ปรับสินไหมภิกษุผู้รักษา]..........๖๗๗

    กถาว่าด้วยด่านภาษี.........................................................๖๘๔กถาว่าด้วยสตัว์มีชีวิต......................................................๖๘๙[บุคคลผู้เป็นทาส ๓ จำาพวก]..................................................๖๘๙

    กถาว่าด้วยสตัว์ไมม่ีเท้า....................................................๖๙๒กถาว่าด้วยสตัว์ ๒ เท้า.....................................................๖๙๔กถาว่าด้วยสตัว์ ๔ เท้า.....................................................๖๙๕กถาว่าด้วยสตัว์มีเท้ามาก.................................................๖๙๘กถาว่าด้วยภกิษุผู้เป็นสาย................................................๖๙๙

    กถาว่าด้วยภิกษุผู้รับของฝาก...........................................๗๐๐กถาว่าด้วยการชักชวนกันลัก...........................................๗๐๑[ภิกษุหลายรูปชวนกันไปลักทรัพย์ ต้องอาบัติหมดทุกรูป].....๗๐๑

    กถาว่าด้วยการนัดหมาย..................................................๗๐๔กถาว่าด้วยการทำานิมิต.....................................................๗๐๖กถาว่าด้วยการสั่ง............................................................๗๐๗

    พรรณนาบทภาชนยี.์............................................................๗๑๑[อาการ ๖ อย่างที่ให้ภิกษตุ้องอาบัติปาราชิก]........................๗๑๑[อรรถาธิบายในอนาปัตติวาร]................................................๗๑๒

    กถาว่าด้วยปกิณณกะ.......................................................๗๑๗พรรณนาวินีตวัตถุคาถา...................................................๗๑๘กถาว่าด้วยการสับเปลี่ยนสลาก........................................๗๒๒[อรรถาธิบายอวหาร ๕ อย่าง]................................................๗๒๒[อรรถาธิบายภัณฑปริกัป]......................................................๗๒๓[อรรถาธิบายโอกาสปริกัป].....................................................๗๒๔[อรรถาธิบายปฏิจฉันนาวหาร]...............................................๗๒๕[อรรถาธิบายกุสาวหาร].........................................................๗๒๖

    กถาปรารภเร่ืองท่ัวไป...........................................................๗๒๙คาถาอนุศาสนี........................................................................๗๕๓

    ตติยปาราชิกวณฺณนา...........................................................๗๕๕[อธิบายเร่ืองเมืองไพศาลี].......................................................๗๕๕[พระผู้มีพระภาคทรงแสดงอสุภกรรมฐานแก่พวกภิกษุ]........๗๕๖[ปฐมฌานมีลักษณะ ๑๐ และความงาม ๑๐]........................๗๕๘[พระผู้มีพระภาคไม่ทรงห้ามภิกษุฆ่ากัน เพราะทรงเห็นกรรมเก่า]...............................................................................................๗๖๑[พวกภิกษุฆ่ากันเองและวานให้ผู้อื่นฆ่า].................................๗๖๔[มิคลัณฑิกะฆ่าภิกษุแล้วเกิดความเสียใจ]...............................๗๖๕[เทวดาช่วยปลอบโยนมิคลัณฑิกะให้ฆ่าภิกษุต่อไป]...............๗๖๗[มิคลัณฑิกะฆ่าภิกษุต่อไป วันละ ๑ รูปถึง ๕๐๐ รูป]............๗๖๗[พระผู้มีพระภาคทรงทราบว่าภิกษุสงฆ์เบาบางไป]................๗๖๘[พระอานนท์ทูลให้ตรัสบอกกรรมฐานอย่างอื่นแก่พวกภกิษุ].๗๖๙[พระผู้มีพระภาคตรัสบอกอานาปานัสสติแก่พวกภิกษุ].........๗๗๐[อรรถาธิบายวิธีอบรมสติ ๓๒ อย่าง]......................................๗๗๘[มติลมหายใจเข้าและออกตามอรรถกถาวินัยและพระสูตร]. .๗๗๙[ผู้เจริญอานาปานัสสติกรรมฐานย่อมได้ความปราโมทย์เป็นต้น]...............................................................................................๗๘๐

  • หน้า ๑๐ • •

    [ภกิษุกำาหนดกรรมฐานแล้ว กายสังขารจึงสงบ].....................๗๘๕[กายสังขารในฌานชั้นสูงขึ้นไปย่อมละเอียดไปตามลำาดับ]....๗๘๖[กุลบุตรจะเรียนกรรมฐาน ต้องบำาเพ็ญศีลให้บริสุทธ์ิก่อน]....๗๙๑[กรรมฐาน ๒ พร้อมทั้งอธิบาย]..............................................๗๙๒[ควรเรียนกรรมฐานในสำานักพุทธโอรส กระทั่งถึงท่านผู้ได้ฌาน]...............................................................................................๗๙๓[กรรมฐานมีสนธิคือที่ต่อ ๕ อย่าง].........................................๗๙๔[วิธีมนสิการอานาปานัสสติกรรมฐาน ๘ อย่าง]......................๗๙๖[อธิบายวิธีนับลมหายใจเข้าออก]............................................๗๙๖[อธิบายเบ้ืองต้นท่ามกลางและที่สุดลมหายใจเข้าออก]..........๗๙๘[ข้ออุปมาเหมือนคนง่อยโล้ชิงช้า]...........................................๘๐๐[ข้ออุปมาเหมือนคนรักษาประตู]...........................................๘๐๐[การกำาหนดลมหายใจเปรียบเหมือนเล่ือย]............................๘๐๑[อุบายเป็นเหตุนำาอานาปานัสสติกรรมฐานมา]......................๘๐๕[ธรรม ๓ อย่างมีบริบูรณ์ กรรมฐานจึงถึงอัปปนา].................๘๐๘[จิตย่อมตั้งมั่นเป็นสมาธิด้วยองค์ ๒]......................................๘๑๑[อุบายสำาหรับรักษาอานาปานัสสติกรรมฐานไม่ให้เส่ือม].......๘๑๒

    ประชุมสงฆ์ ทรงบัญญติัตติยปาราชิกสิกขาบท......................๘๒๓[ภกิษุฉัพพัคคีย์พรรณนาคุณแห่งความตาย]...........................๘๒๓[อธิบาย สัญจิจจ ศัพท์]..........................................................๘๒๕[อธิบายปฐมจิตของมนุษย์ผู้เร่ิมลงสู่ครรภ์].............................๘๒๖[ชีวิตินทรีย์ปัจจุบัน มี ๓ ขณะ]..............................................๘๒๙[ป�