ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วย...

13
ปปปปปปปปปปปปป 1 ปปปปปปปปปปปปปปปปปปปปป กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกก กกกกกกกก SI unit กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกก SI กกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกก ปปปปปปปปปปปป 1. กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกก กกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกก กกก กกกกกกกกกกกก 2. กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกกกก ปปปปปปปปปปปปปปป 1. กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกก 1 กกก 2. กกกกกกกกกกกก กกกกกก 1 กกก 3. กกกกกกกกกกกกกก กกกกกก 1 กกก 4. กกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกก 4.1 กกกกกกกกก (กกกกกกกกกก) 4.2 กกกกกกกกกกกกก กกกกกกกกกกกกกกก 4.3 กกกกกกก 4.4 กกกกกกกก ปปปปปปปปปปปป กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกก กกกกกกกกกกกก 3 กกก

Upload: others

Post on 19-Feb-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วย ...sci.udru.ac.th/websci/download/physic/test/test1.doc · Web viewของทรงกระบอกกลวง

ปฏิบติัการท่ี 1การวดัอยา่งวดัละเอียด

การวดัเป็นกระบวนการหน่ึงท่ีสำาคัญในการศึกษาทางฟสิกิส ์ ปัจจุบนัมีหน่วยการวดัหลายระบบแต่ระบบท่ีใชอ้ยา่งแพรห่ลายได้แก่ระบบวดัระหวา่งชาติ ที่เรยีกวา่ SI unit ในปฏิบติัการน้ีจะเลือกศึกษา เฉพาะระบบ SI เท่านัน้ ในการวดัสิง่ของต่างๆ ต้องใชเ้ครื่องมอืวดัท่ีเหมาะสมกับงานที่จะวดั เพื่อหลีกเล่ียงความคลาดเคล่ือนท่ีอาจจะเกิดขึ้นระหวา่งการทดลองนัน้ จงึควรศึกษาการใชเ้ครื่องมอืวดัใหเ้ขา้ใจ

วตัถปุระสงค์1. ศึกษาการใชแ้ละเพิม่ทักษะการใชเ้ครื่องมอืวดั เวอรเ์นียรค์าลิเปอร ์

สเฟยีโรมเิตอร ์และไมโครมเิตอร์2. สามารถอ่านค่าจากเครื่องมอืวดัได้ถกูต้องตามขนาดจรงิของ วตัถท่ีุ

กำาหนดให้

อุปกรณ์การทดลอง 1. เวอรเ์นียรค์าลิปเปอร ์ จำานวน 1 อัน2. ไมโครมเิตอร์ จำานวน 1 อัน3. สเพยีโรมเิตอร์ จำานวน 1 อัน4. วตัถรูุปทรงต่างๆ ที่กำาหนดให ้

4.1 ทรงกลมตัน (ลกูปืนเล็ก) 4.2 ทรงกระบอกกลวง ปลายเล็กและใหญ่4.3 เสน้ลวด4.4 เลนสนู์น

วธิกีารทดลอง ทดลองและบนัทึกผลในตาราง แบง่การทดลองน้ีเป็น 3 ตอนตอนที่ 1 เวอรเ์นียรค์าลิปเปอร ์

1. ใชเ้วอรเ์นียรค์าลิเปอรว์ดัเสน้ผ่าศูนยก์ลางภายนอก (d1) เสน้ผ่าศูนยก์ลางภายใน (d2)

Page 2: ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วย ...sci.udru.ac.th/websci/download/physic/test/test1.doc · Web viewของทรงกระบอกกลวง

ของทรงกระบอกกลวง บนัทึกผลการทดลอง และใหท้ำาการทดลองซำ้า 5 ครัง้ พรอ้มทัง้หาค่าเฉล่ีย

2. ใชเ้วอรเ์นียรค์าลิเปอรว์ดัความสงู (h) ของทรงกระบอกกลวง บนัทึกผลการทดลอง และใหท้ำาการทดลองซำ้า 5 ครัง้ พรอ้มทัง้หาค่าเฉล่ีย

ตอนที่ 2 ไมโครมเิตอร ์2.1 ใชไ้มโครมเิตอรว์ดัเสน้ผ่าศูนยก์ลางของเสน้ลวดและคำานวณหา

ปรมิาตรของเสน้ลวด โดยกำาหนดความยาว 5 เซนติเมตร ใหท้ำาการทดลองซำ้า 5 ครัง้ พรอ้มทัง้หาค่าเฉล่ีย

2.2 ใชไ้มโครมเิตอรว์ดัเสน้ผ่าศูนยก์ลางของทรงกลมตันบนัทึกผลการทดลอง ใหท้ำาการทดลองซำ้า 5 ครัง้ พรอ้มทัง้หาค่าเฉล่ีย

2.3 คำานวณหาปรมิาตร (V) ของทรงกลมตันจากสตูรต่อไปน้ี

ปรมิาตรของทรงกลม V = ; r = รศัมขีองทรงกลม

ตอนที่ 3 สเฟยีโรมเิตอร์1. ใชส้เฟยีโรมเิตอรว์ดัหารศัมคีวามโค้งของเลนสนู์น

บนัทึกผลการทดลองตอนที่ 1 วดัเสน้ผ่านศูนยก์ลางภายในและภายท่อ PVC

ท่อ PVC เสน้ผ่านศูนยก์ลาง (mm)1 2 3 4 5 เฉล่ีย

ปลายเล็กภายใน

ภายนอก

ปลายใหญ่ภายใน

ภายนอก

2

Page 3: ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วย ...sci.udru.ac.th/websci/download/physic/test/test1.doc · Web viewของทรงกระบอกกลวง

ตอนที่ 2 วดัเสน้ผ่านศูนยก์ลางของเสน้ลวดและทรงกลม

วสัดุเสน้ผ่านศูนยก์ลาง (mm)

1 2 3 4 5 เฉล่ียทรงกลมตัน

(mm)เสน้ลวด (mm)

จงแสดงการคำานวณปรมิาตรของทรงกลมตัน

ตอนที่ 3 วดัรศัมคีวามโค้งของผิวโค้งด้วยสเฟยีโรมเิตอร์ วสัดุ 1 2 3 4 5 เฉล่ียเลนส์

คู่มอืการวดัอยา่งละเอียด

เวอรเ์นียรค์าลิเปอร ์(VERNIER CALIPER)เป็นเครื่องมอืที่ใชว้ดัความยาวของวตัถทุัง้ภายใน และภายนอกของชิน้

งาน เวอรเ์นียรค์าลิเปอรม์ลัีกษณะทัว่ไป ดังรูป

เวอรเ์นียรค์าลิเปอร์

สว่นประกอบของเวอรเ์นียรค์าลิเปอร์ตำาแหน่ง เรยีกวา่ ปากวดั ใชห้นีบวตัถทุี่ต้องการวดัขนาด

3

Page 4: ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วย ...sci.udru.ac.th/websci/download/physic/test/test1.doc · Web viewของทรงกระบอกกลวง

ตำาแหน่ง เรยีกวา่ ปากวดั ใชว้ดัขนาดภายในของวตัถุตำาแหน่ง เรยีกวา่ แกน G ใชว้ดัความลึกตำาแหน่ง ,เรยีกวา่ สเกลหลัก เป็นสเกลไมบ้รรทัดธรรมดา ซึ่งเป็นเซนติเมตร(mm) และนิ้ว(inch)ตำาแหน่ง เรยีกวา่ สเกลเวอรเ์นียร ์ซึ่งจะเล่ือนไปมาได้บนสเกลหลักตำาแหน่ง เรยีกวา่ สกรู ใชย้ดึสเกลเวอรเ์นียรร์ใ์หติ้ดกับสเกลหลักตำาแหน่ง เรยีกวา่ ปุ่ม ใชก้ดเล่ือนสเกลเวอรเ์นียรไ์ปบนสเกลหลัก

ค่าความละเอียดของเวอรเ์นียร ์

ค่าความละเอียด (Least Count ) = , n = จำานวนชอ่งของสเกลเวอรเ์นียร์

โดยปกติแล้ว ตัวเลขที่แสดงค่าความละเอียดที่สดุของเครื่องวดันี้มกัจะเขยีนไวบ้นสเกลเวอรเ์นียรร์ใ์นหน่วยต่างๆ เสมอ เชน่ 0.1 mm. สำาหรบัสเกลเวอรเ์นียรช์นิด 10 ชอ่งหรอืจำานวนชอ่ง 10 ชอ่ง (n = 10)

0.05 mm. สำาหรบัสเกลเวอรเ์นียรช์นิด 20 ชอ่งหรอืจำานวนชอ่ง 20 ชอ่ง (n = 20)

0.02 mm. สำาหรบัสเกลเวอรเ์นียรช์นิด 50ชอ่งหรอืจำานวนชอ่ง 50 ชอ่ง (n = 50)

หมายเหต ุ เวอรเ์นียรท์ี่ใชอ้ยูใ่นหอ้งปฏิบติัการฟสิกิสน้ี์จะเป็นชนิด n = 20

0.05 mm หมายความวา่ 1 ชอ่งสเกลเวอรเ์นียรร์ม์ขีนาดเท่ากับ 0.05 mm

ลำาดับการอ่านค่าจากการวดั1. ก่อนใชเ้วอรเ์นียรต้์องตรวจสอบดวูา่มค่ีาความละเอียดของเวอรเ์นียร์

ร ์( least count) มค่ีาเท่าใด โดยดจูากตัวเลขที่เขยีนไวบ้นสเกลเวอรเ์นียร ์หรอือาจจะคำานวณจากสตูร least count =

4

Page 5: ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วย ...sci.udru.ac.th/websci/download/physic/test/test1.doc · Web viewของทรงกระบอกกลวง

2. ดวูา่ขดีที่ศูนยข์องสเกลเวอรเ์นียรอ์ยูท่ี่ตำาแหน่งใดศูนยบ์นสเกลหลัก แล้วอ่านค่าบนสเกลหลักในหน่วยเซนติเมตรหรอืนิ้ว ตามหน่วยที่เราต้องการ

3. ใชนิ้้วหวัแมม่อืดันสเกลเวอรเ์นียรท่ี์ตำาแหน่งท่ี (ดังรูป ) กางออก ใหพ้อท่ีปากของเวอรเ์นียรห์นีบวตัถทุี่ต้องการวดัใหพ้อดี แล้วบนัทึกค่า ท่ีตำาแหน่งศูนยข์องสเกลเวอรเ์นียรต์รงกับสเกลหลัก

4. จากนัน้หาตำาแหน่งท่ีสเกลเวอรเ์นียรก์ับสเกลหลักตรงกัน แล้วบนัทึกค่าสเกลเวอรเ์นียรร์น์ัน้ (หรอืนับจำานวนชอ่งของสเกลเวอรเ์นียรจ์นถึงขดีที่ตรงกัน)

5. สเกลเวอรเ์นียรส์เกลแรกท่ีตรงกับสเกลหลักคือสเกลใด 6. คำานวณหาขนาดของวตัถทุี่วดัจากสตูร

ผลการวดั = ค่าสเกลหลัก + (ค่าสเกลเวอรเ์นียร ์ ค่าความละเอียดของเวอรเ์นียร)์

(ขอ้ 3) (ขอ้ 4) (ขอ้ 1)

ตัวอยา่งการอ่านสเกลเวอรเ์นียร ์ ผลการวดัของวตัถอัุนหน่ึงแสดงค่าท่ีอ่านดังรูป

1. หาค่าของสเกลหลัก จาก

รูปด้านบนขดีที่ศูนยข์องสเกลเวอรเ์นียรต์รงกับเสเกลหลักตำาแหน่งท่ี 1.1 เซนติเมตร (เลยออกมาเล็กน้อยบนสเกลหลัก)

5

คำาแหน่ง 13 ชอ่ง

cm=

สเกลหลัก

สเกล

ขดีท่ี

Page 6: ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วย ...sci.udru.ac.th/websci/download/physic/test/test1.doc · Web viewของทรงกระบอกกลวง

2. หาค่าของเสกเวอรเ์นียร ์ ได้จากการนับจำานวนชอ่งขดีของสเกลเวอรเ์นียรท่ี์ตรงกับขดีบนสเกลหลักอยูท่ี่ขดีที่เท่าใด (13 ชอ่ง = ขดีท่ี 13)

3. ผลการวดั = ค่าสเกลหลัก + {ค่าสเกลเวอรเ์นียร ์ ค่าความละเอียดของเวอรเ์นียร(์Least count)}แทนค่า ค่าสเกลหลัก = 1.1 เซนติเมตร , ค่าสเกลเวอรเ์นียร ์= 13 , Least count = 0.05 มลิลิเมตรฉะนัน้ ผลการวดั = 1.1 เซนติเมตร + (13x0.05)

มลิลิเมตร = 1.1x10-2x103 มลิลิเมตร + 0.65

มลิลิเมตร = 11.65 มลิลิเมตร

การใชเ้วอรเ์นียรค์าลิเปอรว์ดัขนาดของวตัถใุนหลายลักษณะดังรูป

ในการวดัความยาวของแท่งวตัถุ เสน้ผ่าศูนยก์ลางของทรง

กระบอกและทรงกลม

การวดัเสน้ผ่าศูนยก์ลางภายในของวงแหวน ทรง

กระบอกกลวง

การวดัความลึกของวตัถ ุ

ไมโครมเิตอร ์(Micrometer) เป็นเครื่องมอืวดัขนาดของวตัถท่ีุต้องการความละเอียดสงูในระดับ

ทศนิยม 3 ตำาแหน่งในหน่วยมลิลิเมตรเครื่องวดัชนิดน้ีอาศัยหลักการ การเคล่ือนที่ของสกรู ซึ่งมสีว่นประกอบที่สำาคัญดังแสดงในรูปไมโครมเิตอร์

6

Page 7: ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วย ...sci.udru.ac.th/websci/download/physic/test/test1.doc · Web viewของทรงกระบอกกลวง

ไมโครมเิตอร์

ตำาแหน่ง เป็นตำาแหน่งที่วดัระยะตำาแหน่ง เป็นสเกลหลักด้านเป็น 0,1,2 มลิลิเมตร และด้านล่างเป็น 0.5, 1.5 ,2.5 มลิลิเมตร

นัน้คือ S = 0.5 มลิลิเมตร ตำาแหน่ง เป็นสเกลเวอรเ์นียร ์(มจีำานวน 50 ชอ่ง รอบแกน)ตำาแหน่ง เป็นตำาแหน่งท่ีจบัขณะทำาการวดัตำาแหน่ง เป็นปุ่มที่ใชเ้ล่ือนแกน

ค่าความละเอียดของไมโครมเิตอร ์ปากวดัตำาแหน่งที่ สมัผัสกัน ขดีท่ี 0 ของสเกลวงกลมจะทาบพอดี

กับแกนสเกลนอนและถ้าหมุนสเกลวงกลมถอยหลังไป 1 รอบ ขดีท่ี 0 ของสเกลวงกลมจะทาบพอดีกับแกนนอน และขอบของสเกลวงกลมจะทับพอดีกับขดีแบง่ครึง่มลิลิเมตรบนสเกลหลัก ซึ่งหมายความวา่ ถ้าหมุนแกนวดัถอยหลังไปเพยีง 1 ชอ่ง ปากวดั ตำาแหน่งที่ จะหา่งกันเป็นระยะ 505.0= 0.010 มลิลิเมตร ซึ่งเป็นค่าท่ีน้อยที่สดุท่ีสามารถอ่านได้จากเครื่องวดัชนิดน้ี เรยีกวา่ least count ปกติค่า least count ของเครื่องไมโครมเิตอรจ์ะเขยีนไวบ้นตำาแหน่ง เชน่ 0.01 mm

7

Page 8: ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วย ...sci.udru.ac.th/websci/download/physic/test/test1.doc · Web viewของทรงกระบอกกลวง

การอ่านค่าจากไมโครมเิตอร์ผลการวดัจะประกอบด้วย ค่าสเกลหลัก, ค่าสเกลวงกลม, ค่าความ

ละเอียดของเครื่องมอื

ผลการวดั = ค่าสเกลหลัก + (ค่าสเกลวงกลม ค่าความละเอียดของไมโครมเิตอร)์

วธิใีชไ้มโครมเิตอร ์ในการวดัใหใ้ชม้อืซา้ยจบัตรงตำาแหน่ง และมอืขวาหมุน ตำาแหน่ง

ใหแ้กนถอยหลังเพื่อทำาใหป้าก ตำาแหน่ง เปิดกวา้งออกเพื่อทำาใหว้ตัถทุี่ต้องการวดัอยูร่ะหวา่งตำาแหน่ง โดยหมุนแกน ใหป้ากวดัมาสมัผัสพอดีกับผิวด้านหน่ึงของวตัถ ุมเีสยีง คลิ๊ก “ ” จากนัน้ใหบ้ดิปุ่มยดึไปทางซา้ยเพื่อตรงึแกนวดัไว ้แล้วอ่านค่าการวดัได้ ขอ้สำาคัญในการวดัคือตรวจสอบดกู่อนวา่ขดีศูนย์(0) ของสเกลเวอรเ์นียรต์รงกับแกนนอนบนสเกลหลักหรอืไมเ่มื่อให้ปลายทัง้สองของตำาแหน่งที่ มาชดิกัน

ตัวอยา่งการอ่านค่าการวดับนสเกลไมโครมเิตอร ์เมื่อวดัขนาดของวตัถอัุนหนึ่ง ดังแสดงในรูป โดยที่ Least Count ของไมโครมเิตอร ์= 0.01 mm

1. ขณะน้ีขอบของสเกลวงกลมอยูท่ี่ตำาแหน่งที่ 11.500 มลิลิเมตร เลยออกมาเล็กน้อยบนสเกลหลัก

2. ขดีท่ี 22.5 ของสเกลวงกลมตรงกับแกนนอนบนสเกลหลัก แล้วเอาตัวเลข 22.5 น้ีคณูกับค่า Least Count จะได้เป็นค่าเศษของมลิลิเมตร เป็น 22.5 x 0.010 = 0.225 mm

3. นำาค่าที่ได้จากขอ้ (1) และขอ้ (2) รวมกัน จะได้เป็นผลการวดัครัง้น้ี นัน่คือ

8

Page 9: ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วย ...sci.udru.ac.th/websci/download/physic/test/test1.doc · Web viewของทรงกระบอกกลวง

ผลการวดั = ค่าสเกลหลัก + (ค่าสเกลวงกลม ค่าความละเอียดของไมโครมเิตอร)์

= 11.500 mm + 0.225 mm= 11.725 mm

ดังนัน้ลำาดับขัน้การอ่านค่าการวดัเป็นดังนี้ 1. ก่อนใชไ้มโครมเิตอรต้์องดวูา่ค่า Least Count เท่ากับเท่าใด โดยดู

จากตัวเลขที่เขยีนไวบ้นโครง A หรอือาจจะคำานวณก็ได้ (โดยดจูากหวัขอ้ความละเอียดของไมโครมเิตอร)์

2. ต้องดวูา่ขอบของสเกลวงกลมอยูท่ี่ตำาแหน่งท่ีเท่าใดของสเกลหลัก อ่านในหน่วยมลิลิเมตร

3. ต่อไปดวูา่ ขดีท่ีเท่าใดบนสเกลวงกลมอยูต่รงกับเสน้แกนของสเกลหลัก แล้วเอาตัวเลขน้ีคณูกับค่า Least Count จะได้เป็นเศษของมลิลิเมตร

4. ผลรวมท่ีได้จากขอ้ 2 และ ขอ้ 3 คือผลการวดั สเฟยีโรมเิตอร์

เป็นเครื่องมอืวดัความยาวท่ีวดัได้ละเอียดกวา่ไมบ้รรทัดสำาหรบัวดัรศัมีความโค้งของทรงกลม เชน่ วดัหารศัมคีวามโค้งของเลนสนู์น เลนสเ์วา้ กระจกนูน กระจกเวา้ มสีเกลเวอรเ์นียรแ์บบวงกลม มขีดีสเกลบนแผ่นวงกลม แบง่เป็นชอ่งยอ่ยเท่าๆ กันจำานวน n ชอ่ง สเกลหลักเป็นสเกลไมบ้รรทัด ดังรูปด้านล่าง เมื่อหมุนแผ่นวงกลมหรอืสเกลเวอรเ์นียร ์(ซึ่งติดกับขาวดัหรอืขากลาง) ไป 1 รอบ ขอบของแผ่นวงกลมพรอ้มขาวดัหรอืขากลางจะเล่ือนไปบนสเกลหลักเป็นระยะเท่ากับ 1 mm ดังนัน้ค่าละเอียดสดุของสเฟยีโรมเิตอรม์ค่ีาเท่ากับ 1/n mm

สเฟยีโรมเิตอรใ์นรูปมสีเกลเวอรเ์นียร ์100 ชอ่ง ดังนัน้ ค่าละเอียดสดุของสเฟยีโรมเิตอรน์ี้มค่ีาเท่ากับ 0.01 mm หลักการอ่านค่าวดัท่ีวดัโดยสเฟยีโรมเิตอรเ์ป็นเชน่เดียวกับไมโครมเิตอรค์าลิเปอร ์(หมายเหต ุเพื่อความง่ายในการอ่านค่าของการวดัจากสเฟยีโรมเิตอร ์ควรกำาหนดใหข้ดีล่างสดุของสเกลหลักเป็นขดีท่ี 0 cm)

9

Page 10: ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วย ...sci.udru.ac.th/websci/download/physic/test/test1.doc · Web viewของทรงกระบอกกลวง

วธิใีชส้เฟยีโรมเิตอร์1. วางสเฟยีโรมเิตอรบ์นกระจกราบแล้วหมุนเกลียวของสเฟยีโรมติ

เตอร ์ซึ่งจะทำาใหข้า กลางเล่ือนขึ้นหรอืเล่ือนลง จะทำาใหส้เกลเวอรเ์นียรห์มุนตามไปด้วย จดัใหข้าทัง้สีข่องสเฟยีโรมเิตอรส์มัผัสกระจกราบ สมมุติวา่เมื่อขาทัง้สีส่มัผัสกระจกราบแล้วขดีศูนยข์องสเกลเวอรเ์นียรช์ีต้รงกับขดีศูนยข์องสเกลหลัก

2. นำาสเฟยีโรมเิตอรนั์น้ไปวางบนเลนสท์ี่จะวดัหารศัมคีวามโค้ง หมุนเกลียวเพื่อใหข้า กลางของสเฟยีโรมเิตอรเ์ล่ือนขึ้นหรอืเล่ือนลง (ตามแต่ชนิดของเลนสท์ี่จะวดั) โดยให้ขาทัง้สีข่องสเฟยีโรมเิตอรส์มัผัสผิวเลนสพ์อดี และใหข้ากลางของสเฟยีโรมเิตอรอ์ยูต่ำาแหน่งสงูสดุหรอืตำ่าสดุของเลนสนั์น้

3. วดัระยะระหวา่งขาแต่ละคู่ (ไมใ่ชข่ากลาง) ของสเฟยีโรมเิตอรเ์ป็นค่า L โดยกดลงบนแผ่นกระดาษหนาใหเ้ป็นรอยซึ่งเกิดจากปลายแหลมของขาทัง้หมด แล้วจงึวดัระยะจากรอยจุดของปลายขานัน้

ใบบนัทึกผลการทดลอง

ตอนท่ี 1 วดัเสน้ผ่านศูนยก์ลางภายในและภายท่อ PVC

ท่อ PVCเสน้ผ่านศูนยก์ลาง (mm)

1 2 3 4 5 เฉล่ีย

ปลายเล็กภายใน

ภายนอก

10

Page 11: ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วย ...sci.udru.ac.th/websci/download/physic/test/test1.doc · Web viewของทรงกระบอกกลวง

ปลายใหญ่ภายใน

ภายนอก

ตอนท่ี 2 วดัเสน้ผ่านศูนยก์ลางของเสน้ลวดและทรงกลม

วสัดุเสน้ผ่านศูนยก์ลาง (mm)

1 2 3 4 5 เฉล่ียทรงกลมตัน

(mm)เสน้ลวด (mm)

จงแสดงการคำานวณปรมิาตรของทรงกลมตัน

ตอนท่ี 3 วดัรศัมคีวามโค้งของผิวโค้งด้วยสเฟยีโรมเิตอร์ วสัดุ 1 2 3 4 5 เฉล่ียเลนส์

ค่ารศัมคีวามโค้ง คำานวณหาได้จากสมการ

เมื่อ R = รศัมคีวามโค้งa = ระยะหา่งระหวา่งขาสเฟยีโรมเิตอร์h = ความสงูท่ีวดัได้

11