บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ...

24
บทที3 วิธีดําเนินการศึกษา การคนควาแบบอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางสื่ออิเล็กทรอนิกสเพื่อฝกทักษะ การอานและการเขียนภาษาไทยสําหรับนักเรียนชาวเขา ชั้นประถมศึกษาปที1 โดยมีขั้นตอน การดําเนินงานดังนี1. กลุมศึกษา 2. เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 3. ขั้นตอนในการสรางเครื่องมือ 4. การเก็บรวบรวมขอมูล 5. การวิเคราะหและสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล กลุมศึกษา กลุมศึกษาที่ใชในการศึกษา คือ นักเรียนชาวเขา ชั้นประถมศึกษาปที1 ปการศึกษา 2551 จํานวน 30 คน ของโรงเรียนบานปางตนเดื่อ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม เขต 3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนีประกอบดวย 1. สื่ออิเล็กทรอนิกสเพื่อฝกทักษะการอานและการเขียนภาษาไทย สําหรับนักเรียนชาวเขา ชั ้นประถมศึกษาปที1 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ไดแก แบบทดสอบหลังเรียน ขั้นตอนในการสรางเครื่องมือ ในการสรางสื่ออิเล็กทรอนิกสสําหรับฝกทักษะการอานและการเขียนภาษาไทย สําหรับ นักเรียนชาวเขา ชั้นประถมศึกษาปที1 ผูสรางไดดําเนินการสรางโดยประยุกตจากขั้นตอน การออกแบบคอรสแวรสําหรับ e- learning ของ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545, หนา 113) ไดสรุปขั้นตอนการออกแบบ 7 ขั้นตอนดังนี

Upload: others

Post on 10-Mar-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

บทที่ 3 วิธีดําเนินการศึกษา

การคนควาแบบอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางสื่ออิเล็กทรอนิกสเพื่อฝกทักษะ การอานและการเขียนภาษาไทยสําหรับนักเรียนชาวเขา ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 โดยมีขั้นตอน การดําเนนิงานดังนี ้

1. กลุมศึกษา

2. เครื่องมือที่ใชในการศึกษา

3. ขั้นตอนในการสรางเครื่องมือ

4. การเก็บรวบรวมขอมูล

5. การวิเคราะหและสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

กลุมศึกษา กลุมศกึษาที่ใชในการศึกษา คอื นกัเรยีนชาวเขา ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ปการศกึษา 2551 จํานวน 30 คน ของโรงเรียนบานปางตนเดื่อ สํานักงานเขตพื้นที่การศกึษาเชยีงใหม เขต 3 เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบดวย 1. ส่ืออิเล็กทรอนกิสเพื่อฝกทกัษะการอานและการเขียนภาษาไทย สําหรับนักเรียนชาวเขา ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 2. แบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ไดแก แบบทดสอบหลังเรียน ขั้นตอนในการสรางเครื่องมือ ในการสรางสื่ออิเล็กทรอนิกสสําหรับฝกทักษะการอานและการเขียนภาษาไทย สําหรับนักเรียนชาวเขา ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ผูสรางไดดําเนินการสรางโดยประยุกตจากขั้นตอน การออกแบบคอรสแวรสําหรับ e- learning ของ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545, หนา 113) ไดสรุปขั้นตอนการออกแบบ 7 ขั้นตอนดงันี้

Page 2: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

44

ขั้นที่ 1 ขั้นการเตรียมตัว (Preparation Stage) ขั้นที่ 2 ขั้นการเลือกเนื้อหา (Content Selection) ขั้นที่ 3 ขั้นการวิเคราะหหลักสูตร (Curriculum Analysis Stage) ขั้นที่ 4 ขั้นการออกแบบหลักสูตร (Curriculum Design) ขั้นที่ 5 ขั้นการพัฒนาการเรียนการสอน (Instructional Development Stage) ขั้นที่ 6 ขั้นการประเมนิ (Evaluation Stage) ขั้นที่ 7 ขั้นการบํารุงรักษา (Maintenance Stage) ในการดําเนินการสรางสื่ออิเล็กทรอนิกสเพื่อฝกทักษะการอานและการเขียนภาษาไทย สําหรับนักเรียนชาวเขา ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ผูศึกษาไดดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นท่ี 1 ขั้นการเตรียมตัว (Preparation Stage)

ผูศึกษาไดทําการศึกษาหลกัสูตรการศกึษาขัน้พืน้ฐาน หลักสูตรสถานศกึษา สาระ การเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการพัฒนาและออกแบบ ส่ือ อิเล็กทรอนิกส ขอมูลเกีย่วกบัการนําเสนอบทเรยีนและโปรแกรมในการสรางจากหนังสอื เอกสาร ตํารา และจากอินเตอรเน็ต ขั้นท่ี 2 ขั้นการเลือกเนื้อหา (Content Selection)

การสรางสื่ออิเล็กทรอนกิสเพือ่ฝกทักษะการอานและการเขยีนภาษาไทยในครั้งนี ้กลุมเปาหมายคือ นกัเรยีนชาวเขาชัน้ประถมศึกษาปที ่1 ผูศึกษาจงึไดทําการศกึษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรสถานศึกษา สาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 จากเอกสารหลักสูตร หนงัสือ ตําราเรียน และจากนัน้จึงไดมีการกําหนดเนื้อหาทีจ่ะนําเสนอ ทั้งนี้โดยพจิารณาจากปญหาในการเรียนของนักเรียนใน ปการศึกษาที่ผานมา ซึ่งก็พบวา นักเรียนอาน เขียนคําที่มี ตัวสะกดไมคอยได ดังนั้นผูศึกษาจึงเลือกเนื้อหา เร่ือง มาตราตัวสะกด 8 มาตรา ไดแก มาตราแมกง มาตราแมกน มาตราแมกม มาตราแมเกย มาตราแมเกอว มาตราแมกก มาตราแมกด มาตราแมกบ มาเปนเนื้อหาในบทเรียน ขั้นท่ี 3 ขั้นการวิเคราะหหลักสูตร (Curriculum Analysis Stage) การตั้งเปาหมายการเรียน การสรางสื่ออิเล็กทรอนิกสเพื่อฝกทักษะการอานและการเขียนภาษาไทย เร่ือง มาตราตัวสะกด กลุมเปาหมายไดแก นักเรยีนชาวเขาชั้นประถมศึกษาปที่ 1 โดยผูศึกษาไดกําหนดเปาหมายการเรียน ดังนี ้ เปาหมาย

เพื่อใหผูเรียนสามารถสะกดคําที่มี ง น ม ย ว ก ด บ เปนตัวสะกดได

Page 3: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

45

การกําหนดคณุลักษณะของผูเรียน ลักษณะโดยทั่วไปของผูเรียนเปนนักเรียนชาวเขาชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ซึ่งใชภาษาถิ่นหรือภาษาประจําเผาในการสื่อสารในชีวิตประจําวนัและจากการเรียนในปการศึกษาที่ผานมาพบวานักเรียนมีความสามารถในการอาน เขียนภาษาไทยอยูในระดับออน การวิเคราะหภาระงาน

ผูศึกษานําเปาหมายที่กําหนดไว มาทําการวิเคราะหเนื้อหา (Information-Processing) หรือแนวคิด และวเิคราะหทักษะพื้นฐาน (Prerequisite Analysis) หรือวิเคราะหงาน ซ่ึงเปาหมายที่นํามาวิเคราะห คือ ผูเรียนสามารถสะกดคําที่มี ง น ม ย ว ก ด บ เปนตัวสะกดไดจากเปาหมายดังกลาว จดัเปนการเรียนรูประเภท Intellectual Skills ผูศึกษาไดมาทําการวิเคราะหเนื้อหาดังนี ้

เปาหมาย ผูเรียนสามารถสะกดคําที่มี ง น ม ย ว ก ด บ เปนตัวสะกดได

บอกตัวสะกดใน 8 มาตราได

บอกความหมายของคําที่มี ง น ม ย ว ก ด บ เปนตัวสะกดได

อานสะกดคําและแจกลกูคําที่มี ง น ม ย ว ก ด บ

เขียนสะกดคําและแจกลูกคําที่มี ง น ม ย ว ก ด บ

Page 4: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

46

การวิเคราะหทักษะพื้นฐาน

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สามารถสะกดคําที่มี ง น ม ย ว ก ด บ เปนตัวสะกดได

สามารถอานสะกดคําและแจกลูกคํา ที่มี ง น ม ย ว ก ด บ เปนตัวสะกดได

สามารถเขียนสะกดคําและแจกลูกคํา ที่มี ง น ม ย ว ก ด บ เปนตัวสะกดได

สามารถบอกความหมายคําทีม่ี ง น ม ย ว ก ด บ เปนตัวสะกดได

เมื่อกําหนดตัวสะกด ง น ม ย ว ก ด บ ให สามารถบอกไดวาอยูในมาตราตัวสะกดใด

สามารถแจกลูกคําที่มีพยัญชนะประสมสระอะ อา อิ อี อุ อู ได

สามารถอานและเขียนวรรณยุกต สามัญ - จัตวาได

สามารถอานและเขียนสระ อะ อา อิ อี อุ อู ได

สามารถอานและเขียนพยัญชนะ ก – ฮ ได

สามารถอานและเขียนคําที่มพียัญชนะประสมสระอะ อา อิ อี อุ อู ได

Page 5: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

47

ขั้นท่ี 4 ขั้นการออกแบบหลักสูตร (Curriculum Design) การกําหนดวัตถุประสงคเชงิพฤติกรรม 1. (ทักษะพื้นฐาน) เมื่อกําหนดพยัญชนะไทยให ผูเรียนสามารถอานพยัญชนะไทยที่กําหนดใหได 2. (ทักษะพื้นฐาน) ผูเรียนสามารถเขียนพยัญชนะไทยตามคําบอกได 3. (ทักษะพื้นฐาน) ผูเรียนสามารถแจกลูกคําที่มีพยัญชนะประสมสระอะ อา อิ อี อุ อู ได 4. (ทักษะพื้นฐาน) เมื่อกําหนดคําที่มีสระ อะ อา อิ อี อุ อู ให นักเรยีนสามารถอานคําที่มี สระดังกลาวได 5. (ทักษะพื้นฐาน) เมื่อกําหนดคําที่มีสระ อะ อา อิ อี อุ อู ให นักเรยีนสามารถเขียนคํา ที่มีสระดังกลาวได 6. (ทักษะพื้นฐาน) เมื่อกําหนดคําที่มีวรรณยกุต ให นักเรยีนสามารถอานคําที่มีวรรณยกุต ดังกลาวได 7. (ทักษะพื้นฐาน) เมื่อกําหนดคาํที่มีวรรณยกุต ให นักเรยีนสามารถเขียนคําที่มีวรรณยกุต ดังกลาวได 8. เมื่อกําหนดคําที่มีตัวสะกด ง , น , ม , ย , ว , ก , ด , บ ให ผูเรียนสามารถบอกไดวาอยูในมาตราตัวสะกดใด 9. ผูเรียนสามารถอานสะกดคําและแจกลูกคําที่มี ง , น , ม , ย , ว , ก , ด , บ เปนตัวสะกดได 10. ผูเรียนสามารถเขียนสะกดคําและแจกลูกคําที่มี ง , น , ม , ย , ว , ก , ด , บ เปนตัวสะกดได 11. ผูเรียนสามารถบอกความหมายคําที่มี ง , น , ม , ย , ว , ก , ด , บ เปนตัวสะกดได 12. ผูเรียนสามารถสะกดคําที่มี ง , น , ม , ย , ว , ก , ด , บ เปนตัวสะกดได การวางแผนวธีิการวัดผล ผูศึกษาไดทําการวางแผนการออกแบบแบบทดสอบใหสอดคลองและเหมาะสมกับวัตถุประสงค ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี ้ ออกแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐาน วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 1 เมื่อกําหนดพยัญชนะไทยให ผูเรียนสามารถอานพยัญชนะไทยที่กําหนดใหได โดยเลือกแบบทดสอบเปนแบบปฏิบัติ การตอบปากเปลา มีจํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 2 ผูเรียนสามารถเขียนพยัญชนะไทยตามคําบอกได โดยเลือกแบบทดสอบเปนแบบเขียนตอบ จํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน

Page 6: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

48

วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 3 ผูเรียนสามารถแจกลูกคําที่มีพยัญชนะประสมสระอะ อา อิ อี อุ อู ได โดยเลือกแบบทดสอบเปนแบบปฏิบัติการตอบปากเปลา จํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 4 เมื่อกําหนดคําที่มีสระ อะ อา อิ อี อุ อู ให นักเรียนสามารถอานคําที่มีสระดังกลาวได โดยเลือกแบบทดสอบเปนแบบปฏิบตัิการตอบปากเปลา จํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 5 เมื่อกําหนดคําที่มีสระ อะ อา อิ อี อุ อู ให นักเรียนสามารถเขียนคําที่มีสระดังกลาวได โดยเลือกแบบทดสอบเปนแบบเขยีนตอบ จํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 6 เมื่อกําหนดคําที่มวีรรณยุกต ใหนักเรียนสามารถอานคําที่มีวรรณยกุตดังกลาวได โดยเลือกแบบทดสอบเปนแบบปฏิบัติการตอบปากเปลา จํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคทักษะพื้นฐานขอท่ี 7 เมื่อกําหนดคําที่มวีรรณยุกต ใหนักเรียนสามารถเขียนคําที่มีวรรณยกุตดังกลาวได โดยเลือกแบบทดสอบเปนแบบเขียนตอบ จํานวนขอสอบ 5 ขอ ขอละ 1 คะแนน เกณฑการผานหรือไมผาน นักเรียนสามารถทําแบบทดสอบวดัความรูพืน้ฐานไดถูกตองอยางนอย รอยละ 75 ในแตละวัตถุประสงค ออกแบบทดสอบหลังเรียน วัตถุประสงคขอท่ี 1 เมื่อกําหนดคําที่มีตัวสะกด ง , น , ม , ย , ว , ก , ด , บ ให ผูเรียนสามารถบอกไดวาอยูในมาตราตัวสะกดใด โดยเลือกแบบทดสอบเปนแบบเติมคํา มีจํานวนขอสอบ 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคขอท่ี 2 ผูเรียนสามารถอานสะกดคําและแจกลูกคําที่มี ง , น , ม , ย , ว , ก , ด, บ เปนตัวสะกดได โดยเลือกแบบทดสอบเปนแบบปฏิบตัิการตอบปากเปลา มีจํานวนขอสอบ 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคขอท่ี 3 ผูเรียนสามารถเขียนสะกดคําและแจกลูกคําที่มี ง , น , ม , ย , ว , ก , ด , บ เปนตวัสะกดได โดยเลอืกแบบทดสอบเปนแบบเขยีนตอบมีจํานวนขอสอบ 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน วัตถุประสงคขอท่ี 4 มีผูเรียนสามารถบอกความหมายคาํที่มี ง , น , ม , ย , ว , ก , ด , บ เปนตัวสะกดได โดยเลือกแบบทดสอบเปนแบบจับคู จํานวนขอสอบ 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน

Page 7: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

49

วัตถุประสงคขอท่ี 5 มีผูเรียนสามารถสะกดคําที่มี ง , น , ม , ย , ว , ก , ด , บ เปนตัวสะกดได โดยเลือกแบบทดสอบแบบปรนัย ชนิด 3 ตัวเลือก จํานวนขอสอบ 10 ขอ ขอละ 1 คะแนน เกณฑการผานหรือไมผาน นักเรียนสามารถทําแบบทดสอบหลังเรียนไดถูกตองอยางนอย รอยละ 75 ในแตละวัตถุประสงค การสรางแบบทดสอบ ผูศึกษาทาํการสรางแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานตามวัตถุประสงคทักษะพื้นฐานที่เหมาะสมกับผูเรียน ซ่ึงไดแกวัตถุประสงคพื้นฐานขอที่ 1 – 7 และ แบบทดสอบหลังเรียนเพื่อประเมินผลความรูที่ผูเรียนไดรับหลังจากที่เรียนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส ซึ่งไดแกวัตถุประสงค เชิงพฤติกรรมขอที่ 1 – 5 จากนัน้นาํขอสอบที่สรางเสร็จแลวไปหาความเทีย่งตรงของแบบทดสอบ โดยใหผูเชี่ยวชาญทางดานเนื้อหาจํานวน 3 ทาน ตรวจสอบซึ่งปรากฏวาแบบทดสอบสามารถวัดไดสอดคลองกันกับจุดประสงคทีก่ําหนดไว

การสรางแบบทดสอบ ผูศึกษาทําการสรางแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานตามวัตถุประสงคทักษะพื้นฐานที่เหมาะสมกับผูเรียน ซ่ึงไดแกวัตถุประสงคพื้นฐานขอที่ 1 – 7 และ แบบทดสอบหลังเรียนเพื่อประเมินผลความรูที่ผูเรียนไดรับหลังจากที่เรียนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส ซึ่งไดแกวัตถุประสงค เชิงพฤติกรรมขอที่ 1 – 5

จากนั้นนําขอสอบที่สรางเสร็จแลวไปหาความเที่ยงตรงของแบบทดสอบ โดยใหผูเชี่ยวชาญทางดานเนื้อหาจํานวน 3 ทาน ตรวจสอบซึ่งปรากฎวาแบบทดสอบสามารถวัดไดสอดคลองกันกับจุดประสงคทีก่ําหนดไว

จากนั้นผูศกึษาไดนําแบบทดสอบหลังเรียน (ขอสอบปรนัย) ไปหาความเชื่อมั่น โดยใชวิธีของ Livingston (สมนึก ภัททิยธนี, 2544 หนา 230-231)

เกณฑการใหคะแนน ดังนี ้ ตอบถูกไดคะแนน 1 คะแนน ตอบผิดไดคะแนน 0 คะแนน

Page 8: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

50

เกณฑการพิจารณาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ ดังนี ้ .00 - .20 แสดงวามีความเชื่อมั่นต่ํามาก .21 - .40 แสดงวามีความเชื่อมั่นต่ํา .41 - .70 แสดงวามีความเชื่อมั่นปานกลาง

.71 - 1.00 แสดงวามีความเชื่อมั่นสูง โดยใชสูตร ดงันี้ 1. สูตรการหาคาความเชื่อมั่นแบบทดสอบอิงเกณฑ คือ

ccr = ( )( )22

22

cxs

cxsrtt

−+

−+

เมื่อ ccr แทน คาความเชื่อมัน่แบบทดสอบอิงเกณฑ ttr แทน คาความเชื่อมัน่แบบทดสอบอิงกลุม ( 20−KR )

2s แทน ความแปรปรวนของเครื่องมือ X แทน คาเฉลี่ยของคะแนนสอบ

c แทน คะแนนเกณฑ (Criterion Score) 2. สูตรการหาคาความแปรปรวนของเครื่องมือ คือ

2s = เมื่อ N แทน จํานวนคน X แทน คะแนนสอบ

3. สูตรการหาคาความเชื่อมั่นแบบทดสอบอิงกลุม คือ ttr = เมื่อ n แทน จํานวนขอของเครื่องมือวัด

p แทน สัดสวนของผูทําไดในขอหนึ่งๆ นั่นคือสัดสวนของ คนทําถูกกับคนทั้งหมด q แทน สัดสวนของผูทําผิดในขอหนึ่งๆ หรือคือ 1- p 2s แทน คะแนนความแปรปรวนของคะแนนการสอบ

t

t

t N∑X2 - ( ∑X )2

N2

n-1 2s

∑pq { }

n 1-

Page 9: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

51

4. สูตรการหาคาความแปรปรวนของคะแนนการสอบ 2s = เมื่อ N แทน จํานวนคน X แทน คะแนนสอบ

X แทน คาเฉลี่ยของคะแนนสอบ

ขั้นท่ี 5 ขั้นการพัฒนาการเรียนการสอน (Instructional Development Stage) ขั้นที่ 1: ขั้นการเตรียมการ (Preparation)

- วิเคราะหลักษณะของนกัเรียน พบวานักเรยีนเปนนักเรยีนชาวเขาและในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย นกัเรียนขาดทักษะการอานและทักษะการเขยีนภาษาไทย เร่ือง คําที่มีตัวสะกด ทําใหนักเรียนอานและเขียนคําที่มีตัวสะกดไมได จากนั้นรวบรวมเนื้อหา โดยการศึกษาจากหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544, หนังสือเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 และเอกสารทางวิชาการตาง ๆ แลวนํามาสรุปและเลือกเนื้อหาคําที่มีตัวสะกด 8 มาตรา ไดแก มาตรา แมกง, มาตราแมกน, มาตราแมกม, มาตราแมเกย, มาตราแมเกอว, มาตราแมกก, มาตราแมกด, มาตราแมกบ โดยมีกําหนดวัตถุประสงคการเรียนรู คือ ขั้นที่ 2 : ขั้นออกแบบ (Design) - ศึกษาเนื้อหารายวิชากลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษา ปที่ 1 ออกแบบแผนงานโครงเรื่อง (Storyboard) ส่ืออิเล็กทรอนิกสสําหรับฝกทักษะการอานและการเขียนภาษาไทย สําหรับนักเรียนชาวเขาชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ดังนี้ - การนําเขาสูเนือ้หา ผูออกแบบไดทําการออกแบบใหดึงดดูความสนใจ โดยการใชกราฟก ภาพเคลื่อนไหว สีสัน และเสียง เพื่อดึงดูดความสนใจของผูเรียน ประกอบไปกับการแสดงชือ่ของบทเรียน การแนะนําเนื้อหาในบทเรยีน - หนาหลักของเนื้อหา ประกอบดวย ปุมเนือ้หามาตรา 8 มาตรา ไดแก มาตรา แมกง , มาตราแมกน , มาตราแมกม , มาตราแมเกย , มาตราแมเกอว , มาตราแมกก , มาตราแมกด , มาตราแมกบ และเสยีงพูดแนะนําการเขาสูบทเรียนที่ตองการ

- แนะนําแนวทางและวิธีการเรียนใหผูเรียนทราบกอนโดยรายละเอยีด ของคําชี้แจงจะเปนการแนะนําการใชงานของปุมตางๆ ในสื่ออิเล็กทรอนิกส

∑(X - X )2

N-1

Page 10: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

52

- วัตถุประสงค เปนการบอกจุดมุงหมายของการเรียนและพฤติกรรมที่ผูเรียนสามารถทําไดหลังจากเรียนเสร็จ

- การออกแบบกิจกรรมการฝกทักษะในเนื้อหาออกแบบโดยคํานึงถึง ขั้นตอนการสอนทักษะปฏิบัติของ Bloom 4 ขั้นตอน ดังนี้

1. ขั้นใหรูปแบบ (Presentation ) เปนการเสนอใหนกัเรียนรับรู สังเกตไปพรอมกับการฟง อาน หรือเขียน ในขั้นนี้นักเรยีนควรเขาใจความหมายของคําศัพทที่ครูเสนอดวย เพื่อใหการเรียนมีความหมายสําหรับนักเรยีน ไดออกแบบใหนกัเรียนฝกทักษะการอานโดยอาศยั การสังเกตรูปภาพกับคําศัพท การอานภาพเปนหลักสําคัญทําใหเกิดภาพพจนและความเขาใจ การอานไดดีมาก เด็กจะอานดวยความรูสึกวางาย ประสบความสําเร็จไดงาย เพราะภาพยอมมีความหมายมากกวาสัญลักษณในสายตาของเด็กผูอาน

2. ขั้นใหทําตามแบบ (Controlled Practice) โดยครูพูด อาน หรือเขียน แลวใหนักเรียนทําตาม เมื่อนักเรียนทําตามไดถูกตอง ครูพูดชมเชย หากนักเรียนทําไมถูกตอง ครูผูสอนอาจใหนักเรยีนทําตามอีก 2-3 คร้ัง โดยไดออกแบบเนื้อหาบทเรียนสื่ออิเล็กทรอนิกสใหครูผูสอนควบคุมการเรียนโดยคลิกเนื้อหาใหนกัเรียนไดฝกทักษะปฏิบัติในแตละมาตราจนครบ 8 มาตรา และในแตละมาตราจะมีเนื้อหา 2 หนา ซ่ึงในหนาที่ 1 จะมีรูปภาพและคําศัพท เมื่อเอาเมาสคลิกที่กรอบสี่เหล่ียมดานลางรูปภาพจะมีเสียงการอานสะกดคําและมตีัวหนังสือปรากฏขึ้นทีละคําใหตรงกับเสยีงคําอาน จากนัน้ครูใหนกัเรียนอานตาม ครูอาจใหนักเรียนทําตามซ้ําอีกโดยการคลิกเมาสที่กรอบสี่เหล่ียมดานลางรูปภาพอีกครัง้ หนาที่ 2 จะมีกรอบสี่เหล่ียมและคําศัพท เมื่อเอาเมาสคลิกที่คําศัพทจะมีรูปภาพที่มีคําศัพทโดยที่คําศัพทจะเปนตัวหนังสือสีแดงและขีดเสนใตตรงตัวสะกด เชน แตงโม ปรากฏขึ้นในกรอบสี่เหลี่ยมดานบนรูปภาพและมีเสียงอานคําศัพทเพื่อใหนักเรียนไดฝกอานตาม ครูอาจใหนักเรยีนทาํตามซ้ําอีกโดยการคลิกเมาสที่คําศัพทอีกครั้ง และครูใหนักเรียนฝกทักษะการเขยีนโดยใหนกัเรียนเขียนคําศัพทในกระดาษที่ครูแจกให

3. ขั้นทําตามโดยไมมีแบบ (Cues) จุดประสงคในขั้นนี้เพื่อตรวจสอบความถูกตอง หากนกัเรียนอานและเขยีนถูกตอง ครูตองชมเชยนกัเรียนทันที ถานกัเรียนอานและเขยีนไดถูกตอง ครูอาจใหนักเรียนอานและเขียนอีกครั้งเพื่อตรวจสอบความแนใจ ขณะเดยีวกันนกัเรียนอาจจะพยายามฝกอานและฝกเขียนใหถูกตองใหดีขึน้ โดยไดออกแบบบทเรียนใหมีแบบฝกหัดใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติจํานวน 10 ขอ โดยแบบฝกหดัแตละขอจะมีรูปภาพและใหนกัเรียนพิมพคําตอบลงไปในกรอบสี่เหล่ียมดานขางรูปภาพจากนั้นคลิกที่ปุมตรวจคําตอบ ถานักเรียนตอบถูกจะมีภาพเคลื่อนไหวการตูนเด็กผูหญิงพูดวา “ คําตอบถูกตองคะ เกงจังเลย ” ถานักเรียนตอบไมถูก จะพดูวา “ ยังไมใชคําตอบทีถู่กตองจะ ” ในกรณีทีน่ักเรียนไมสามารถพมิพคําศัพทในกรอบสี่เหล่ียม

Page 11: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

53

ไดดวยตนเอง ครูจะใหนักเรยีนบอกวารูปภาพที่นกัเรียนเห็นตรงกับคําศัพทอะไรและคําศัพทนั้นประกอบดวยพยัญชนะและสระอะไรบาง ครูพิมพคําตอบที่นักเรียนบอกลงในกรอบสี่เหล่ียมดานขางรูปภาพและคลิกตรวจคําตอบ เมื่อนักเรียนตอบถูกจะมีคะแนนปรากฏขึ้นที่หนาจอขอละ 1 คะแนน ทําแบบฝกหัดจนครบ 10 ขอก็จะมสีรุปคะแนนทีไ่ดจากการทําแบบฝกหัด ถานักเรียนทําคะแนนไดไมถึง 5 คะแนน ก็สามารถกลับไปเรียนใหมหรือทําแบบฝกหัดใหมได

4. ขั้นฝกกิจกรรมหลากหลาย (Practice and Production) ทั้งนี้มีจุดประสงคเพื่อนําคําที่ฝกมาแลวมาใชในสถานการณตาง ๆ ในรูปกิจกรรมหลากหลาย เพื่อใหนักเรียนเกดิความคลองแคลว แมนยํา และเกิดความสนุกสนาน ซ่ึงในบทเรียนไดออกแบบใหมีแบบฝกหัดและเกมสใหนกัเรียนไดฝกปฏบิัติดวย ในการนําเสนอบทเรียน จะมีภาพประกอบการบรรยายโดยผูเรียนจะไดฟง การอานสะกดคําและเหน็ภาพประกอบไปพรอมๆ กัน ซ่ึงทําใหผูเรียนเกิดความสนใจและมีสมาธิในการเรยีนมากขึ้น และทายบทเรียนในแตละเนื้อหาจะมแีบบฝกหัด/เกมเพื่อเปนการทบทวนความรูใหกับผูเรียนไดเขาใจมากยิ่งขึ้น กอนที่จะทําแบบทดสอบตอไป การใหผลปอนกลับ เมื่อผูเรียนไดทําแบบฝกหัด/เกมแลว จะมีการให ผลปอนกลับในทันทีในแตละขอ การออกจากโปรแกรม เมื่อทํากิจกรรมในบทเรียนจบแลวจะมีปุมใหคลิกเพื่อออกจากบทเรียน

Page 12: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

54

แผนภูมิ 2 แสดงโครงสรางขั้นตอนการเรียนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส

ทบทวนความรูเดิม แบบทดสอบ

วัดความรูพื้นฐาน

เขาสูโปรแกรม

จุดประสงคการเรียน

มาตราตัวสะกด

ออกจากโปรแกรม

แบบทดสอบ หลังเรียน

ไมผาน 75%

ผาน 75%

ไมผาน 75%

จบการเรียน

ผาน 75%

Page 13: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

55

แผนภูมิ 3 แสดงโครงสรางการเรียนเนื้อหา เร่ือง มาตราตัวสะกด

มาตราตัวสะกด

มาตราแมกง แบบฝกหัด

มาตราแมกน

ไมผาน 75%

ผาน 75%

แบบฝกหัด

มาตราแมกม แบบฝกหัด

มาตราแมเกย แบบฝกหัด

มาตราแมเกอว แบบฝกหัด

มาตราแมกก

ไมผาน 75%

ไมผาน 75%

ไมผาน 75%

ไมผาน 75%

ผาน 75%

ผาน 75%

ผาน 75%

ผาน 75%

มาตราแมกด

มาตราแมกบ

แบบฝกหัด

แบบฝกหัด

แบบฝกหัด

ผาน 75%

ผาน 75%

ผาน 75%

ไมผาน 75%

ไมผาน 75%

ไมผาน 75%

ทดสอบหลังเรียน

Page 14: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

56

ตัวอยางสตอรีบ่อรด (Storyboard) สื่ออิเล็กทรอนิกสเพื่อฝกทักษะการอานและการเขียนภาษาไทย

สําหรับนักเรียนชาวเขา ชั้นประถมศึกษาปท่ี 1

Storyboard No. : กรอบที่ 1

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : ไตเติ้ล

เหตุการณ : ภาพ,เสียง , ขอความ - ขอความ “ ภาควิชาเทคโนโลยีทาง การศึกษา คณะศกึษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม” - มีเสียงบรรยายประกอบการแสดงขอความ ในแตละบรรทัด - เมือ่แสดงผลจนครบจะเขาสูหนาจอกรอบที่ 2 - เสียงดนตรีประกอบ

Storyboard No. : กรอบที่ 2

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : ไตเติ้ล

เหตุการณ : ภาพ,เสียง , ขอความ - ขอความ “ ส่ืออิเล็กทรอนิกสเพื่อฝกทักษะ การอานและการเขียนภาษาไทย สําหรับ นักเรียนชาวเขา ช้ันประถมศึกษาปที่ 1” - ขอความชื่อเร่ือง “ มาตราตัวสะกด ” - ภาพ 1 เปนภาพเคลื่อนไหวการตูนเด็กผูชาย - ภาพ 2 เปนภาพเคลื่อนไหวการตูนเด็กผูหญิง - ปุมเขาสูบทเรียน - เสียงบรรยายชื่อบทเรียน , เสียงดนตร ี ประกอบ, เมื่อแสดงผลจนครบ คลิกเขาสูโปรแกรม

Page 15: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

57

Storyboard No. : กรอบที่ 3

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : ตอนรับผูเรียน

เหตุการณ : ภาพ,เสียง , ขอความ - ขอความตอนรับเขาสูบทเรียน - ภาพ 1 ตวัการตูน - เสียงบรรยายกลาวตอนรับเขาสูบทเรียน - กดปุมเพื่อเขาสูบทเรียน

Storyboard No. : กรอบที่ 4

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : แนะนําปุม ในบทเรียน เหตุการณ : ภาพ,เสียง , ขอความ - เสียงบรรยายแนะนําปุมในบทเรียน - ปุมที่อยูในบทเรียน ปุมมาตราแมกง , ปุมมาตราแมกน , ปุมมาตราแมกม , ปุมมาตราแมเกย , ปุมมาตราแมเกอว , ปุมมาตราแมกก , ปุมมาตราแมกด , ปุมมาตราแมกบ , ปุมเขาสูบทเรียน , ปุมออกจากบทเรียน , ปุมแบบฝกหัด , ปุมเลนเกมส , ปุมกลับหนาหลัก - เสียงดนตรีประกอบ

Page 16: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

58

Storyboard No. : กรอบที่ 5

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : จุดประสงค การเรียนรู เหตุการณ : ภาพ,เสียง , ขอความ - ขอความจุดประสงคการเรียนรู - ปุมเขาสูบทเรียน - ภาพ 1ตวัการตูน - เสียงบรรยายแนะนําจุดประสงค การเรียนรู

Storyboard No. : กรอบที่ 6

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : เขาสูเนื้อหาของ บทเรียน เหตุการณ : ภาพ,เสียง , ขอความ - ขอความเนื้อหาของบทเรียน - ปุมเขาสูบทเรียนมาตราแมกง , มาตราแมกน , มาตราแมกม , มาตราแมเกย , มาตราแมเกอว , มาตราแมกก , มาตราแมกด , มาตราแมกบ - ภาพ 1 ภาพเคลื่อนไหวตวัการตูนเดก็ผูชาย - เสียงบรรยายแนะนําการเขาสูเนื้อหา บทเรียน

Page 17: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

59

Storyboard No. : กรอบที่ 7

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : เขาสูเนื้อหาของ บทเรียนมาตราแมกง เหตุการณ : เสียง , ขอความ , รูปภาพ - เสียงบรรยาย “ มาตราแมกง คือ คําที่มี ง เปนตัวสะกด ” - เสียงบรรยาย “ ใหคลิกที่กรอบสี่เหล่ียม ดานลางรูปภาพเพื่อฟงเสียงคําอาน และให อานตามนะคะ ” - มีรูปภาพและคําอานสะกดคําปรากฏขึ้น เมื่อนําเมาสคลิกที่กรอบสี่เหล่ียมดานลาง รูปภาพจะปรากฏเสียงการอานสะกดคํา และเมื่อตองการฟงอีกก็คลิกที่กรอบ ส่ีเหล่ียมอีกครั้ง

Storyboard No. : กรอบที่ 8

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : เขาสูเนื้อหาของ บทเรียนมาตราแมกง เหตุการณ : ภาพ,เสียง , ขอความ - มีรูปภาพและคําศัพท เมื่อนําเมาสคลิกที่ คําศัพทจะปรากฏรูปภาพขึน้ในกรอบ ส่ีเหล่ียมพรอมกับเสียงการอานคําศัพท

Page 18: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

60

Storyboard No. : กรอบที่ 9

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : แบบฝกหัด

เหตุการณ : ภาพ , เสียง , ขอความ - ขอความคําแนะนําของการทําแบบฝกหัด - เสียงบรรยายคําแนะนําของการทํา แบบฝกหัด - ภาพ 1 ภาพเคลื่อนไหวการตูนเด็กผูหญิง - เสียงดนตรีประกอบ

Storyboard No. : กรอบที่ 10

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : แบบฝกหัด

เหตุการณ : ภาพ,เสียง , ขอความ - มีรูปภาพและดานขวาของรูปภาพจะม ี กรอบสี่เหล่ียมใหพิมพคําศพัท เมื่อพิมพ เสร็จแลวคลิกที่ปุมตรวจคาํตอบ จะมี feedback บอกใหทราบวาทาํถูกหรือผิด - ภาพ 1 ภาพเคลื่อนไหวการตูนเด็กผูหญิง - เสียง feedback - เสียงดนตรีประกอบ

Page 19: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

61

Storyboard No. : กรอบที่ 11

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : เกมสจับคู

เหตุการณ : ภาพ,เสียง , ขอความ - ภาพ 1 ภาพเคลื่อนไหวการตูนเด็กผูหญิง - เสียงบรรยายวิธีการเลนเกมส - มีปุมเลนเกมส และปุมกลบัไปยังบทเรียน ใหเลือก - ดนตรีประกอบ

Storyboard No. : กรอบที่ 12

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : เกมสจับคู

เหตุการณ : ภาพ,เสียง , ขอความ - ขอความคําศพัทและมาตราแมกง , มาตราแมกน , มาตราแมกม ,มาตราแมเกย , มาตราแมเกอว , มาตราแมกก , มาตราแมกด , มาตราแมกบ - ภาพ 1 ภาพตวัการตูน - มีคําศัพทปรากฏขึ้น ใหคลิกที่กรอบ ส่ีเหล่ียมที่มีช่ือมาตราใหตรงกับคําศัพท เมื่อคลิกถูกตองก็จะมีรูปดอกไมปรากฏขึ้น ถาคลิกผิดก็จะมีรูปกากบาทปรากฎขึ้น - เสียงดนตรีประกอบ

Page 20: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

62

Storyboard No. : กรอบที่ 13

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : เกมสจับคู

เหตุการณ : ภาพ,เสียง , ขอความ - ขอความเสียง “ จบเกมสแลวจะ เพื่อน ๆ จับคูไดถูกตองกี่คูกันบางละจะ ” - ขอความแสดงคะแนนที่ไดจากการ เลนเกมส - ภาพเคลื่อนไหวการตนูเดก็ผูหญิง - มีปุมกลับสูบทเรียนและปุมเลนเกมสใหม ใหเลือก - เสียงดนตรีประกอบ

Storyboard No. : กรอบที่ 14

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : ผูจัดทํา

เหตุการณ : ภาพ , เสียง , ขอความ - ขอความผูจัดทํา “ นางสาวกัลยา แข็งแรง รหัส 4782007 นักศึกษาปริญญาโทภาควชิาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศกึษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ” - ภาพเคลื่อนไหวการตนูเดก็ผูหญิงสองคน - เสียงดนตรีประกอบ

Page 21: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

63

Storyboard No. : กรอบที่ 15

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : ขอขอบคุณ

เหตุการณ : ภาพ,เสียง , ขอความ - ขอความ “ ขอขอบพระคุณ ผศ.พงษศักดิ์ ไชยทิพย ” - ภาพเคลื่อนไหวการตนูเดก็ผูหญิงสองคน - เสียงดนตรีประกอบ

Storyboard No. : กรอบที่ 16

ชื่อบทเรียน : มาตราตัวสะกด

ชื่อสวนของบทเรียน : จบบทเรียน

เหตุการณ : ภาพ,เสียง , ขอความ - ขอความ “ สวัสดีคะ ” - ภาพเคลื่อนไหวการตนูเดก็ผูหญิงสองคน - เสียงดนตรีประกอบ

ขั้นที่ 3 : ขั้นพฒันา (Development)

- เลือกโปรแกรมที่จะนํามาสรางสื่ออิเล็กทรอนิกสสําหรับฝกทักษะ การอานและการเขยีนภาษาไทย สําหรับนกัเรยีนชาวเขา ช้ันประถมศกึษาปที่ 1 และดาํเนนิการสราง ส่ืออิเล็กทรอนิกสโดยสรางภาพ ภาพเคลื่อนไหว ใหสอดคลองกับผังดําเนินเรื่องและเสียงบรรยายโดยโปรแกรมที่เลือกสรางในขั้นตอนนี้เลือกใชโปรแกรม Adobe Flash Player 9.0 ในการสราง ซ่ึงเปนโปรแกรมดาน Multimedia และโปรแกรมดาน Graphic design ไดเลือกใชโปรแกรม Adobe Photoshop สําหรับการตกแตงภาพนิ่งและโปรแกรม Adobe Illustrator 10 สําหรับวาด ภาพการตูน และโปรแกรม Sound Forge 7.0 สําหรับบันทึกและตัดตอเสียง

Page 22: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

64

ขั้นที่ 4 : ขั้นปรับปรุงแกไข (Revision) - นําสื่ออิเล็กทรอนิกสสําหรับฝกทักษะการอานและการเขียนภาษาไทย

สําหรับนักเรียนชาวเขา ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ที่สรางเสร็จแลวไปใหอาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบพิจารณาความถูกตอง ความเหมาะสมของบทเรียน เนื้อหา การออกแบบการสอน

- ปรับปรุงแกไขสื่ออิเล็กทรอนกิสสําหรับฝกทักษะการอานและการเขยีน ภาษาไทย สําหรับนักเรยีนชาวเขา ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ตามคําแนะนาํของอาจารยท่ีปรึกษา ดังรายละเอียดในบทที่ 4 (ตาราง 1, หนา 67)

- นําสื่ออิเล็กทรอนิกสที่ไดปรับปรุงแกไขใหผูเชี่ยวชาญชวยตรวจสอบ การออกแบบบทเรียน ซ่ึงไดพบปญหาในการออกแบบดังรายละเอยีดในบทที่ 4 (ตาราง 2, หนา 68) จากนั้นดําเนนิการแกไขทําตามขอเสนอแนะดังกลาวกอนนําไปใชทดลองจริง ขั้นท่ี 6 ขั้นการประเมิน (Evaluation Stage)

เปนการประเมินที่เกิดขึน้กบัผูเรียนโดยตรงวา เมื่อเรียนจากสื่ออิเล็กทรอนิกสที่สรางขึ้นแลวผูเรียนสามารถบรรลวุัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมที่สรางไวหรือไม และผลที่ไดรับนั้นเปนไปตามเกณฑหรือต่ํากวาเกณฑการประเมิน โดยปกติแลว การประเมินสื่อการเรยีนการสอนมี 3 ระดับ ไดแก การประเมินตวัตอตัว การประเมินกลุมเลก็ และการประเมินกลุมใหญ ขั้นท่ี 7 ขั้นการบํารงุรกัษา (Maintenance Stage)

ผูสอนมีความจําเปนในการปรับปรุงเนื้อหาใหทันสมยัอยูตลอดเวลา ขัน้ตอนนี้ถือเปนการตอบสนองตอคําแนะนําในการปรับปรงุใหดขีึ้น การเก็บรวบรวมขอมูล นําสื่ออิเล็กทรอนิกสสําหรับฝกทักษะการอานและการเขียนภาษาไทย สําหรับนักเรยีนชาวเขา ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ไปทดลองใชเพื่อหาประสทิธิภาพกับนกัเรียนที่ไมเคยเรียนเนื้อหานี้มากอน โดยกระทําตามลําดบัดังนี ้ 1. ทดสอบแบบหนึ่งตอหนึ่ง กับนักเรียนที่ไมเคยเรียนเนื้อหานี้มากอน จํานวน 3 คน โดยนกัเรยีนดงักลาวจะเปนนักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับ เกง ปานกลาง และออนระดบัละ 1 คน เพื่อตรวจสอบในดานการสื่อความหมาย การใชขอความประกอบการบรรยายเสียงบรรยาย และรูปภาพประกอบ ผูศึกษาคอยสังเกตพฤติกรรมการปฏิสัมพันธของนักเรียนแตละคนและซักถามปญหาที่เกิดขึน้เมื่อทําการทดลองเสร็จ จากนั้นก็นําปญหาและขอบกพรองมาทําการปรับปรุงแกไข ดังรายละเอยีดในบทที่ 4 (ตาราง 3, หนา 69) กอนนําไปทดลองกับกลุมเล็กตอไป

Page 23: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

65

2. ทดสอบแบบกลุมเล็กกับนักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับ ปานกลาง คอนขางออนและเปนนักเรยีนที่ไมเคยเรียนในเนื้อหานีม้ากอน จํานวน 10 คน โดยในการทดลองนั้นจะกระทําตามลําดับดังนี้คือ ใหนักเรียนทําแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานกอนเรียน แลวจึงใหเรียนจาก ส่ืออิเล็กทรอนกิสสําหรับฝกทักษะการอานและการเขยีนภาษาไทย และผูศึกษาคอยสังเกตพฤตกิรรมของนักเรียนขณะเรยีนกับสือ่อิเล็กทรอนิกสเพื่อฝกทักษะการอานและการเขียนภาษาไทย พรอมทัง้มีการซักถามปญหาตางๆ ที่เกดิขึ้นกับนกัเรียนหลังจากนักเรียนเรียนจบแลว จากนัน้จึงทําการปรับปรุงแกไขขอบกพรองดังรายละเอียดในบทที่ 4 (ตาราง 4, หนา 69) 3. ทดสอบกลุมศึกษาโดยนาํสื่ออิเล็กทรอนิกสเพื่อฝกทักษะการอานและการเขียนภาษาไทย สําหรับนักเรียนชาวเขา ช้ันประถมศึกษาปที่ 1ที่ผานการปรับปรุงแกไขแลวไปทําการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของสื่ออิเล็กทรอนิกสกับนักเรียนกลุมศึกษา ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2551 จํานวน 30 คน ดังรายละเอียดดังนี้ คอื 1. จัดเตรียมสภาพหองเรียน ตดิตั้งโปรเจคเตอร ตรวจเช็คอุปกรณคอมพวิเตอรให พรอมใชงาน ติดตั้งโปรแกรม Adobe Flash player และติดตั้งขอมูลจาก CD ส่ืออิเล็กทรอนิกสเพื่อฝกทักษะการอานและการเขียนภาษาไทย สําหรับนักเรียนชาวเขา ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 ลงในเครื่องคอมพิวเตอรใหพรอม 2. แจงจดุประสงคในการเรียน เนื้อหาที่เรียน ระยะเวลาในการเรียน และวธีิการเรียน ใหนกัเรียนทุกคนทราบกอนเริ่มทําแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐาน โดยนกัเรียนจะตองทําขอสอบใหผานเกณฑ 75 % กอน ผลปรากฏวานักเรียนสามารถทําแบบทดสอบวัดความรูพื้นฐานผานเกณฑ 75 % ทุกคน 3. ครูใชส่ืออิเล็กทรอนิกสประกอบการสอน เร่ือง มาตราตัวสะกด ซ่ึงไดแก มาตราแมกง , มาตราแมกน , มาตราแมกม , มาตราแมเกย , มาตราแมเกอว , มาตราแมกก , มาตราแมกด , มาตราแมกบ โดยแตละเนื้อหาใชเวลาในการสอน 1 ช่ัวโมง หลังจากที่เรียนจบเนื้อหาในแตละมาตราตัวสะกดแลวครูใหนกัเรียนทําแบบฝกหัดเกี่ยวกับมาตราตัวสะกดนั้น ๆ เพื่อดวูานักเรยีนสามารถทําแบบฝกหัดไดผานเกณฑ 75 % ที่ตั้งไวหรือไม หากนกัเรียนไมผานเกณฑทีก่ําหนดไว ครูทําการซอมเสริมแลวใหนกัเรียนทําแบบฝกหัดอีกครั้งหนึ่งซึ่งจะตองผานเกณฑที่กาํหนดไว เมื่อนักเรียนสามารถทําแบบฝกหัดผานเกณฑในมาตราตัวสะกดนั้นแลว ครูก็สอนมาตราตัวสะกดที่ยังไมไดเรียนในชั่วโมงตอไป 4. เมื่อครูใชส่ืออิเล็กทรอนิกสประกอบการสอนจนครบทุกเนื้อหาแลวใหนักเรียน ทุกคนทาํแบบทดสอบหลังเรียน

Page 24: บทที่ 3 วิธีดําเนินการศ ึกษาarchive.lib.cmu.ac.th/full/T/2552/edtec0552kk_ch3.pdfการอ านและการเข ยนภาษาไทยส

66

การวิเคราะหและสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ทําการวิเคราะหขอมูลจากแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อหาประสิทธิภาพของสื่ออิเล็กทรอนิกส ตามเกณฑประสิทธิภาพที่กาํหนดไว คือ 75/75 75 ตัวแรก คือ คะแนนเฉลี่ยจากการทําแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนทุกคน 75 ตัวหลัง คือ จํานวนนักเรียน 75% สามารถบรรลุผลสําเร็จในการเรียนตามที ่

จุดประสงคแตละขอของบทเรียนกําหนด