บทที่ 3 · web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห...

46
หหหหหหหหหหหหห 3 หหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหหห บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบ บบบบบบบ บบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบ บบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบ บบบบบบบบบ 3.1 บบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ (N) บบบ บบบบบบบ(S) บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ (บบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ) บบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ บบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ( ) บบบบบบบบบบบ 3.1

Upload: others

Post on 02-Nov-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

หน่วยเรยีนท่ี 3การวเิคราะห์วงจรไฟฟา้กระแสสลับ

บทเรยีนที่ผ่านมาเราพอจะทราบถึงแหล่งท่ีมาของพลังงานไฟฟา้กระแสสลับ เชน่ เครื่องกำาเนิดไฟฟา้ เครื่องกำาเนิดสญัญาณรูปคล่ืนซายน์ รวมทัง้พลังทดแทนรูปแบบต่างๆแล้วนัน้ ยกตัวอยา่ง การกำาเนิดรูปคล่ืนแรงดันไฟฟา้กระแสสลับ เกิดจากการนำาขดลวดเคล่ือนที่ตัดเสน้แรงแมเ่หล็ก ดังรูปที่ 3.1 เป็นรูปโครงสรา้งของเครื่องกำาเนิดไฟฟา้กระแสสลับพื้นฐานท่ีประกอบด้วยขัว้แมเ่หล็กถาวรขัว้เหนือ (N) และขัว้ใต้(S) และเสน้แรงแมเ่หล็กจะพุง่จากขัว้แมเ่หล็กไฟฟา้ขัว้เหนือไปขัว้แมเ่หล็กใต้ (ขัว้แมเ่หล็กทัง้สองจะอยูก่ับท่ี) สว่นที่หมุนคือขดลวดตัวนำาที่วางอยูร่ะหวา่งเสน้แรงแมเ่หล็ก เมื่อขดลวดหมุนตัดเสน้แรงแมเ่หล็กจะเกิดแรงเคล่ือนเหน่ียวนำา( ) ดังสมการท่ี 3.1

รูปท่ี 3.1 พื้นฐานหลักการเครื่องกำาเนิดไฟฟา้

(3.1)

Page 2: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ(3.2)

จากสมการท่ี 3.2 แรงเคล่ือนไฟฟา้เหน่ียวนำา( )จะมากหรอืน้อยจะขึ้นอยูก่ับความเรว็เชงิมุมและจำานวนรอบเมื่อ ความเรว็เชงิมุมของโรเตอร ์ (rad/sec)

จำานวนรอบของขดลวดตัวนำา เสน้แรงแมเ่หล็กสงูสดุ

แรงเคล่ือนไฟฟา้เหน่ียวนำา (Induced voltage)จากรูปท่ี 3.1 การสรา้งแรงดันไฟฟา้เหน่ียวนำาทำาได้โดยการนำาขดลวดเคล่ือนที่ตัดเสน้แรงแมเ่หล็ก และในทางตรงกันขา้มการสรา้งแรงเคล่ือนไฟฟา้เหน่ียวนำาสามารถทำาได้โดยการใหข้ดลวดอยูก่ับที่ และทำาการหมุนเสน้แรงแมเ่หล็ก ดังรูปที่ 3.2

รูปท่ี 3.2 เครื่องกำาเนิดกรณีหมุนสนามแมเ่หล็ก

พจิารณาในรูปที่ 3.3 แสดงการเคลื่อนที่ของลวดตัวน ำาหมุนในทิศทางทวนเขม็นาฬิกาเมื่อทำาการหมุนครบ 1 รอบ จาก ถึง จะได้รูปคลื่นแรงดันซายน์ 1 รูปคลื่นดังรูปและตำาแหน่งที่ทำาใหเ้กิดแรงเคลื่อนเหนี่ยวนำาสงูสดุที่มุม แรงเคลื่อนเหนี่ยวนำาสงูสดุเป็นบวก และตำาแหน่งท่ีทำาใหแ้รงเคล่ือนนำาสงูสดุมค่ีาเป็นลบที่มุม

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-2

Page 3: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.3 การเกิดรูปคล่ืนแรงดันซายน์

(ก) รูปคล่ืนแรงดันไฟฟา้กระแสสลับ (ข) สญัลักษณ์ ไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.4 รูปคล่ืน และสญัลักษณ์ แรงดันไฟฟา้กระแสสลับ

พจิารณารูปคล่ืนในรูปที่ 3.4 ตำาแหน่งแรงดันท่ี 0 องศาถึง 180 องศาเรยีกวา่ครึง่รูปคล่ืน (Half-Cycle) และตำาแหน่งท่ี 0 องศาถึง 360 องศาเรยีก 1 รูปคล่ืนซายน์ หรอื 1 ไซเคิล (1 Cycle)3.1 ความถ่ี และคาบเวลา

ก ่อ น จ ะ ก ล ่า ว ถ ึง ค ว า ม ถ ี่(Frequency)แ ล ะ ค า บเวลา(Period) จะต้องทราบความเรว็เชงิมุม ซึ่งความเรว็เชงิมุมน้ีคือ

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-3

Page 4: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับอัตราสว่นระหวา่งระยะทางของรูปคลื่นแรงดันไฟฟา้ (ที่มหีน่วยเป็นองศาหรอืเรเดียน) ต่อ เวลา(มหีน่วยเป็นวนิาที) โดยใหพ้จิารณาสมการท่ี 3.2

(3.2)เมื่อ ความเรว็เชงิมุม(Angular velocity)

ระยะทาง (Distance) หน่วย (degrees or radians, rad)

เวลา (Time) หน่วย (second, sec)สมการท่ีใชใ้นการแปลงหน่วยจากองศา (Degree) เป็นเรเดียน (rad)

(3.3)สมการท่ีใชใ้นการแปลงหน่วยจากองศาเรเดียน (rad) เป็น(degree)

(3.4)เมื่อระยะทาง 1 ไซเคิล (Cycle) เท่ากับ 360 องศา หรอื และให ้ นำาไปแทนค่าในสมการที่ 3.2 จะได้

(3.5)

จากสมการความถ่ี (3.6)

และเมื่อแทนสมการท่ี 3.6 ลงในสมการที่ 3.5 จะได้

(3.7)ตัวอยา่งท่ี 3.1 จากรูปท่ี 3.5 จงคำานวณหาค่าความถ่ีใน 1 คาบเวลา (Cycle)

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-4

Page 5: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.5 ประกอบการคำานวณ ตัวอยา่งท่ี 3.1วธิทีำา จากสมการท่ี 3.5 หาค่า

3.2 รูปแบบรูปคลื่นซายน์ของแรงดันไฟฟา้และกระแสไฟฟา้ (General format for the sinusoidal voltage or current) พื้นฐานของสมการทางคณิตศาสตรรู์ปคล่ืนซายน์แสดงได้ดังสมการที่ 3.8 และพจิารณาดังรูปที่ 3.6

(3.8)

รูปท่ี 3.6 รูปคล่ืนแรงดันซายน์

จากสมการท่ี 3.2 นำาไปแทนลงในสมการที่ 3.8 จะได้

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-5

Page 6: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ(3.9)

และจากสมการท่ี 3.9 นำาไปเขยีนในรูปของสมการแรงดันไฟฟา้และกระแสไฟฟา้ได้ดังสมการท่ี 3.11 และ สมการ 3.12

(3.11) (3.12)

ตัวอยา่งท่ี 3.2 จากรูปคล่ืนแรงดันซายน์ในรูปที่ 3.7 จงเขยีนสมการแรงดันไฟฟา้

รูปท่ี 3.7 ประกอบการคำานวณตัวอยา่งที่ 3.2วธิทีำา จากรูปท่ี 3.7 สามารถเขยีนสมการได้ดังน้ี

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-6

Page 7: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

ตอบ Vตัวอยา่งท่ี 3.3 จากรูปท่ี 3.8 จงหาค่ามุม ท่ีกระแสไฟฟา้ท่ี 4 A

รูปท่ี 3.8 ประกอบการคำานวณตัวอยา่งที่ 3.3ว ิ ธทีำา เขยีนสมการกระแส

และที่ จะได้ ตอบ 3.3 ความสมัพนัธร์ะหวา่งเฟสของแรงดันกับกระแสไฟฟา้ 3.3.1 พื้นฐานเฟสเซอร์

จากรูปที่ 3.6 ค่าแรงดันเป็นศูนยท์ี่ มุม และแรงดันมีค่าสงูสดุที่มุม และรูปคลื่นแรงดันหรอืกระแสที่เลื่อนเฟสไปทางซา้ย (เป็นมุมนำาหน้าจากตำาแหน่งศูนย์) หรอืขวา (เป็นมุมล้าหลังจากตำาแหน่งศูนย์) และเขยีนสมการแรงดันและกระแสได้ดังสมการท่ี 3.13 และ 3.14 ใหพ้จิารณารูปท่ี 3.9 กับ รูปที่ 3.10

(3.13)(3.14)

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-7

Page 8: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.9 รูปคล่ืนกระแสไฟฟา้เมื่อมมุีมนำาหน้า

รูปท่ี 3.10 รูปคล่ืนกระแสไฟฟา้เมื่อมมุีมล้าหลัง

ตัวอยา่งท่ี 3.4 จากสมการแรงดันและกระแสไฟฟา้ต่อไปน้ีจงวาดรูปคล่ืนซายน์แรงดันและกระแสไฟฟา้

ก. ,

ข. ,

วธิทีำา ก. จากค่าแรงดันและกระแสในสมการพบวา่กระแสมมุีมนำาหน้าแรงดัน 40 องศา

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-8

Page 9: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.11 คล่ืนซายน์แรงดัน ตามตัวอยา่งท่ี 3.4 (ก)

ข. จากค่าแรงดันและกระแสในสมการพบวา่กระแสมมุีมนำาหน้าแรงดัน 80 องศา

รูปท่ี 3.12 คล่ืนซายน์แรงดัน ตามตัวอยา่งท่ี 3.4 (ข)

3.4 ผลตอบสนองของโหลดในวงจรไฟฟา้กระแสสลับ (Response of R, L, and C Element to A sinusoidal voltage or current)

ในวงจรไฟฟา้กระแสสลับ ผลของโหลด เชน่ตัวต้านทาน ตัวเหน่ียวนำา และตัวเก็บประจุ จะมผีลต่อวงจรไฟฟา้เน่ืองจากอุปกรณ์ทัง้ 3 ตัวน้ีเป็นองค์ประกอบของโหลดทางไฟฟา้

3.5.1 ตัวต้านทาน

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-9

Page 10: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับพจิารณา รูปท่ี 3.13 เป็นวงจรไฟฟา้กระแสสลับท่ีประกอบ

ด้วยแหล่งจา่ยไฟฟา้กระแส สลับต่อกับโหลดที่เป็นตัวต้านทาน

รูปท่ี 3.13 โหลดตัวต้านทานในวงจรไฟฟา้กระแสสลับ

จากกฎของโอหม์ เมื่อแทนค่าแรงดัน ตามสมการในรูปท่ี 3.13 จะได้สมการขนาดกระแสสงูสดุดังสมการท่ี 3.15

(3.15)หรอื

(3.16)กรณีที่โหลดเป็นความต้านทานล้วนๆแรงดันที่ตกครอ่มตัวต้านทานกับกระแสท่ีไหลผ่านตัวต้านทานจะมมุีมของรูปคล่ืนท่ีตำาแหน่งเดียวกัน ดังรูปที่ 3.14

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-10

Page 11: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.14 มุมแรงดันกับกระแสอินเฟส

ตัวอยา่งที่ 3.5 จากรูปที่ 3.13 กำาหนดใหต้ัวต้านทานเท่ากับ 10 โอหม์ และมแีรงดันที่ตกครอ่มตัวต้านทาน จงคำานวณหาค่ากระแส พรอ้มวาดรูปคลื่นซายน์ของแรงดันไฟฟา้และกระแสไฟฟา้

วธิทีำา

เมื่อเขยีนในรูปกระแส และสามารถวาดรูปคล่ืนซายน์แรงดันกับกระแสไฟฟา้ท่ีมมุีมตำาแหน่งเดียวกันได้ดังรูปท่ี 3.15

รูปท่ี 3.15 รูปคล่ืนซายน์แรงดันกับกระแสไฟฟา้

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-11

Page 12: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ3.4.2 ตัวเหนี่ยวนำา

พจิารณาในรูปท่ี3.16 เป็นวงจรไฟฟา้กระแสสลับท่ีแหล่งจา่ยไฟฟา้กระแสสลับต่อกับตัวเหน่ียวนำา

รูปท่ี 3.16 โหลดตัวเหนี่ยวนำาในวงจรไฟฟา้กระแสสลับ

แรงดันไฟฟา้ที่ตกครอ่มตัวเหนี่ยวนำาไฟฟา้ จะขึ้นกับกระแสไฟฟา้ที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำาเทียบกับระยะเวลาดังสมการที่ 3.17 (เนื่องจากกระแสที่ไหลผ่านตัวเหน่ียวนำาไมส่ามารถไหลผ่านได้ทันที่ทันใด)

(3.17)

กระแสที่ไหลในวงจรรูปท่ี 3.15 เมื่อ

(3.18)

จะได้ (3.19)

เมื่อค่ารแีอคแตนท์ (Reactance) (3.20)

จากค่า

หรอื (3.21)

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-12

Page 13: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับจากความสมัพนัธข์อง รูปคล่ืนซายน์ กับ โคซายน์ แสดงดังสมการท่ี 3.22

(3.22)เมื่อนำาสมการกระแสท่ีไหลผ่านตัวเหน่ียวนำากับแรงดันที่ตกครอ่มตัวเหน่ียวนำาได้ดังรูปที่ 3.17 พบวา่แรงดันนำาหน้ากระแสเป็นมุม 90 องศา

รูปท่ี 3.17 รูปคล่ืนซายน์แรงดันนำาหน้ากระแสเป็นมุม 90 องศา

ตัวอยา่งท่ี 3.6 จากรูปท่ี 3.16 กระแส ไหลผ่านตัวเหน่ียวนำาขนาด 0.1H จงหาค่าแรงดันท่ีตกครอ่มตัวเหน่ียวนำาพรอ้มวาดรูปคล่ืนซายน์ของแรงดันไฟฟา้และกระแสไฟฟา้วธิทีำา จากสมการแรงดันสงูสดุ เมื่อ

จะได้

เมื่อนำามาเขยีนในรูปสมการของแรงดันตกครอ่มตัวเหนียวนำา และแสดงดังรูปที่ 3.18

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-13

Page 14: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.18 แรงดันนำาหน้ากระแสเป็นมุม 90 องศา

3.4.3 ตัวเก็บประจุ พจิารณาวงจรตามรูปที่ 3.19 ประกอบด้วยแหล่งจา่ยแรงดันไฟฟา้กระแสสลับต่อกับตัวเก็บประจุ

รูปท่ี 3.19 โหลดตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟา้กระแสสลับ

กระแสไฟฟา้ที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุ ขึ้นอยูก่ับแรงดันที่ตกครอ่มตัวเก็บประจุเทียบกับเวลาดังสมการที่ 3.23

(3.23)

เมื่อแรงดันท่ีตกครอ่มตัวเก็บประจุ นำาไปแทนในสมการท่ี 3.23 จะได้

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-14

Page 15: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

(3.24)เมื่อ

(3.25)

(3.26)จากสมการท่ี 3.24 พบวา่กระแสท่ีไหลผ่านตัวเก็บประจุมมุีมนำาหน้าแรงดันที่ตกครอ่มตัวเก็บประจุเป็นมุม 90 องศา พจิารณาดังรูปท่ี 3.20

รูปท่ี 3.20 กระแสนำาหน้าแรงดัน 90 องศา

ตัวอยา่งท่ี 3.7 แรงดัน ที่ตกครอ่มตัวเก็บประจุขนาด 1 uF ดังรูปที่ 3.19 จงคำานวณหากระแสท่ีไหลผ่านตัวเก็บประจุและวาดรูปคล่ืนแรงดันกับกระแสไฟฟา้วธิทีำาจากคณุสมบติัของวงจรท่ีเป็นตัวเก็บประจุกระแสจะนำาหน้าแรงดันเป็นมุม 90 องศา

หาค่า

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-15

Page 16: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

แต่

เพราะฉะนัน้จะได้

ตอบ

เมื่อเขยีนในรูปของกระแสท่ีไหลผ่านตัวเก็บประจุ

รูปท่ี 3.21 รูปคล่ืนแรงดันกับแสตามการคำานวณในตัวอยา่งที่ 3.7

3.5 แรงดันและกระแสประสทิธผิล (Voltage and Current Effective)

แรงดันและกระแสไฟฟา้เฉล่ียในวงจรไฟฟา้กระแสสลับ หรอืการค่าเฉล่ียรูปคล่ืนซายน์ เป็นค่าท่ีทำาใหเ้กิดประสทิธผิล (เป็นแรงดันและกระไฟฟา้ที่ทำาใหโ้หลดเกิดกำาลังงาน) การทำางานของโหลดใน

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-16

Page 17: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับวงจรไฟฟา้กระแสสลับ พจิารณาสมการแรงดันไฟฟา้และกระแสไฟฟา้กระแสสลับ ดังสมการท่ี 3.27 และ 3.28 ตามลำาดับ

(3.27)เชน่เดียวกันในกรณีของแรงดันประสทิธผิลสามารถหาค่าได้ดังสมการท่ี (3.28)

(3.28)

จากสมการที่ 3.28 เป็นค่าแรงดันประสทิธผิลหรอืค่าเฉลี่ยรูปคลื่นแรงดันซายน์ แสดงดังรูปที่ 3.22 กรณีรูปคลื่นกระแสไฟฟา้ซายน์ก็มลัีกษณะคล้ายกัน

รูปท่ี 3.22 ระดับแรงดันประสทิธผิล

3.6 วงจรไฟฟา้กระแสสลับ แบบอนุกรม(AC Series Circuit)

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับจากหวัขอ้ท่ีผ่านมาทำาใหเ้ราทราบถึงผลของโหลดแต่ละชนิดที่เกิดขึ้นในวงจรในหวัขอ้นี้จะน ำา

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-17

Page 18: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับเสนอการวเิคราะหว์งจรอนุกรม เชน่การคำานวณหาค่า กระแสแรงดันไฟฟา้ ในรูปของเฟสเซอร ์(Phasor) แต่ถึงอยา่งไรกฎของโอหม์ยงัเป็นพื้นฐานในการคำานวณ

3.6.1 กฎของโอห์มในวงจรไฟฟา้กระแสสลับการพจิารณากฎของโอหม์จะพจิารณากรณีของโหลด 3 ชนิด

คือ ตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำาและตัวเก็บประจุ

กรณีโหลดท่ีเป็นตัวต้านทานพจิารณาวงจรในรูปท่ี 3.23 ประกอบด้วยกระแสที่ไหล

ผ่านตัวต้านทานและแรงดันที่ตกครอ่ม เราจะใชเ้ป็นวงจรพื้นฐานในการวเิคราะห์

รูปท่ี 3.23 กรณีโหลดตัวต้านทานจากรูปท่ี 3.23 แรงดันไฟฟา้ที่ตกครอ่มตัวต้านทานและกระแสไฟฟา้

ท่ีไหลผ่านตัวต้านทานมค่ีาดังน้ี

เมื่อค่าอิมพแีดนซ ์ของวงจร

(3.29)เฟสเซอรใ์นรูปแรงดันไฟฟา้และกระแสไฟฟา้

(3.30)

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-18

Page 19: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

(3.31)จากกฎของโอหม์

(3.32)หรอื (3.33)

เมื่อ แรงดันไฟฟา้ท่ีมทัีง้ขนาดและมุม แรงดันไฟฟา้ที่มทัีง้ขนาดและมุม

พจิารณาในรูปที่ 3.24 แสดงความสมัพนัธข์องรูปคล่ืนซายน์กับเฟสเซอรแ์รงดันและกระแส

( ก) เฟสเซอร์ (ข) รูปคล่ืนซายน์

รูปท่ี 3.24 เฟสเซอรแ์ละรูปคล่ืนซายน์ของโหลดตัวต้านทานในวงจรไฟฟา้กระแสสลับ

ตัวอยา่งท่ี 3.8 จากรูปท่ี 3.25 จงคำานวณหาค่าต่อไปน้ีก. หาค่ากระแสไฟฟา้ข. วาดรูปคล่ืนซายน์ของแรงดันและกระแส

ค. วาดรูปเฟสเซอรข์องแรงดันและกระแส

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-19

Page 20: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.25 ประกอบการคำานวณในตัวอยา่งที่ 3.8วธิทีำา ก. หาค่ากระแสไฟฟา้ จากสมการกระแสไฟฟา้ในรูปคล่ืนซายน์

จากโจทยห์าค่า

จากสมการท่ี 3.30

เมื่อเขยีนค่ากระแสไฟฟา้ในรูปคล่ืนซายน์ ตอบ

ข. วาดรูปคล่ืนซายน์ของแรงดันและกระแสตอบ

รูปท่ี 3.26 รูปคล่ืนซายน์คำาตอบตามตัวอยา่งที่ 3.8ค.วาดรูปเฟสเซอรข์องแรงดันและกระแส

ตอบ

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-20

Page 21: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.27 เฟสเซอรค์ำาตอบตามตัวอยา่งท่ี 3.8

กรณีท่ีโหลดเป็นตัวเหนี่ยวนำาจากหวัขอ้ที่ 3.5.2 กรณีวงจรไฟฟา้กระแสสลับที่โหลดเป็นค่าตัวเหน่ียวนำาล้วน แรงดัน

ไฟฟา้จะมมุีมนำาหน้ากระแสไฟฟา้เป็นมุม 90 องศา ใหพ้จิารณาในรูปที่ 3.28 ประกอบด้วยกระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำา และแรงดันไฟฟา้ที่ตกครอ่มตัวเหนี่ยวนำา และสามรถเขยีนสมการแรงดันและกระแสในรูปของเฟสเซอรดั์งสมการท่ี 3.34 และ สมการ 3.35

รูปท่ี 3.28 กรณีโหลดเป็นตัวเหน่ียวนำา

เมื่อ

(3.34)

(3.35)

ตัวอยา่งท่ี 3.9 จากรูปท่ี 3.29 จงหาค่าต่อไปน้ีก. หาค่ากระแสไฟฟา้รูปคล่ืนซายน์

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-21

Page 22: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับข. วาดรูปคล่ืนซายน์ของแรงดันและกระแสไฟฟา้ค. วาดรูปเฟสเซอรข์องแรงดันและกระแสไฟฟา้

รูปท่ี 3.29 ประกอบการคำานวณในตัวอยา่งที่ 3.9 วธิทีำาก. หาค่ากระแสไฟฟา้รูปคล่ืนซายน์หาค่า

หาค่า

หาค่ากระแสในรูปเฟสเซอร์

เมื่อนำาไปเขยีนสมการกระแสท่ีไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำาในรูปคล่ืนซายน์

ตอบ

ข. วาดรูปคล่ืนซายน์ของแรงดันและกระแสไฟฟา้ตอบ

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-22

Page 23: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับรูปท่ี 3.30 รูปคล่ืนซายน์คำาตอบตามตัวอยา่งที่ 3.9

ค.วาดรูปเฟสเซอรข์องแรงดันและกระแสไฟฟา้ตอบ

รูปท่ี 3.31 เฟสเซอรแ์รงดันนำาหน้ากระแสไฟฟา้ 90 องศา

กรณีท่ีโหลดเป็นตัวเก็บประจุจากหวัขอ้ท่ี 3.5.3 กรณีที่วงจรไฟฟา้กระแสสลับโหลดเป็นตัว

ต้านทานล้วน กระแสไฟฟา้จะมมุีมนำาหน้าแรงดันไฟฟา้ 90 องศาหรอื ใหพ้จิารณาในรูปที่ 3.34 ซึ่งประกอบด้วยกระแสที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุและแรงดันไฟฟา้ที่ครอ่มตัวเก็บประจุและมคี่าอิมพแีดนซ์ ดังสมการที ่3.36 กรณีน้ีก็สามารถใชก้ฎของโอหม์ในการหาค่าแรงดันและกระแสไฟฟา้ท่ีตัวเก็บประจุดังแสดงในสมการท่ี 3.37 และ 3.38

รูปท่ี 3.32 กรณีโหลดเป็นตัวเก็บประจุ

(3.36) (3.37)

(3.38)

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-23

Page 24: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

ตัวอยา่งท่ี 3.10 จากวงจรในรูปท่ี 3.36 จงหาค่าต่อไปน้ีก. หาค่าแรงดันไฟฟา้รูปคล่ืนซายน์ข. วาดรูปคล่ืนซายน์ของแรงดันและกระแสไฟฟา้ค. วาดรูปเฟสเซอรข์องแรงดันและกระแสไฟฟา้

รูปท่ี 3.33 ประกอบการคำานวณในตัวอยา่งที่ 3.11วธิทีำาก. หาค่ากระแสไฟฟา้รูปคล่ืนซายน์ หาค่า

หาค่ากระแสในรูปเฟสเซอร์

หาค่าแรงดันในรูปเฟสเซอรจ์ากสมการท่ี 3.36

เขยีนสมการแรงดันท่ีตกครอ่มตัวเก็บประจุในรูปคล่ืนซายน์ตอบ

ข. วาดรูปคล่ืนซายน์ของแรงดันและกระแสไฟฟา้ตอบ

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-24

Page 25: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.34 รูปคล่ืนซายน์คำาตอบตามตัวอยา่งที่ 3.10ค วาดรูปเฟสเซอรข์องแรงดันและกระแสไฟฟา้ตอบ

รูปท่ี 3.35 เฟสเซอรค์ำาตอบตามตัวอยา่งที่ 3.103.6.2 อิมพแีดนซใ์นวงจรอนุกรม (Impedance Series Circuit)

อิมพแีดนซ ์คือองค์ประกอบที่มตีัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำา และตัวเก็บประจุ ในวงจรไฟฟา้กระแสสลับ พจิารณาวงจรการต่ออิมพีแดนซแ์บบอนุกรมในวงจรรูปที่3.39 และสมการ อิมพแีดนซร์วมของวงจรแสดงดังสมการที่ 3.39

(3.39)

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-25

Page 26: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับรูปท่ี 3.36 การต่ออิมพแีดนซแ์บบอนุกรม

ตัวอยา่งท่ี 3.11 จากรูปท่ี 3.40 จงหาค่าจงหาค่าอิมพแีดนซร์วมของวงจร และเขยีนเฟสเซอร์

รูปท่ี 3.37 วงจรอนุกรม RL ประกอบตัวอยา่งท่ี 3.11

วธิทีำา จากสมการท่ี 3.39

ตอบ

รูปท่ี 3.38 เฟสเซอรอิ์มพแีดนซร์วมของวงจรในตัวอยา่ง 3.11ตัวอยา่งท่ี 3.12 จากรูปท่ี 3.42 จงหาค่าอิมพแีดนซร์วมของวงจร และเขยีนเฟสเซอร์

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-26

Page 27: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.39 วงจรอนุกรม RLC ประกอบตัวอยา่งท่ี 3.12วธิทีำา จากสมการท่ี 3.38

หรอืตอบในรูปแบบเชงิมุม (Polar form)ตอบ

รูปท่ี 3.40 เฟสเซอรอิ์มพแีดนซร์วมของวงจรในตัวอยา่ง 3.123.6.3 วงจรอนุกรมตัวต้านทานกับตัวเหนี่ยวนำา (RL-Series Circuit)

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับแบบอนุกรม ที่มโีหลดเป็นตัวต้านทานกับตัวเหน่ียวนำา แสดงดังรูปที่ 4.44 ซึ่งจะใชใ้นการหาค่ากระแสที่ไหลในวงจร และแรงดันที่ตกครอ่มอิมพแีดนซแ์ต่ละตัวในวงจร พื้นฐานที่ใชใ้นการคำานวณ จากที่ได้ศึกษาในหวัขอ้ที่ผ่านมา เชน่

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-27

Page 28: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับกฎของโอหม์ในวงจรไฟฟา้กระแสสลับ การหาค่าอิมพแีดนซร์วมของวงจรเป็นต้น

รูปท่ี 3.41 วงจรอนุกรมกรณีโหลด RLตัวอยา่งท่ี 3.13 จากรูปท่ี 3.44 จงหาค่าต่อไปน้ี

ก. ค่าอิมพแีดนซร์วมของวงจรข. เขยีนรูปเฟสเซอรข์องค. กระแสไฟฟา้ในรูปเฟสเซอร์ง. แรงดันเฟสเซอรท์ี่ตกครอ่มตัวต้านทาน และตัวเหน่ียวนำาจ. เขยีนรูปเฟสเซอรข์องแรงดัน

วธิทีำา ก. ค่าอิมพแีดนซร์วมของวงจรจากวงจรจะได้ค่าอิมพแีดนซร์วมของวงจรตอบหรอื ข. เขยีนรูปเฟสเซอรข์องตอบ

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-28

Page 29: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับรูปท่ี 3.42 แสดงเฟสเซอรอิ์มพแีดนซร์วมของวงจรในตัวอยา่ง

3.13ค. กระแสไฟฟา้ในรูปเฟสเซอร์

เมื่อ

จะได้ตอบ

ง. แรงดันเฟสเซอรท์ี่ตกครอ่มตัวต้านทาน และตัวเหน่ียวนำาใชก้ฎของโอหม์

ใชก้ฎแรงดันของเคอรช์อฟฟ์

การบวกจะต้องทำาการบวกในรูป Rectangular formตอบ

เพราะฉะนัน้จะได้

จ. เขยีนรูปเฟสเซอรข์องแรงดันตอบ

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-29

Page 30: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.43 เฟสเซอรแ์รงดันไฟฟา้รวมของวงจรในตัวอยา่ง 3.133.6.4 วงจรอนุกรมตัวต้านทานกับตัวเก็บประจุ (RC Series Circuit)

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับอนุกรมระหวา่งตัวต้านทานกับตัวเก็บประจุจะมกีารวเิคราะหห์าค่าคล้ายกับวงจรอนุกรมตัวต้านทานกับตัวเหน่ียวนำา (RL Circuit) เพยีงแต่ในวงจรการอนุกรมตัวต้านทานกับตัวเก็บประจุ ค่าอิมพแีดนซข์องตัวเก็บประจุมมุีมเฟสล้าหลังค่าอิมพแีดนซข์องตัวต้านทานเป็นมุม

พจิารณาในรูปท่ี 3.44 เป็นวงจรไฟฟา้กระแสสลับอนุกรมท่ีประกอบด้วยแหล่งจา่ยไฟฟา้กระแสสลับและตัวต้านทานกับตัวเก็บประจุต่ออนุกรมกันอยู ่จากคณุสมบติัของกระแสไฟฟา้ท่ีไหลในวงจรอนุกรมค่ากระแสท่ีไหลในวงจรมค่ีาเท่ากัน

รูปท่ี 3.44 วงจรอนุกรมตัวต้านทานกับตัวเก็บประจุ

ตัวอยา่งท่ี 3.14 จากรูปท่ี 3.47 จงคำานวณหาค่าต่อไปน้ีก. หาค่าอิมพแีดนซร์วมของวงจร และเขยีนเฟสเซอร์ข. หาค่ากระแสในรูปเฟสเซอร์ค. หาค่าแรงดันในรูปเฟสเซอรท่ี์ตกครอ่มตัวต้านทาน และแรงดันครอ่มตัวเก็บ

ประจุง. เขยีนเฟสเซอรข์องแรงดันไฟฟา้ทัง้หมดของวงจร

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-30

Page 31: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับวธิทีำาก. หาค่าอิมพแีดนซร์วมของวงจร และเขยีนเฟสเซอร์หาค่าอิมพแีดนซร์วม

รูปท่ี 3.45 เฟสเซอรอิ์มพแีดนซร์วม ในตัวอยา่งท่ี 3.14ข. หาค่ากระแสในรูปเฟสเซอร์จากสมการหาค่ากระแสไฟฟา้รวมทัง้หมดของวงจรในรูปเฟสเซอร์

หาค่า

จะได้ตอบค. หาค่าแรงดันในรูปเฟสเซอรท่ี์ตกครอ่มตัวต้านทาน และแรง

ดันครอ่มตัวเก็บประจุตอบ

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-31

ตอบ

Page 32: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับสามารถตรวจคำาตอบจากกฎแรงดันของเคอรช์อฟฟ์

ง. เขยีนเฟสเซอรข์องแรงดันไฟฟา้ทัง้หมดของวงจรตอบ

รูปท่ี 3.46 เฟสเซอรแ์รงดันของวงจร ในตัวอยา่งที่3.143.7 วงจรไฟฟา้กระแสสลับแบบขนาน

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับมหีลักการวเิคราะหค์ล้ายกับวงจรขนานในบทที่ 2 เพยีงแต่ในวงจรไฟฟา้กระแสสลับจะมเีรื่องการเล่ือนมุมเฟสของรูปคล่ืนแรงดันไฟฟา้และกระแสไฟฟา้ ตามคณุลักษณะของชนิดของโหลดท่ีนำามาต่อ

การหาค่ากระแสไฟฟา้ในวงจรไฟฟา้กระแสสลับแบบวงจรขนาน แนวการวเิคราะหก์็คล้ายกับวงจรไฟฟา้ขนานแบบกระแสตรง และยงัคงใชห้ลักการหาค่ากระแสไฟฟา้ จากกฎกระแสของเคอรช์อฟฟ์

พจิารณาวงจรในรูปท่ี 3.47 เป็นวงจรขนานประกอบด้วยตัวต้านทาน ตัวเหน่ียวนำา และตัวเก็บประจุต่อขนานกัน

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-32

Page 33: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.47 การต่อโหลดชนิดต่างๆในวงจรไฟฟา้แบบขนานจากรูปท่ี 3.50 สามารถเขยีนสมการหาค่าอิมพแีดนซร์วมของวงจรดังสมการท่ี 3.40

(3.40)

กรณีของวงจรขนานจะพจิารณาองค์ประกอบของโหลดในรูปแอดมทิแตนซ ์(admittance) หรอืเป็นค่าสว่นกลับของอิมพแีดนซ ์ดังสมการท่ี 3.41

(3.41)

จากสมการกฎของโอหม์สามารถเขยีนในรูปการหาค่ากระแสไฟฟา้ แรงดันไฟฟา้กระแสสลับของวงจรขนานดังสมการที่ 3.42 และ 3.43 ตามลำาดับ

(3.42) (3.43)

ตัวอยา่งท่ี 3.15 จากวงจรในรูปท่ี 3.51 เป็นวงจรขนานระหวา่งตัวต้านทานกับเหน่ียวนำาจงคำานวณหาค่าต่อไปน้ี

ก. คำานวณหาค่าข. หาค่ากระแสรวมของวงจร

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-33

Page 34: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับค. หาค่ากระแสท่ีไหลผ่านอิมพแีดนซ์ง. เขยีนเฟสเซอรไ์ดอะแกรมของกระแสไฟฟา้

รูปท่ี 3.48 ประกอบการคำานวณในตัวอยา่งที่ 3.15วธิทีำา ก. คำานวณหาค่าจากสมการหาค่าแอดมทิแต้นท์(admittance)และค่าอิมพแีดนซ์

ตอบ ข. หาค่ากระแสรวมของวงจร

ตอบ ค. หาค่ากระแสท่ีไหลผ่านอิมพแีดนซ์หาค่ากระแสไหลในวงจรแต่ละสว่นตอบ

ตรวจคำาตอบท่ีค่าของกระแสรวม

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-34

Page 35: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

ง. เขยีนเฟสเซอรไ์ดอะแกรมของกระแสไฟฟา้ตอบ

รูปท่ี 3.49 เฟสเซอรแ์รงดันกับกระแสไฟฟา้ในตัวอยา่งท่ี 3.153.8 กำาลังไฟฟา้และ ตัวประกอบกำาลังกำาลังไฟฟา้ (Power, )

กำาลังไฟฟา้ในวงจรไฟฟา้กระแสสลับ จะขึ้นอยูก่ับกรณีของคณุสมบติัของโหลด สมการ

หลักท่ีใช ้ดังสมการท่ี 3.44 ในกรณีท่ีโหลดเป็นค่าความต้านทานล้วนแรงดันไฟฟา้และ

กระแสไฟฟา้จะมมุีมเฟสท่ีอยู่ในตำาแหน่งเดียวกัน(In phase)

ในกรณีท่ีโหลดมคี่าความเหน่ียวนำาแรงดันไฟฟา้จะมมุีมนำาหน้ากระแสหรอืกระแสไฟฟา้

มมุีมเฟสล้าหลังแรงดันไฟฟา้(Lagging)ในกรณีท่ีโหลดมคี่าความจุไฟฟา้กระแสไฟฟา้จะมมุีมเฟสนำา

หน้าแรงดันไฟฟา้(Leading)

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-35

Page 36: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

(3.44)หรอื (3.45)

เมื่อ มุมต่างเฟสระหวา่งแรงดันกับกระแสโดยที่ไมคิ่ดเครื่องหมาย

ตัวประกอบกำาลังไฟฟา้ (Power Factor, )ตัวประกอบกำาลังไฟฟา้ในสมการที่ 3.44 เป็นตัวบอกถึงกำาลัง

ไฟฟา้ท่ีเกิดขึ้นในวงจร วา่มีค่ามากหรอืน้อยโดยพจิารณาได้จากผลของการคำานวณ ดังสมการที่ 3.46 และเป็นตัวบอกชนิดของโหลดในวงจรไฟฟา้กระแสสลับนัน้ เป็นโหลดชนิดไหน

(3.46)

ตัวอยา่งท่ี 3.16 จากตัวอยา่งที่ 3.13 เป็นวงจรไฟฟา้อนุกรมตัวต้านทานกับตัวเหน่ียวนำา (R L circuit) จงคำานวณหาค่าต่อไปน้ี

ก. กำาลังไฟฟา้ท่ีตกครอ่มตัวต้านทานและตัวเหน่ียวนำาข. หาค่ากำาลังไฟฟา้รวมของวงจรค. หาค่าตัวประกอบกำาลังไฟฟา้

วธิทีำาก. กำาลังไฟฟา้ท่ีตกครอ่มตัวต้านทานและตัวเหน่ียวนำา

ตอบ

ข. หาค่ากำาลังไฟฟา้รวมของวงจร

ตอบ

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-36

Page 37: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับค. หาค่าตัวประกอบกำาลังไฟฟา้

ตอบหรอื

แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรยีนท่ี 3

1. จงแปลงมุมจากองศาเป็นเรเดียน(ก) (ข) (ค) (ง)

2. จงแปลงเรเดียนเป็นองศา(ก) (ข) (ค) (ง)

3. จงหาค่าความถี่, ค่าสงูสดุ และวาดรูปคล่ืนซายน์(ก) (ข)

4. จากสมการรูปคล่ืนแรงดัน จงหาค่าแรงดัน ท่ีมุม

5. จากสมการต่อไปน้ี จงหาค่า และหาค่ากระแส เมื่อ

6. จงวาดรูปคล่ืนซายน์ต่อไปน้ี(ก) (ข)

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-37

Page 38: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

7. จากรูปท่ี 3.53 – 3.54 จงเขยีนสมการรูปคล่ืนซายน์ (ก)

รูปท่ี 3.50 รูปคล่ืนซายน์ประกอบการคำานวณขอ้ท่ี 3.7 (ก)

(ข)

รูปท่ี 3.51 รูปคล่ืนซายน์ประกอบการคำานวณขอ้ท่ี 3.7 (ข)

8. จากรูปท่ี 3.56 จงหาค่าต่อไปน้ี(ก) หาค่าอิมพแีดนซร์วมของวงจร

(ข) หาค่ากระแสรวมของวงจร (ค) หาค่าแรงดันตกครอ่มอิมพแีดนซแ์ต่ละตัว (ง) หาค่ากำาลังไฟฟา้ของวงจร (จ) เขยีนเฟสเซอรไ์ดอะแกรมของแรงดันทัง้หมด

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-38

Page 39: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับ

รูปท่ี 3.52 วงจรประกอบการคำานวณขอ้ท่ี 3.89. จากรูปท่ี 3.57 จงหาค่าต่อไปน้ี

(ก) หาค่าอิมพแีดนซร์วมของวงจร (ข) หาค่ากระแสรวมของวงจร (ค) หาค่ากระแสท่ีไหลผ่านอิมพแีดนซแ์ต่ละตัว (ง) หาค่ากำาลังไฟฟา้ของวงจร (จ) เขยีนเฟสเซอรไ์ดอะแกรมของกระแสไฟฟา้ทัง้หมด

รูปท่ี 3.53 วงจรประกอบการคำานวณขอ้ท่ี 3.810. วงจรอนุกรมมคี่าความต้านทาน 1 k ค่าความเหนี่ยวนำา 100 mH และค่าความจุไฟฟา้ 0.5 F ต่ออนุกรมกัน ที่แรงดันไฟฟา้ 220 v ความถี่ 50 Hz จงวาดรูปวงจรตามโจทยท์ี่ให ้ และคำานวณหาค่า

ก) ค่าอินดักทีฟรแีอคแตนซ ์(XL)ข) ค่าคาปาซทิีฟรแีอคแตนซ ์(XC)ค) ค่าอิมพแีดนซข์องวงจร (Z)ง) แรงดันไฟฟา้ VR , VL และ VC

จ) มุมต่างเฟสระหวา่ง VT กับ Iฉ) ค่ากำาลังของวงจร

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-39

Page 40: บทที่ 3 · Web viewหน วยเร ยนท 3 การว เคราะห วงจรไฟฟ ากระแสสล บ บทเร ยนท ผ านมาเราพอจะทราบถ

วชิา Fundamentals of Electrical Engineering

การวเิคราะหว์งจรไฟฟา้กระแสสลับช) กำาลังไฟฟา้จรงิ , กำาลังไฟฟา้ปรากฏ และกำาลังไฟฟา้ต้าน

กลับ (P , S , Q)ซ) เวกเตอรท่ี์สมบูรณ์

ผศ. วารุณี ศรสีงคราม มทร.สวุรรณภมูิ

3-40