รายงานการเข าร วมงานแสดงสินค...

11
รายงานการเขารวมงานแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา ในงาน Interzoo 2010 ณ เมือง Nuremberg ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน ระหวางวันที่ 13-16 พฤษภาคม 2553 1. ที่มาและความสําคัญ งาน Interzoo 2010 จัดขึ้นระหวางวันที่ 13-16 พฤษภาคม 2553 ณ Exhibition Centre Nuremberg เมือง Nuremberg ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน งานดังกลาวประกอบดวยกิจกรรม การจัดแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา ตลอดจนอุปกรณที่เกี่ยวเนื่อง และสินคาที่เกี่ยวของ กับสัตวเลี้ยงชนิดอื่นๆ จัดเปนงานแสดงและจําหนายสินคาสัตวเลี้ยงที่มีความสําคัญระดับโลก ซึ่งมี การจัดขึ้นทุก 2 ป โดยไดมีการเชิญภาคธุรกิจและหนวยงานที่เกี่ยวของจากทั่วโลกเขารวมในการจัด งานในครั้งนีวัตถุประสงคของกรมประมงในการเขารวมงานในครั้งนี้ เพื่อศึกษาขอมูลดานการตลาดและ ประชาสัมพันธสินคาปลาสวยงาม พรรณไมน้ํา และอุปกรณที่เกี่ยวเนื่องในระดับสากล และแนวโนม ของตลาดในอนาคต ตลอดจนเทคโนโลยีดานปลาสวยงามและพรรณไมน้ําที่ทันสมัย นอกจากนี้ยังนํา เกษตรกรผูสงออกปลาสวยงามและพรรณไมน้ําของไทย เขารวมเจรจาทางการคา เผยแพรสินคาปลา สวยงามและพรรณไมน้ํา ซึ่งเปนผลผลิตของไทย 2. สรุปผลการจัดรวมงานแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา Interzoo 2010 การเขารวมงานในครั้งนี้ กรมประมงไดจัดแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา ในพื้นที่ 20 ตารางเมตร โดยจัดสรรพื้นที่เปน 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมการจัดนิทรรศการแสดงสินคาปลาสวยงาม และพรรณไมน้ํา กิจกรรมเผยแพรประชาสัมพันธสินคาปลาสวยงาม พรรณไมน้ําและอุปกรณทีเกี่ยวเนื่อง และกิจกรรมภาคธุรกิจสําหรับผูประกอบการผลิตและสงออกปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา โดยมีรายละเอียดดังนี2.1 กิจกรรมการจัดนิทรรศการแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา ประกอบดวย 2.1.1 การแสดงสายพันธุปลากัดไทย (Siamese fighting fish) ซึ่งเปนชนิดปลาสวยงามทีมีมูลคาการซื้อขายและสงออกอยูในลําดับที่หนึ่งของประเทศไทย และเปนที่รูจักในตลาดตางประเทศ วาประเทศไทยเปนผูผลิตหลักและผลิตปลากัดที่ไดรับความนิยม มีมาตรฐานตามตลาดตองการ สาย พันธุที่นําไปจัดแสดง ไดแก ปลากัดครีบสั้นกลุมสีเคลือบ ปลากัดหางพระจันทรครึ่งซีกหรือปลากัด ฮาลฟมูน (Halfmoon) ปลากัดหางมงกุฏหรือปลากัดคราวนเทล (Crown-tail) ปลากัดยักษ (Giant betta) สายพันธุ Halfmoon และ สายพันธุ Short tail halfmoon เปนตน

Upload: others

Post on 21-Oct-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • รายงานการเขารวมงานแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา ในงาน Interzoo 2010 ณ เมือง Nuremberg ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน ระหวางวันที่ 13-16 พฤษภาคม 2553

    1. ที่มาและความสําคัญ งาน Interzoo 2010 จัดขึ้นระหวางวันท่ี 13-16 พฤษภาคม 2553 ณ Exhibition Centre Nuremberg เมือง Nuremberg ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน งานดังกลาวประกอบดวยกิจกรรมการจัดแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา ตลอดจนอุปกรณท่ีเกี่ยวเนื่อง และสินคาท่ีเกี่ยวของกับสัตวเล้ียงชนิดอ่ืนๆ จัดเปนงานแสดงและจําหนายสินคาสัตวเล้ียงท่ีมีความสําคัญระดับโลก ซ่ึงมีการจัดขึ้นทุก 2 ป โดยไดมีการเชิญภาคธุรกิจและหนวยงานท่ีเกี่ยวของจากท่ัวโลกเขารวมในการจัดงานในครั้งนี้ วัตถุประสงคของกรมประมงในการเขารวมงานในครั้งนี้ เพ่ือศึกษาขอมูลดานการตลาดและประชาสัมพันธสินคาปลาสวยงาม พรรณไมน้ํา และอุปกรณท่ีเกี่ยวเนื่องในระดับสากล และแนวโนมของตลาดในอนาคต ตลอดจนเทคโนโลยีดานปลาสวยงามและพรรณไมน้ําท่ีทันสมัย นอกจากนี้ยังนําเกษตรกรผูสงออกปลาสวยงามและพรรณไมน้ําของไทย เขารวมเจรจาทางการคา เผยแพรสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา ซ่ึงเปนผลผลิตของไทย 2. สรุปผลการจัดรวมงานแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา Interzoo 2010

    การเขารวมงานในครั้งนี้ กรมประมงไดจัดแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา ในพ้ืนท่ี 20 ตารางเมตร โดยจัดสรรพ้ืนท่ีเปน 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมการจัดนิทรรศการแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา กิจกรรมเผยแพรประชาสัมพันธสินคาปลาสวยงาม พรรณไมน้ําและอุปกรณท่ีเกี่ยวเนื่อง และกิจกรรมภาคธุรกิจสําหรับผูประกอบการผลิตและสงออกปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา โดยมีรายละเอียดดังนี ้

    2.1 กิจกรรมการจัดนิทรรศการแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา ประกอบดวย

    2.1.1 การแสดงสายพันธุปลากดัไทย (Siamese fighting fish) ซ่ึงเปนชนิดปลาสวยงามท่ีมีมูลคาการซ้ือขายและสงออกอยูในลําดับท่ีหนึ่งของประเทศไทย และเปนท่ีรูจักในตลาดตางประเทศ วาประเทศไทยเปนผูผลิตหลักและผลิตปลากัดท่ีไดรับความนิยม มีมาตรฐานตามตลาดตองการ สายพันธุท่ีนําไปจัดแสดง ไดแก ปลากัดครีบส้ันกลุมสีเคลือบ ปลากัดหางพระจันทรครึ่งซีกหรือปลากัดฮาลฟมูน (Halfmoon) ปลากัดหางมงกุฏหรือปลากัดคราวนเทล (Crown-tail) ปลากัดยักษ (Giant betta) สายพันธุ Halfmoon และ สายพันธุ Short tail halfmoon เปนตน

  • 2.1.2 การจัดแสดงชนิดพรรณไมน้ําท่ีมีศักยภาพในการผลิตเพ่ือการสงออกของประเทศไทย ไดแก แอมมาเนียแดง Ammannia gracilis, อนูเบียสบารเทอรี่ Anubias barteri , อนูเบียสนานา Anubias barteri var. nana “Round leave”, อนูเบียสใบกวาง Anubias barteri “Broad leave”, อนูเบียสคอฟฟฟอเลีย Anubias coffefolia, อนูเบียสฮาสติฟอเลีย Anubias hastifolia, อนูเบียส ไดมอน Anubias barteri “Diamond”, คาบอมบา Cabomba carolineana, ใบพาย Cryptocoryne tropica, ใบพาย Cryptocoryne sp., อเมซอน Echinodorus sp. “Bigbear”, เดนซา Elodea densa, แวนแกว Hydrocotyle tripartita, หางนกยูง Hygrophila corymbosa, ดาวกระจาย Hygrophila difformis, ขาไกดาง Hygrophila roseanervis, ลัดวิเจีย Ludwigia glandulosa, ใตใบแดง Ludwigia repens, สาหรายขนนกแดง Myriophyllum magrossense, โรทาลา Rotala rotundifolia, สาหรายแปรงลางขวด Rotala wallichii, นอกจากนี้ยังจัดแสดงตัวอยางชนิดพรรณไมน้ําท่ีมีการนําเทคโนโลยีชีวภาพในการเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อมาผลิตเพ่ือเพ่ิมมูลคาของสินคาพรรณไมน้ําท่ีมีคุณภาพ และปลอดโรค ไดแก รากดําใบยาว Microsorium pteropus, ดาวนอย Pogostemon helferi, ยูตริคูลาเรีย Utricularia gramminifolia เปนตน

    2.1.3 การจัดแสดงโปสเตอรชนิดปลาสวยงามและพรรณไมน้ําชนิดท่ีประเทศไทยมี

    ศักยภาพในการผลิตเพ่ือการสงออก ไดแก โปสเตอรแสดงสายพันธุปลาไทย, ปลากัดไทย, ปลาทอง, ปลาหมอสี, ปลาหางนกยูง, ปลาปอมปาดัวส, ปลาคารพ, ปลาการตูน และชนิดพรรณไมน้ําท่ีมีศักยภาพในการสงออกของไทย

    2.2 กิจกรรมเผยแพรประชาสัมพันธสินคาปลาสวยงาม พรรณไมน้ําและอุปกรณท่ีเกี่ยวเนื่อง

    สถาบันวิจัยสัตวน้ําสวยงามและพรรณไมน้ํา สํานักวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืด กรมประมง ไดดําเนินการเผยแพรประชาสัมพันธสินคาปลาสวยงาม พรรณไมน้ําและอุปกรณท่ีเกี่ยวเนื่อง ในรูปแบบหนังสือ Ornamental fish and Aquatic plants Thailand Directory 2009-2010 จํานวน 100 เลม และแผน CD จํานวน 1,000 แผน สําหรับแจกแกผูประกอบการและผูท่ีเขารวมชมงาน โดยมีขอมูลรายช่ือ ท่ีอยู website, E-mail address และเบอรโทรศัพทของผูผลิต ผูสงออกปลาสวยงาม พรรณไมน้ํา และอุปกรณท่ีเกี่ยวเนื่อง รายช่ือฟารมท่ีไดรับใบรับรองมาตรฐานฟารมจากกรมประมง รวมท้ังรายช่ือหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เพ่ือใหผูคา และผูสนใจจากตางประเทศสามารถติดตอซ้ือขายกับผูผลิตและผูสงออกไดโดยตรง

    นอกจากนี้ การเผยแพรประชาสัมพันธสินคาปลาสวยงาม พรรณไมน้ําและอุปกรณท่ีเกี่ยวเนื่องของกรมประมงเปนท่ีไดรับความสนใจจากภาคธุรกิจในตางประเทศ โดยไดมีการติดตอแลกเปล่ียนขอมูลการคาและเชิญกรมประมงเขารวมแสดงสินคาปลาสวยงาม พรรณไมน้ําและ

  • อุปกรณท่ีเกี่ยวเนื่อง เชน การเชิญเขารวมเผยแพรประชาสัมพันธและแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา ในงาน PET Expo Romania 2010 ณ กรุงบูคาเรส ประเทศโรมาเนีย, งาน AquaPets Taipei 2010 ณ กรุงไทเป ประเทศไตหวัน, งาน 14th China International Pet Show ณ กรุงปกกิ่ง ประเทศจีน, งาน Zoomark 2011 ณ เมืองโบโลนญา ประเทศอิตาลี, งาน Aquarama 2011 ณ ประเทศสิงคโปร เปนตน

    2.3 กิจกรรมภาคธุรกิจผูประกอบการผลิตและสงออกปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา

    กรมประมง ไดจัดพ้ืนท่ีสําหรับภาคธุรกิจสําหรับผูประกอบการผลิตและสงออกปลา

    สวยงามและพรรณไมน้ํา เพ่ือเปนสวนประชาสัมพันธและการเจรจาซ้ือขายสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา โดยมีตัวแทนของบริษัทและภาคเอกชนเขารวมกิจกรรมและติดตอธุรกิจโดยตรงหลายบริษัท เชน บริษัท White Crane Aquatic plants, บริษัท Aquatic Plant Center, บริษัท Fortuner aquarium, บริษัท Eastern Orient, บริษัท Siam aquarium fish & plants, บริษัท Natsu international เปนตน

    จากการรวมงาน Interzoo 2010 ในระหวางวันท่ี 13-16 พฤษภาคม 2553 ณ เมือง Nuremberg ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน เปนการประชาสัมพันธใหประเทศตางๆ ท่ีมารวมงานและผูเขารวมชมงานท้ังชาวตางประเทศและชาวเยอรมันไดขอมูลการผลิตสินคาสัตวน้ําสวยงามและพรรณไมน้ํา ตลอดจนแหลงติดตอ ซ่ึงจากขอมูลท่ีไดจัดเตรียมไปแจกในงาน รวมท้ังภาคเอกชนท่ีไดจัดเตรียมขอมูลสินคาและราคาสินคา เพ่ือประชาสัมพันธ จะเปนการประสานความสัมพันธอยางดีในการติดตอซ้ือขายในปจจุบันและอนาคต นอกจากนี้ไดนําขอมูลภาคเอกชนในตางประเทศท่ีสนใจในสินคาสัตวน้ําสวยงามและพรรณไมน้ํามาประชาสัมพันธใหผูผลิตและผูทําการคาในประเทศไทยไดติดตอซ้ือขายโดยตรงตอไปในอนาคต

  • รูปที่ 1 คณะเจาหนาท่ีของกรมประมงและภาคเอกชนท่ีรวมจัดแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไม

    น้ําไทยภายในบูธของกรมประมง พ้ืนท่ี 20 ตารางเมตร

    รูปที่ 2 กรมประมงไดเขารวมพิธีเปดงาน Interzoo 2010 โดยมี Mr. Joachim Herrmann (The Bavarian

    State Minister of the Interior) เปนประธานในพิธีเปด

  • รูปที่ 3 การจัดแสดงชนิดปลากัดไทย (Siamese fighting fish) ซ่ึงเปนชนิดปลาสวยงามท่ีมีมูลคาการ

    ซ้ือขายและสงออกอยูในลําดับท่ีหนึ่งของประเทศไทย และเปนท่ีรูจักในตลาดตางประเทศ

  • รูปที่ 4 การจัดแสดงชนิดพรรณไมน้ําท่ีมีศักยภาพในการผลิตเพ่ือการสงออกของประเทศไทย รวมท้ังแสดงการใชเทคโนโลยีชีวภาพในการเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อพรรณไมน้ํา เพ่ือเพ่ิมมูลคาและ คุณภาพสินคาพรรณไมน้ําของไทย

  • รูปที่ 5 จัดแสดงโปสเตอรชนิดปลาสวยงามและพรรณไมน้ําชนิดท่ีประเทศไทยมีศักยภาพในการ

    ผลิตเพ่ือการสงออก ไดแก โปสเตอรแสดงสายพันธุปลาไทย, ปลากัดไทย, ปลาทอง, ปลาหมอสี, ปลาหางนกยูง, ปลาปอมปาดัวส, ปลาคารพ, ปลาการตูน และชนิดพรรณไมน้ํา

    รูปที่ 6 ภาคธุรกิจในตางประเทศ โดยไดมีการติดตอแลกเปล่ียนขอมูลการคาและเชิญกรมประมงเขา

    รวมแสดงสินคาปลาสวยงาม พรรณไมน้ําและอุปกรณท่ีเกี่ยวเนื่อง

  • รูปที่ 7 สินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ําของไทยไดรับความสนใจจากผูเขารวมงานโดยมีการติดตอ

    สอบถามขอมูลเปนจํานวนมาก

  • รูปที่ 8 ภาคเอกชนผูผลิตและผูสงออกจากประเทศไทยท่ีเขารวมงานดังกลาวไดเจรจาธุรกิจสินคาปลา

    สวยงามและพรรณไมน้ําโดยตรง

  • รูปที่ 9 การจัดแสดงสินคาปลาสวยงามและพรรณไมน้ําของประเทศตางๆ ในงาน Interzoo2010 เชน

    การจัดในรูปแบบ pavilion ของประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ศรีลังกา จีน สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา เปนตน

  • รูปที่ 10 บรรยากาศภายในงานแสดงสินคาและเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวของกับปลาสวยงามและพรรณไมน้ํา