ศูนย ส...

30
1 กําหนดการฝกอบรม หลักสูตร เศรษฐกิจพอเพียง 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน/พิธีเปด/ทดสอบความรูกอนอบรม 09.00 - 10.00 น ฉายวีดีทัศนในหลวงรัชกาลที่ 9/รองเพลงสรรเสริญพระบารมี เกมสถังพอเพียง ตรวจบัญชี 10.15 - 12.00 น. บรรยายหัวขอ ความสําคัญของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นายสุรวิทย รักษวิศิษฏกุล นักวิชาการสงเสริมการเกษตรชํานาญการ ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 16.00 น. เกมสพอประมาณ (เหยียบกระดาษ) เกมสมีเหตุผล (ปรุงเกาเหลา) เกมสมีภูมิคุมกัน (เกมสเศรษฐี) เศรษฐกิจพอเพียงศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไคร โดย นายสุรวิทย รักษวิศิษฏกุล นักวิชาการสงเสริมการเกษตรชํานาญการ ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ 16.00 - 16.30 น -สรุปประเมินการฝกอบรม /ทดสอบความรูหลังการอบรม -ปดการฝกอบรม หมายเหตุ 10.00 - 10.15 น. พักรับประทานอาหารวาง (ชวงเชา) 15.00 - 15.15 น. พักรับประทานอาหารวาง (ชวงบาย)

Upload: others

Post on 12-Jul-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

1

กําหนดการฝกอบรม

หลักสูตร เศรษฐกิจพอเพียง

08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน/พิธีเปด/ทดสอบความรูกอนอบรม

09.00 - 10.00 น ฉายวีดีทัศนในหลวงรัชกาลที่ 9/รองเพลงสรรเสริญพระบารม ี

เกมสถังพอเพียง

ตรวจบัญชี

10.15 - 12.00 น. บรรยายหัวขอ ความสําคัญของเศรษฐกิจพอเพียง

โดย นายสุรวิทย รักษวิศิษฏกุล นักวิชาการสงเสริมการเกษตรชํานาญการ

ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ

12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 - 16.00 น. เกมสพอประมาณ (เหยียบกระดาษ)

เกมสมีเหตุผล (ปรุงเกาเหลา)

เกมสมีภูมิคุมกัน (เกมสเศรษฐี)

เศรษฐกิจพอเพียงศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไคร

โดย นายสุรวิทย รักษวิศิษฏกุล

นักวิชาการสงเสริมการเกษตรชํานาญการ

ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ

16.00 - 16.30 น -สรุปประเมินการฝกอบรม /ทดสอบความรูหลังการอบรม

-ปดการฝกอบรม

หมายเหตุ 10.00 - 10.15 น. พักรับประทานอาหารวาง (ชวงเชา)

15.00 - 15.15 น. พักรับประทานอาหารวาง (ชวงบาย)

Page 2: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

2

หลักสูตร เศรษฐกิจพอเพียง

1.วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม(เกษตรกรทั่วไป)

1.เพื่อใหเกษตรกรตระหนักถึงหลักปฏิบัติของเศรษฐกิจพอเพียง

2.เพื่อใหเกษตรกรมีความรูและเขาใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยางลึกซ้ึง

3.เพื่อใหเกษตรกรนําไปปฏิบัติใชในชีวิตประจําวัน

ระยะเวลา 1 วัน

2.เนื้อหาวิชาการ 1. หลักเศรษฐกิจพอเพียง (2 ชั่วโมง)

2. เกษตรผสมผสานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไคร (1

ชั่วโมง 45 นาท)ี

3.อุปกรณ 1. คอมพิวเตอรโนตบุค

2. เครื่องฉายโปรเจคเตอร

3. กระดานไวทบอรด

4. กระดาษปรูฟ

5. ปากกาเคมี

4. วธิีดําเนินการ 1. บรรยาย

2. แบงกลุมเลนเกมส

3. แจกตนพันธุพืชผัก

4. ประเมินความรูที่ไดรับ

Page 3: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

3

วิชาที่ 1

เศรษฐกิจพอเพียง

1. เอกสารวิชาการ 1.หลักเศรษฐกิจพอเพียง

2. เกษตรผสมผสานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไคร

2. แผนการ 1. หลักเศรษฐกิจพอเพียง

2. เกษตรผสมผสานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไคร

3. powerpoint presentation

Page 4: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

เศรษฐกิจพอเพียง

“เศรษฐกิจพอเพียง” แนวทาง การดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา เศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ําแนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคงและยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและความ เปลี่ยนแปลงตางๆ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความรอในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีคปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี

เอกสารวิชาการ

เศรษฐกิจพอเพียง

” เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานพระราชดําริชี้แนะแนวทาง การดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา ๒๕ ป ตั้งแตกอนเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ําแนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคง

ยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและความ เปลี่ยนแปลงตางๆ

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง

ยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางด ี

4

เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานพระราชดําริชี้แนะป ตั้งแตกอนเกิดวิกฤตการณทาง

เศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ําแนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคง

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง

ยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอการกระทบใดๆ อันเกิดจาก

บคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกใน

วามรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง

Page 5: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงป๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น พิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นๆ อยางรอบคอบ๓. ภูมิคุมกัน หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการ

โดยม ีเงื่อนไข ของการตัดสินใจและดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหอยูในระดับพอเพียง ๑. เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตางๆ ที่เกี่ยวของรอบดาน ความรอบคอบท่ีจะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสราง ประกอบดวย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงมุงเนนใหผูผลิต

ขอจํากัดของรายได หรือทรัพยากรที่มีอยูไปกอน ซึ่งก็คือ หลักในการลดการพึ่งพา เพิ่มขีดความสามารควบคุมการผลิตไดดวยตนเองและลดภาวะความเสี่ยงจากการไมสามารถควบคุมระบประสิทธิภาพ เศรษฐกิจพอเพียงมิใชหมายความถึง การกระเบียดกระเสียนจนเกินสมควร หากแตอาจฟุมเฟอยไดเปนครั้งคราวตามอัตภาพ แตคนสวนใหญของประเทศ มักใชจายเกินตัว เกินฐานะที่หามาได

เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนําไปสูเปาหมายของการสรางความมั่นคงในทาพื้นฐานแลว ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเนนที่เศรษฐกิจการเกษตร เนนความมั่นคงทางอาหาร เปนการสรางความมั่นคงใหเปนระบบเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง จึงเปนระบบเศรษฐกิจที่ชวยลดความเสี่ยง หรือความไมม่ันคงทางเศรษฐกิจใน

ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบดวยคุณสมบัติ ดังนี้ หมายถึง ความพอดีท่ีไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน

เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะตองเปนไปอยางมีเหตุผล โดย

พิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นๆ อยางรอบคอบหมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ ที่จะเกิดขึ้น โดย

คํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆ ที่คาดวาจะเกิดข้ึนในอนาคต

ของการตัดสินใจและดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหอยูในระดับพอเพียง ๒ ประการ ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตางๆ ที่เกี่ยวของรอบดาน ความรอบคอบท่ีจะนํา

อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติที่จะตองเสริมสราง ประกอบดวย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริตและมี

ความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงมุงเนนใหผูผลิตหรือผูบริโภค พยายามเริ่มตนผลิตหรือบริโภคภายใตขอบเขต

ขอจํากัดของรายได หรือทรัพยากรที่มีอยูไปกอน ซึ่งก็คือ หลักในการลดการพึ่งพา เพิ่มขีดความสามารและลดภาวะความเสี่ยงจากการไมสามารถควบคุมระบ

ประสิทธิภาพ เศรษฐกิจพอเพียงมิใชหมายความถึง การกระเบียดกระเสียนจนเกินสมควร หากแตอาจฟุมเฟอยไดเปนครั้งคราวตามอัตภาพ แตคนสวนใหญของประเทศ มักใชจายเกินตัว เกินฐานะที่หามาได

เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนําไปสูเปาหมายของการสรางความมั่นคงในทาพื้นฐานแลว ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเนนที่เศรษฐกิจการเกษตร เนนความมั่นคงทางอาหาร เปนการสรางความมั่นคงใหเปนระบบเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง จึงเปนระบบเศรษฐกิจที่ชวยลดความเสี่ยง หรือความไมม่ันคงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได

5

หมายถึง ความพอดีท่ีไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน

จะตองเปนไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นๆ อยางรอบคอบ

หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ ที่จะเกิดขึ้น โดย

ประการ ดังนี้ ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตางๆ ที่เกี่ยวของรอบดาน ความรอบคอบท่ีจะนํา

อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ ที่จะตองเสริมสราง ประกอบดวย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตยสุจริตและมี

หรือบริโภคภายใตขอบเขต ขอจํากัดของรายได หรือทรัพยากรที่มีอยูไปกอน ซึ่งก็คือ หลักในการลดการพึ่งพา เพิ่มขีดความสามารถในการ

และลดภาวะความเสี่ยงจากการไมสามารถควบคุมระบบตลาดไดอยางมีประสิทธิภาพ เศรษฐกิจพอเพียงมิใชหมายความถึง การกระเบียดกระเสียนจนเกินสมควร หากแตอาจฟุมเฟอยไดเปนครั้งคราวตามอัตภาพ แตคนสวนใหญของประเทศ มักใชจายเกินตัว เกินฐานะที่หามาได

เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนําไปสูเปาหมายของการสรางความมั่นคงในทางเศรษฐกิจได เชน โดยพื้นฐานแลว ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเนนที่เศรษฐกิจการเกษตร เนนความมั่นคงทางอาหาร เปนการสรางความมั่นคงใหเปนระบบเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง จึงเปนระบบเศรษฐกิจที่

Page 6: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

6

เศรษฐกิจพอเพียง สามารถประยุกตใชไดในทุกระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ ไมจําเปนจะตองจํากัดเฉพาะแตภาคการเกษตร หรือภาคชนบท แมแตภาคการเงิน ภาคอสังหาริมทรัพย และการคาการลงทุนระหวางประเทศ โดยมีหลักการที่คลายคลึงกันคือ เนนการเลือกปฏิบัติอยางพอประมาณ มีเหตุมีผล และสรางภูมิคุมกันใหแกตนเองและสังคม การดําเนินชีวิตตามแนวพระราชดําริพอเพียง

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเขาใจถึงสภาพสังคมไทย ดังนั้น เมื่อไดพระราชทานแนวพระราชดําริ หรือพระบรมราโชวาทในดานตางๆ จะทรงคํานึงถึงวิถีชีวิต สภาพสังคมของประชาชนดวย เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงทางความคิด ที่อาจนําไปสูความขัดแยงในทางปฏิบัติได

แนวพระราชดําริในการดําเนินชีวิตแบบพอเพียง ๑. ยึดความประหยัด ตัดทอนคาใชจายในทุกดาน ลดละความฟุมเฟอยในการใชชีวิต ๒. ยึดถือการประกอบอาชีพดวยความถูกตอง ซื่อสัตยสุจริต ๓. ละเลิกการแกงแยงผลประโยชนและแขงขันกันในทางการคาแบบตอสูกันอยางรุนแรง 4.ไมหยุดนิ่งที่จะหาทางใหชีวิตหลุดพนจากความทุกขยากดวยการขวนขวายใฝหาความรูใหมีรายได

เพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงเปนเปาหมายสําคัญ ๕. ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดี ลดละสิ่งชั่ว ประพฤติตนตามหลักศาสนา

เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริ

เศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม เปนแนวทางในการพัฒนาที่นําไปสูความสามารถ

ในการพึ่งตนเอง ในระดับตาง ๆ อยางเปนขั้นตอน โดยลดความเสียงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือ

การเปลี่ยนแปลงจากปจจัยตาง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณ และความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันที่ดี

มีความรู ความเพียร และความอดทน สติ และปญญา การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และความสามัคคี

เศรษฐกิจพอเพียงความหมายกวางกวาทฤษฎีใหม โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเปนกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการ

และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม ในขณะที่ แนวพระราชดําริเกี่ยวกับทฤษฎีใหม หรือเกษตรทฤษฎีใหม ซึ่งเปน

แนวทางการพัฒนาการเกษตรอยางเปนขั้นตอนนั้น เปนตัวอยางการใชหลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ

Page 7: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

7

ที่เปนรูปธรรม เฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม ทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจ

พอเพียง ซึ่งมีอยู 2 แบบ คือ แบบพ้ืนฐาน กับ แบบกาวหนา

ขั้นที ่1 ที่มุงแกปญหาของเกษตรกรที่อยูหางไกลแหลงน้ํา ตองพึ่งน้ําฝน และประสบความเสี่ยงจากการ

ที่น้ําไมพอเพียง แมกระทั่งสําหรับการปลูกขาวเพื่อบริโภค และมีขอสมมติวา มีที่ดินพอเพียงในการขุดบอเพื่อ

แกปญหาในเรื่องดังกลาว จากการแกปญหาความเสี่ยงเรื่องน้ํา จะทําใหเกษตรกรสามารถมีขาวเพื่อการบริโภค

ยังชีพในระดับหนึ่ง และใชที่ดินสวนอื่น ๆ สนองความตองการพื้นฐานของครอบครัว รวมทั้งขายในสวนที่เหลือ

เพื่อมีรายไดท่ีจะใชเปนคาใชจายอื่น ๆ ที่ไมสามารถผลิตเองได ทั้งหมดนี้เปนการสรางภูมิคุมกันในตัวใหเกิดขึ้นใน

ระดับครอบครัว อยางไรก็ตาม แมกระทั่ง ในทฤษฎีใหมขั้นที่ 1 ก็จําเปนที่เกษตรกรจะตองไดรับความชวยเหลือ

จากชุมชนราชการ มูลนิธิ และภาคเอกชน ตามความเหมาะสมความพอเพียงในระดับชุมชน และระดับองคกร

เปนเศรษฐกิจพอเพียงแบบกาวหนา ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม

ขั้นที ่2 เปนเรื่องของการสนับสนุนใหเกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุมหรือสหกรณ หรือการที่ธุรกิจตาง

ๆ รวมตัวกันในลักษณะเครือขายวิสาหกิจ กลาวคือ เมื่อสมาชิกในแตละครอบครัว หรือองคกรตาง ๆ มีความ

พอเพียงขั้นพื้นฐานเปนเบื้องตนแลวก็จะรวมกลุมกันเพื่อรวมมือกันสรางประโยชนใหแกกลุม และสวนรวมบน

พื้นฐานของการไมเบียดเบียนกัน การแบงปนชวยเหลือซึ่งกันและกัน ตามกําลังและความสามารถของตน ซึ่งจะ

สามารถทําให ชุมชนโดยรวม หรือเครือขายวิสาหกิจนั้น ๆ เกิดความพอเพียงในวิถีปฏิบัติอยางแทจริงความ

พอเพียงในระดับประเทศ เปนเศรษฐกิจพอเพียงแบบกาวหนา ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม

ขั้นที ่3 ซึ่งสงเสริมใหชุมชน หรือเครือขายวิสาหกิจ สรางความรวมมือกับองคกรอื่น ๆ ในประเทศ เชน

บริษัทขนาดใหญ ธนาคาร สถาบันวิจัย เปนตน

การสรางเครือขายความรวมมือในลักษณะเชนนี้ จะเปนประโยชนในการสืบทอดภูมิปญญา แลกเปลี่ยน

ความรู เทคโนโลยี และบทเรียนจากการพัฒนา หรือ รวมมือกันพัฒนา ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงทําให

ประเทศอันเปนสังคมใหญอันประกอบดวยชุมชน องคกร และธุรกิจตาง ๆ ที่ดําเนินชีวิตอยางพอเพียงกลายเปน

เครือขายชุมชนพอเพียงท่ีเชื่อมโยงกันดวยหลักไมเบียดเบียน แบงปน และชวยเหลือซ่ึงกันและกันไดในที่สุด

ประการที่สําคัญของเศรษฐกิจพอเพียง

พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไวกินเองบาง ปลูกไมผลไวหลังบาน 2-3 ตน พอที่จะมีไวกินเองในครัวเรือน เหลือ

จึงขายไป

พออยูพอใช ทําใหบานนาอยู ปราศจากสารเคมี กลิ่นเหม็น ใชแตของที่เปนธรรมชาติ (ใชจุลินทรียผสมน้ําถู

พื้นบาน จะสะอาดกวาใชน้ํายาเคม)ี รายจายลดลง สุขภาพจะดีข้ึน (ประหยัดคารักษาพยาบาล)

พออกพอใจ เราตองรูจักพอ รูจักประมาณตน ไมใครอยากใครมีเชนผูอื่น เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ ปญญาจะ

ไมเกิด

Page 8: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

8

"การจะเปนเสือนั้นมันไมสําคัญ สําคัญอยูที่เราพออยูพอกิน และมีเศรษฐกิจการเปนอยูแบบ

พอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความวา อุมชูตัวเองได ใหมีพอเพียงกับตัวเอง" พระราชดํารัสใน

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ

หลักของความพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงความพอเพียงดังนี้ 1. พอเพียงสําหรับทุกคนทุกครอบครัวไมใชเศรษฐกิจแบบทอดทิ้งกัน 2. จิตใจพอเพียงทําใหรักและเอื้ออาทรคนอ่ืนไดคนที่ไมรูจักพอจะรักคนอื่นไมเปน 3. สิ่งแวดลอมพอเพียงการอนุรักษและเพิ่มพูนสิ่งแวดลอมทําใหยังชีพและทํามาหากินไดเชนทําเกษตรผสมผสานไดท้ังอาหารและสิ่งแวดลอม 4. ชุมชนเขมแข็งพอเพียงการรวมตัวกันเปนชุมชนที่เขมแข็งจะทําใหสามารถแกปญหาตางๆไดเชนปญหาสังคมความยากจนสิ่งแวดลอม 5. ปญญาพอเพียงมีการเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติและปรับตัวไดอยางตอเนื่อง 6. อยูบนพื้นฐานวัฒนธรรมพอเพียงเพราะวัฒนธรรมคือวิถีชีวิตของกลุมชนที่สัมพันธอยูกับสิ่งแวดลอมที่หลากหลายเศรษฐกิจควรสัมพันธและเติบโตขึ้นจากรากฐานทางวัฒนธรรมจึงจะมั่นคง 7. มีความมั่นคงพอเพียงทําใหเกิดความสุขอบอุนมีกําลังใจในการดําเนินชีวิตไมใชเปลี่ยนแปลงไปมาอยางกะทันหันจนรับไมไดสุขภาพจิตเสียเครียดรุนแรงจนคิดฆาตัวตายหรือหันไปสูอบายมุข

วิธีการพัฒนาชีวิตโดยเศรษฐกิจพอเพียง วิถีชีวิตของแตละคนยอมแตกตางกันไปตามปจจัยพื้นฐานแบบแผนของสังคมและสิ่งรอบขางทั้งในอดีต

ปจจุบันและอนาคตแตทุกคนยังมีความตองการที่ประสบความสําเร็จในชีวิตโดยเฉพาะดานเศรษฐกิจซึ่งเปนความจําเปนพื้นฐานที่แตละคนมีความตองการไมเทากันตามแตโอกาสของการพัฒนาการที่แตกตางกันออกไปเชนความรูความสามารถประสบการณการสรางรายไดการใชประโยชนจากทรัพยากรหากคนไหนไมรูจักที่จะพิจารณายอมจะเกิดปญหาในระดับครอบครัวจนถึงประเทศชาติไดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงชี้แนะและพระราชทานแนวทางในการดํารงชีวิตในทางสายกลางที่สมดุลคือมีความพอประมาณมีเหตุผลมีภูมิคุมกันภายใตเงื่อนไขของความรูและคุณธรรมที่เรียกวาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเปนการแกปญหาดังกลาวโดยสรุปเปนแนวทางการพัฒนาชีวิตตามลําดับคือ

1. คนหาความตองการของตนเองใหพบวามีความตองการอะไรมีเปาหมายในการดําเนินชีวิตอยางไรเชนตองการมีชีวิตที่มั่นคงกาวหนามีความอิสระมีเวลาสําหรับครอบครัวและสังคมมีทรัพยสินเพียงพอมีความสุขหลุดพนจากความทุกขทั้งปวง

2. วิเคราะหขอมูลตนเองและครอบครัวจะทําใหรูสถานภาพภายในของตนเองรูถึงปจจัยตางๆที่เกี่ยวของผลกระทบตางๆที่เกิดขึ้นทั้งดานเศรษฐกิจสังคมธรรมชาติเชนความรูความสามารถชื่อเสียงความมั่นคงรายไดรายจายการออมและคุณธรรมของตนเองวิถีการดํารงชีวิตสภาวะเศรษฐกิจทัศนคติวัฒนธรรมฐานะทางสังคมฐานะทางการเงินและคุณภาพชีวิตของคนในครอบครัว

3. วางแผนในการดําเนินชีวิตโดย 3.1 พัฒนาตนเองใหมีการเรียนรูอยางตอเนื่อง 3.2 สรางนิสัยที่มีความคิดกาวหนามุงมั่นในเปาหมายชีวิตหมั่นพิจารณาความคิดตัดสินใจ

แกปญหาเปนระบบโดยใชความรูสรางวินัยทางการเงินมีความรับผิดชอบตอตนเองสังคมและครอบครัว 3.3 หมั่นบริหารจิตใจใหมีความซื่อสัตยสุจริตรักชาติเสียสละสามัคคีมีศีลธรรม 3.4 ควบคุมจิตใจใหตนเองประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ดีงามสรางสรรค

Page 9: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

9

3.5 พัฒนาจิตใจใหลดละเลิกอบายมุขกิเลสตัณหา 3.6 เสริมสรางและฟนฟูความรูและคุณธรรมของตนเองและครอบครัว 3.7 ปรับทัศนคติในเชิงบวกและมีความเปนไปได

4. จดบันทึกและทําบัญชีรับ - จาย 5. สรุปผลการพัฒนาตนเองและครอบครัวโดยพิจารณา

5.1 รางกายมีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง 5.2 อารมณไมเครียดมีเหตุผลมีความเชื่อม่ันมีระบบคิดเปนขั้นเปนตอนมีแรงจูงใจกลาคิดกลา

ทําไมทอถอยหรือขาดกําลังใจเมื่อประสบปญหาในชีวิต 5.3 ไดลดละเลิกสิ่งฟุมเฟอยเชนรถปายแดงโทรศัพทมือถือสถานเริงรมณเหลาบุหรี่การพนัน

การดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงภาคการเกษตร จากการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจสังคมและสภาพแวดลอมทางธรรมชาติไดสงผลกระทบตอวิถี

ชีวิตเกษตรกรไทยอยางเลี่ยงไมไดทุกวันนี้กิจกรรมการเกษตรจึงประสบปญหาตนทุนการผลิตสูงตลาดไมแนนอนผลผลิตตกต่ําเสี่ยงตอภัยธรรมชาติทําใหมีรายไดไมเพียงพอและเปนหนี้สินจึงมีความจําเปนตองปรับระบบการเกษตรของครอบครัวใหสอดคลองกับสภาวะการผลิตและการตลาดในปจจุบันตามความเหมาะสมของระบบนิเวศเกษตรโดยใชแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงจะทําใหครัวเรือนเกษตรกรมีความมั่นคงในอาชีพและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอยางยั่งยืนตลอดไปโดยยึดหลักการประกอบอาชีพดังนี้

1. ลดรายจายเพื่อเปนการประหยัดลดรายจายในครัวเรือนและเปนผลดีตอสุขภาพโดยการปลูกผักสวนครัวรั้วกินไดเลี้ยงปลาอยางงายสําหรับบริโภคในครัวเรือนทําใหลดรายจายในครอบครัวใชเวลาวางใหเกดิประโยชนสมาชิกในครอบครัวมีสวนรวมในกิจกรรมสรางความรักความอบอุนในครอบครัวเปนเกราะปองกันโรคภัยใหกับสถาบันครอบครัว

2. เพิ่มรายไดเพื่อเพิ่มภูมิคุมกันในชีวิตโดยการใชทรัพยากรที่มีอยูในครัวเรือนใหเกิดประโยชนสูงสุดในการสรางรายไดเชนการถนอมและแปรรูปอาหารการหัตถกรรมรวมไปถึงการปลูกพืชเลี้ยงสัตวอยางงายใชทุนต่ําหรือวัตถุดิบที่มีอยูแลวจําหนายใหกับชุมชนใกลบาน

3. ขยายโอกาสเกิดจากการพัฒนาศักยภาพของตนเองครอบครัวและชุมชนโดยการรวมมือสรางอาชีพไดอยางเหมาะสมกับทรัพยากรที่มีอยูอยางคุมคาบุตรหลานไดรับการศึกษาสูงขึ้นตามอัตภาพชุมชนมีความเขมแข็งสามารถรวมกลุมกันเพื่อหาตลาดแหลงเงินทุนและเครือขายมาใชในการประกอบอาชีพอยางยั่งยืน

4. เศรษฐกิจพอเพียงดานการเกษตรเกษตรกรสามารถดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงไดดวยการทําการเกษตรที่ผลิตเพื่อการบริโภคในครอบครัวกอนถามีเหลือจึงจําหนายเปนรายไดเชนการเกษตรผสมผสานวนเกษตรหรือเกษตรทฤษฎีใหมที่มีการแบงพื้นที่ออกเปนสวนๆมีพื้นที่นาขาวพืชไรไมผลสระน้ําคอกสัตวและบริเวณบานเพื่อใหมีกิจกรรมการผลิตที่หลากหลายที่เกื้อหนุนและผสมผสานกันดวยความเหมาะสมมีผลผลิตออกทุกฤดูกาลมีรายไดประจําวันรายสัปดาหรายเดือนและรายป

เกษตรผสมผสาน เปนระบบเกษตรที่มีการปลูกพืชและมีการเลี้ยงสัตวหลากหลายชนิดในพื้นที่เดียวกันโดยมีกิจกรรมแต

ละชนิดเกื้อกูลประโยชนตอกันไดอยางมีประสิทธิภาพมีการใชทรัพยากรที่มีอยูในไรนาไดอยางเหมาะสมเกิดประโยชนสูงสุดมีความสมดุลตอสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่องและเกิดการเพิ่มพูนความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติการเก้ือกูลกันระหวางพืชและสัตวเศรษฐกิจและผลพลอยไดจากการปลูกพืชจะเปนประโยชนตอกิจกรรมการเลี้ยงสัตวและผลที่ไดจากการเลี้ยงสัตวจะเปนประโยชนตอพืช

Page 10: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

10

หลักการของเกษตรผสมผสาน 1. ตองมีกิจกรรมการเกษตรตั้งแต 2 กิจกรรมขึ้นไปโดยการทําการเกษตรทั้งสองกิจกรรมนั้นตองทําใน

พื้นที่และระยะเวลาเดียวกันหรือพ้ืนที่เดียวกันแตเหลื่อมเวลากันซึ่งกิจกรรมเหลานั้นจะประกอบไปดวยการปลูกพืชและการเลี้ยงสัตวและสามารถผสมผสานระหวางการปลูกพืชตางชนิดหรือการเลี้ยงสัตวตางชนิดก็ได

2. การเกื้อกูลประโยชนระหวางกิจกรรมเกษตรตางๆและการใชประโยชนจากทรัพยากรในระบบเกษตรแบบผสมผสานนั้นเกิดขึ้นทั้งจากการใชแรธาตุอาหารรวมทั้งอากาศและพลังงานเชนการหมุนเวียนใชประโยชนจากมูลสัตวใหเปนประโยชนกับพืชและใหเศษพืชเปนอาหารสัตวโดยมีกระบวนการใชประโยชนทั้งโดยตรงหรือโดยออมเชนผานการหมักของจุลินทรียเสียกอน

ลักษณะการผสมผสานในระบบการเกษตร แบงออกไดเปน 3 กลุมใหญตามลักษณะกิจกรรมคือ

1. การปลูกพืชแบบผสมผสานเปนการอาศัยหลักการความสัมพันธระหวางพืชสิ่งมีชีวิตและจุลินทรียตางๆที่เกิดข้ึนในระบบนิเวศตามธรรมชาติมาจัดการและปรับใชในระบบการเกษตรเชนการปลูกมะคาเดเมียแซมปาการปลูกหวายแซมปาการปลูกพริกไทยในสวนปา

2. การผสมผสานการเลี้ยงสัตวเปนการใชหลักความสัมพันธระหวางสัตวกับสัตวเชนเดียวกับการผสมผสานกันระหวางพืชเนื่องจากสัตวแตละชนิดสามารถจะมีความเกี่ยวของและสัมพันธกันระบบนิเวศไดเชนการเลี้ยงหมูควบคูกับการเลี้ยงปลาการเลี้ยงเปดหรือไกรวมกับปลาการเลี้ยงปลาแบบผสมผสาน

3. การปลูกพืชผสมผสานกับการเลี้ยงสัตวเปนรูปแบบการเกษตรที่สอดคลองกับสมดุลของแรธาตุพลังงานและมีการเกื้อกูลประโยชนระหวางกิจกรรมการผลิตตางๆและใกลเคียงกับระบบนิเวศตามธรรมชาติมากยิ่งขึ้นตัวอยางเชนการเลี้ยงปลาในนาขาวการเลี้ยงเปดในนาขาวการเลี้ยงหมูและปลูกผักการเลี้ยงสัตวปลูกพืชไรและพืชผัก

ขอควรพิจารณาในการทําการเกษตรผสมผสาน กอนที่เกษตรกรจะตัดสินใจในการทําการเกษตรผสมผสานตองพิจารณาถึงความพรอมของตนเองในทุก

ดานและปจจัยภายนอกตางๆที่อาจเขามากระทบตอกิจกรรมการเกษตรผสมผสานไดการทํากิจกรรมนี้จึงจะประสบผลสําเร็จเพราะเปนกิจกรรมการเกษตรที่ตองใชทั้งความพรอมในทุกดานความรูที่หลากหลายการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตั้งแตการวางแผนการผลิตจนถึงการตลาดขอควรพิจารณาที่ตองคํานึงในการทําการเกษตรผสมผสานประกอบดวย

1. ดานพื้นที่ 1.1 กรณีท่ีเกษตรกรที่พื้นที่มากใหแบงพื้นที่บางสวนมาทํากจิกรรมเกษตรผสมผสานเพื่อเปนการฝก

ประสบการณและไมใหขาดรายไดจากกิจกรรมเดิม 1.2 กรณีท่ีเปนพื้นที่สูงที่มีการหักลางถางพงมาทําพืชเศรษฐกิจและพืชยังชีพตางๆการทําเกษตร

ผสมผสานจะชวยรักษาหรือชะลอความสูญเสียไดในระดับหนึ่งโดยทําในรูปแบบของวนเกษตร 1.3 กรณีท่ีเปนพืน้ที่ราบเชิงเขาสวนใหญจะเปนพ้ืนที่อาศัยน้ําฝนมีการปลูกพืชไรไมผลขาวไรการจัดการ

ในรูปแบบเกษตรผสมผสานทําไดโดยการปลูกไมผลไมยืนตนหลากหลายรวมกับปลูกปาประเภทไมใชสอยเพื่อกอใหเกิดประโยชนทั้งดานการเก็บผลผลิตและการอนุรักษปาแตมีขอจํากัดเรื่องของความลาดชันไมเกิน 30% หนาดินลึกกวา 1 เมตรดินชั้นลางตองไมเปนดินดาน

1.4 กรณีท่ีเปนพื้นที่ดอนที่มีการปลูกพืชไรเศรษฐกิจตางๆเชิงเดี่ยวเปนหลักลักษณะของการทํากิจกรรมผสมผสานอาจอยูในรูปแบบของการปลูกพืชแซมโดยใชพืชตระกูลถั่วแซมในขาวโพดมันสําปะหลังหรืออาจใชพื้นที่มาดําเนินการเลี้ยงปศุสัตวและปลูกพืชอาหารสัตวควบคูกันไป

Page 11: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

11

1.5 กรณีที่เปนพื้นที่ลุมพื้นที่สวนใหญจะเปนนาขาวอาจพิจารณาการทํากิจกรรมที่มีการใชรูปแบบเดิมเปนหลักเชนการเลี้ยงปลาในนาขาวการเลี้ยงกบในนาขาวโดยเฉพาะพื้นที่ที่มีลักษณะเปนที่ลุมมากน้ําทวมเปนประจําแตถาเปนพื้นที่ลุมทั่วไปและตองการปลูกไมผลตองยกรองปลูกมีคันดินลอมรอบบริเวณรองโดยรอบใชเลี้ยงสัตวน้ําที่เหมาะสมได

1.6 กรณีที่สภาพดินมีปญหาเชนดินเค็มดินเปรี้ยวดินพรุและดินมีปญหาอื่นๆตองมีการปรับปรุงสภาพดินใหเหมาะสมกอนการปลูกพืช

2. ดานแหลงน้ํา 2.1 ควรมีสระน้ําคูคลองรองน้ําอางเก็บน้ําหรือแหลงน้ําประจําไรนาเพื่อเสริมในฤดูแลงใหไดประมาณ

30% ของพ้ืนที่ 2.2 แหลงน้ําสํารองที่มีอยูควรพิจารณาใชเลี้ยงปลาเพื่อเปนแหลงอาหารโปรตีนและเพิ่มรายไดแก

ครอบครัวขณะเดียวกันน้ําในบอจะใชในการปลูกผักสวนครัวรอบบริเวณบอดินเลนในบอที่ขุดลอกทุกปจะเปนแหลงของธาตุอาหารสําหรับกิจกรรมการปลูกพืชไดดวย

2.3 กรณีท่ีขาดแคลนน้ําสํารองตองมีบอน้ําบาดาลสําหรับใชในฤดูและอยางพอเพียงโดยเฉพาะพืชไรพืชผักไมดอกไมประดับ

3. ดานการลงทุน 3.1 ตองพิจารณาเงินทุนที่มีอยูใหสอดคลองกับชนิดและกิจกรรมการผลิตโดยเฉพาะในระยะแรกที่ใช

เงินลงทุนคอนขางสูงดังนั้นจึงควรพิจารณากิจกรรมที่ใหผลตอบแทนเร็วในชวงแรกๆ 3.2 กรณีท่ีกูยืมเงินจากสถาบันการเงินควรวางแผนการใชจายเงินและผลตอบแทนในลักษณะที่มีรายได

ประจําเปนกิจกรรมไมเสี่ยงแมจะเปนการลงทุนโครงสรางพื้นฐานตางๆก็ตองกอใหเกิดรายไดดวย

4. ดานเกษตรกร 4.1 มีความขยันขันแข็งกระตือรือรนมีความคิดสรางสรรคยอมรับในการเปลี่ยนแปลงใหมมีความคิดเชิง

ธุรกิจ 4.2 มีความรอบรูติดตามขาวสารเปนประจําและมีทักษะในการวางแผนและงบประมาณแรงงานในการ

ผลิตอยางเหมาะสม 4.3 มีแรงงานทําการเกษตรอยางนอย 3 คนตอพ้ืนที่ 10 ไร

5. ดานกิจกรรมการผลิต 5.1 มีความเหมาะสมกับสภาพภูมิสังคมใชบริโภคในครัวเรือนไดหากมีเหลือสามารถจําหนายในตลาด

ทองถิ่นไดหรือนําไปแปรรูปเปนผลิตผลอื่นๆไดเพื่อเปนการเพิ่มมูลคาและถนอมคุณภาพของอาหาร 5.2 เปนกิจกรรมที่สามารถประสานสอดคลองกับกิจกรรมอื่นๆไดและไมทําลายสิ่งแวดลอมหรือสิ่งที่จะ

เปนประโยชนอื่นๆ 5.3 มีความเปนไปไดในทางปฏิบัติการดูแลไมยุงยากมากเกินไปและเปนกิจรรมที่ไมพึ่งพิงปจจัย

ภายนอกจนเกินไปหรือสามารถปรับใชปจจัยที่มีอยูสําหรับทํากิจกรรมโดยไมสงผลกระทบตอผลผลิตหรือคุณภาพผลิตผล

5.4 กรณีท่ีกูเงินมาลงทุนตองเปนกิจรรมที่ไมเสี่ยงสามารถใหผลตอบแทนเร็วหรือใหผลตอบแทนเปนตัวเงินที่คุมคาแกการลงทุน

Page 12: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

6. ดานรายได 6.1 พิจารณากิจกรรมกอใหเกิดรายไดเปนรายวันรายสัปดาหรายเดือนและรายปทั้งที่เปนรายไดหลัก

รายไดรองและรายไดเสริมโดยมีกิจรรมที่ใหผลตอบแทนเร็วในชวงเวลาสั้นๆและมีรายไดสูงมั่นคงในระยะยาว

6.2 พิจารณากิจกรรมปลูกพืชหมุนเวียนหรือเลี้ยงสัตวเปนรุนๆเพื่อใหมีจําหนายอยางตอเนื่องมีความยั่งยืน

6.3 กิจกรรมที่มีความเสี่ยงหรือไมกอรายไดไมใหผลผลิตแตมีความจําเปนตองทําเชนการศึกษาทดลองในเบื้องตนควรพิจารณาทําแตนอยกอนเมื่อไดผลจึงลงมือทําไดเต็

กิจกรรมเกษตรผสมผสานในรูปแบบเศรษฐกิจพอเพียงการทําการเกษตรแบบผสมผสานสามารถเลือกรูปแบบไดตามศักยภาพและความตองการของเกษตรกร

โดยพิจารณาเชื่อมโยงความสัมพันธในแตละกิจรรมทั้งนี้เกษตรกรตองมีขอมูลประกอบการตัดสินใจที่ถูกตองเหมาะสมการทํากิจรรมเกษตรผสมผสานจึงจะสําเร็จได

จากผังเชื่อมโยงความสัมพันธมีกิจกรรมท่ีประกอบเกื้อหนุนกันในแตละรูปแบบซึ่งมีรายละเอียดดังนี้1. กิจกรรมพืชทั้งกิจกรรมพืชเดี่ยวหรือการผสมผสานกันระหวางพืชตองมีสวนเกี่ยวของกันตามผัง

เชื่อมโยงความสัมพันธคือผลผลิตใชเปนอาหารมนุษยอาหารสัตวผลพลอยไดอ่ืนๆอาผลิตผลของใชสําหรับมนุษยเปนปจจัยการผลิตสําหรับการปลูกพืชเชนทําปุยหมักจากนั้นนําปุยมาใชกับการปลูกพืชไดอีก

2. กิจกรรมประมงมีสวนเกี่ยวของกับกิจกรรมพืชและปศุสัตวคือผลผลิตจากพืชและมูลผลิตผลจากปศุสัตวสามารถนํามาใชเลี้ประโยชนไดนอกจากนี้อาจยังมีการเกื้อกูลกันในกิจกรรมของการเลี้ยงปลาแบบผสมผสานกับปลาอื่นๆที่มีอุปนิสัยหากินตางกันในบอเดียวกันเพื่อใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุดการเลี้ยงปลารวมกับกิจกรรมป

พิจารณากิจกรรมกอใหเกิดรายไดเปนรายวันรายสัปดาหรายเดือนและรายปทั้งที่เปนรายไดหลักรายไดรองและรายไดเสริมโดยมีกิจรรมที่ใหผลตอบแทนเร็วในชวงเวลาสั้นๆและ

พิจารณากิจกรรมปลูกพืชหมุนเวียนหรือเลี้ยงสัตวเปนรุนๆเพื่อใหมีจําหนายอยางตอเนื่องมีความ

กิจกรรมที่มีความเสี่ยงหรือไมกอรายไดไมใหผลผลิตแตมีความจําเปนตองทําเชนการศึกษาทดลองในเบื้องตนควรพิจารณาทําแตนอยกอนเมื่อไดผลจึงลงมือทําไดเตม็ที ่

กิจกรรมเกษตรผสมผสานในรูปแบบเศรษฐกิจพอเพียง การทําการเกษตรแบบผสมผสานสามารถเลือกรูปแบบไดตามศักยภาพและความตองการของเกษตรกร

โดยพิจารณาเชื่อมโยงความสัมพันธในแตละกิจรรมทั้งนี้เกษตรกรตองมีขอมูลประกอบการตัดสินใจที่ถูกตองเหมาะสมการทํากิจรรมเกษตรผสมผสานจึงจะสําเร็จได

จากผังเชื่อมโยงความสัมพันธมีกิจกรรมท่ีประกอบเกื้อหนุนกันในแตละรูปแบบซึ่งมีรายละเอียดดังนี้กิจกรรมพืชทั้งกิจกรรมพืชเดี่ยวหรือการผสมผสานกันระหวางพืชตองมีสวนเกี่ยวของกันตามผัง

เชื่อมโยงความสัมพันธคือผลผลิตใชเปนอาหารมนุษยอาหารสัตวผลพลอยไดอ่ืนๆอาจนํามาใชเปนอาหารสัตวเปนผลิตผลของใชสําหรับมนุษยเปนปจจัยการผลิตสําหรับการปลูกพืชเชนทําปุยหมักจากนั้นนําปุยมาใชกับการปลูก

กิจกรรมประมงมีสวนเกี่ยวของกับกิจกรรมพืชและปศุสัตวคือผลผลิตจากพืชและมูลผลิตผลจากปศุสัตวสามารถนํามาใชเลีย้งปลาไดมูลขี้เลนหรือน้ําจากบอปลาสามารถนํามาทําปุยเพื่อปอนใหพืชใชประโยชนไดนอกจากนี้อาจยังมีการเกื้อกูลกันในกิจกรรมของการเลี้ยงปลาแบบผสมผสานกับปลาอื่นๆที่มีอุปนิสัยหากินตางกันในบอเดียวกันเพื่อใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุดการเลี้ยงปลารวมกับกิจกรรมป

12

พิจารณากิจกรรมกอใหเกิดรายไดเปนรายวันรายสัปดาหรายเดือนและรายปทั้งที่เปนรายไดหลัก

พิจารณากิจกรรมปลูกพืชหมุนเวียนหรือเลี้ยงสัตวเปนรุนๆเพื่อใหมีจําหนายอยางตอเนื่องมีความ

กิจกรรมที่มีความเสี่ยงหรือไมกอรายไดไมใหผลผลิตแตมีความจําเปนตองทําเชนการศึกษาทดลอง

การทําการเกษตรแบบผสมผสานสามารถเลือกรูปแบบไดตามศักยภาพและความตองการของเกษตรกรโดยพิจารณาเชื่อมโยงความสัมพันธในแตละกิจรรมทั้งนี้เกษตรกรตองมีขอมูลประกอบการตัดสินใจที่ถูกตอง

จากผังเชื่อมโยงความสัมพันธมีกิจกรรมท่ีประกอบเกื้อหนุนกันในแตละรูปแบบซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ กิจกรรมพืชทั้งกิจกรรมพืชเดี่ยวหรือการผสมผสานกันระหวางพืชตองมีสวนเกี่ยวของกันตามผัง

จนํามาใชเปนอาหารสัตวเปนผลิตผลของใชสําหรับมนุษยเปนปจจัยการผลิตสําหรับการปลูกพืชเชนทําปุยหมักจากนั้นนําปุยมาใชกับการปลูก

กิจกรรมประมงมีสวนเกี่ยวของกับกิจกรรมพืชและปศุสัตวคือผลผลิตจากพืชและมูล/ของเสียและยงปลาไดมูลขี้เลนหรือน้ําจากบอปลาสามารถนํามาทําปุยเพื่อปอนใหพืชใช

ประโยชนไดนอกจากนี้อาจยังมีการเกื้อกูลกันในกิจกรรมของการเลี้ยงปลาแบบผสมผสานกับปลาอื่นๆที่มีอุปนิสัยหากินตางกันในบอเดียวกันเพื่อใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุดการเลี้ยงปลารวมกับกิจกรรมปศุสัตว

Page 13: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

13

เชนหมูไกเปดจะชวยกําจัดมูลของเสียและกลิ่นเหม็นกลายมาเปนอาหารของปลาหรือการเลี้ยงสัตวน้ําควบคูไปกับการปลูกพืชเชนการเลี้ยงปลาเลี้ยงกบในนาขาวการเลี้ยงปลาในรองสวนเปนตน

3. กิจกรรมปศุสัตวเปนกิจกรรมที่เก่ียวของกันไดทั้งกิจกรรมพืชและกิจกรรมประมงดังที่กลาวไปแลวคือรับอาหารจากพืชมาใชแลวสัตวถายมูลเพื่อนําไปใชประโยชนในการทําปุยหมักคืนใหกับพืชหรือเปนอาหารสัตวโดยเฉพาะการทําปุยหมักนั้นควรผานกระบวนการหมักใหไดกาชชีวภาพเสียกอนเพื่อไมใหเกิดผลกระทบกับภาวะโลกรอนนอกจากนั้นจะชวยฆาเชื้อโรคพยาธิในมูลสัตวและเรงการยอยสลายใหเร็วขึ้นเพื่อจะไดนําไปใชประโยชนในเวลาอันรวดเร็ว

คําแนะนํากิจกรรมเกษตรผสมผสานแตละดาน

1. เกษตรผสมผสานดานพืช กิจกรรมการผสมผสานของพืชมีอยูหลายรูปแบบการจะเลือกใชขึ้นอยูกับสภาพพ้ืนที่ความเหมาะสม

ความชํานาญความตองการของเกษตรกรและรวมไปถึงการตลาดคานิยมและประเพณีวัฒนธรรมอีกดวยหากจะแบงประเภทของการเกษตรผสมผสานตามลักษณะกิจกรรมหรือพ้ืนที่หลักอาจแบงไดดังนี้

1.1 ระบบเกษตรผสมผสานที่มีขาวเปนพืชหลักพื้นที่ทําการเกษตรสวนใหญจะเปนนาขาว การที่จะผสมผสานกิจกรรมเขาไปใหเกื้อกูลกันอาจทําไดท้ังในรูปแบบของพืชกับพืชเชนการปลูกพืชตระกูลถั่วพืชผักพืชเศรษฐกิจอื่นๆกอนหรือหลังฤดูกาลทํานา

1.2 ระบบเกษตรผสมผสานที่มีพืชไรเปนหลักกิจกรรมการเกษตรสวนใหญเปนพืชไรในลักษณะ ของการปลูกรวมกันเชนการปลูกพืชตระกูลถั่วแซมในแถวพืชหลักเชนขาวโพดมันสําปะหลังฝายหรือการผสมผสานรวมกับกิจกรรมการเลี้ยงสัตวเชนการปลูกพืชอาหารสัตวควบคูกับการเลี้ยงสัตว

1.3 ระบบเกษตรผสมผสานที่มีพืชผักเปนหลักเปนกิจกรรมการเกษตรที่ใชพื้นที่นอยและให ผลผลิตในระยะเวลารวดเร็วสามารถทําใหเกิดการผสมผสานในลักษณะพืชกับพืชทั้งรูปแบบการปลูกรวมและการปลูกเหลื่อมฤดูกับพืชผักดวยกันเองหรือขาวพืชไรและไมผลตางๆเชนการปลูกหอมแดงกับผักชีการปลูกถ่ัวฝกยาวกับคะนาการปลูกถ่ัวฝกยาวกับขาวโพดหวานการปลูกผักกาดกวางตุงแซมในสวนลําไยหรือกิจกรรมผสมผสานกับการเลี้ยงสัตวเชนการปลูกผักบนขอบบอปลา

1.4 ระบบเกษตรผสมผสานที่มีไมผลเปนพืชหลักเปนการผสมผสานกิจกรรมดานพืชกับพืช เชนการใชไมผลตางชนิดปลูกรวมและปลูกแซมกันเชนโกโกแซมในสวนมะพราวผักหวานปาแซมลําไยการปลูกพืชผักและพืชตระกูลถั่วในแถวไมผลเปนตนหรือรูปแบบการผสมผสานดานพืชกับสัตวเชนการเลี้ยงโคหรือแพะในสวนไมผลการเลี้ยงไกพื้นเมืองในสวนลําไย

1.5 ระบบเกษตรผสมผสานที่มีไมปาหลากชนิดเปนหลักหรือวนเกษตรซึ่งเปนการผสมผสานสภาพแวดลอมของปาและสภาพแวดลอมทางการเกษตรของคนเขาดวยกันเกิดความเกื้อกูลกันดานนิเวศวิทยาของปามีการจัดสรรหวงเวลาที่ปลูกพ้ืนที่และพันธุไมเพื่อพ่ึงพาอาศัยกันในระบบนิเวศทั้งนี้อาจมีการปลูกพื้นที่หลากหลายชนิดตามระดับความสูงและประโยชนใชสอบดังนี้

1) ระดับบนเปนไมยืนตนความสูงประมาณ 30 เมตรเชนตะแบบประดูสักทองสําหรับเปนไมใช สอยหรือทําที่อยูอาศัยเปนหลัก

2) ระดับสูงเปนพืชเศรษฐกิจความสูงประมาณ 20 เมตร เชน มะพราว หมาก ยาง พารา สะตอ สําหรับเปนไมใชบริโภคเปนหลัก

3) ระดับปานกลางเปนพืชพื้นบานและพืชปาที่ชอบรมเงาความสูงประมาณ 7-10เมตร เชน มังคุด ลางสาด ลองกอง

4) ระดับต่ําเปนไมผลทรงพุมสูงประมาณ 3-5 เมตรสําหรับใชเปนอาหาร เชน มะละกอ

Page 14: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

14

5) ระดับลางเปนไมพุมและพืชผักสําหรับใชเปนอาหาร เชน มะเขือพวง 6) ระดับหนาดินเปนพืชพื้นบานยืนตนหรือพืชลมลุก เชน ผักหวานปา กาแฟ 7) ระดับผิวดินเปนพืชผักกินใบผลลําตนอาจเปนพืชผักอายุสั้นหรือพืชยืนตนขามปก็ได เชน

คะนา กวางตุง ผักชี 8) พืชเถาเลื้อยเปนพืชผักที่กินไดท้ังลําตนใบผลและอยูอาศัยกับไมหลัก เชน ผักบุง บัวบก

พริกไทย ตําลึง มะระขี้นกหวาย 9) ไมลมลุกที่มีเหงาหรือลําตนอยูใตดินสําหรับใชบริโภคเปนอาหาร เชน ขาขิง ตะไคร กระชาย

บุก 10) พืชในน้ําเปนทั้งพืชอาหารพืชใชสอยและไมประดับเชน แหวบัวคลา

โดยหลักปฏิบัติทั่วไปของวนเกษตรจะตองรูจักเลือกชนิดตนไมใหเหมาะสมตอสภาพแวดลอม หาพันธุไดงายดูแลรักษาไดไมยากจนเกินไปและเปนพันธุไมที่แข็งแรงสามารถเลี้ยงตัวเองไดมีหลักการเลือกพันธุไมโดยทั่วไปดังนี้

1) มีระบบรากลึกเพื่อชวยดูดธาตุอาหารจากดินดานลางสูใบเมื่อใบรวงหลนสูพื้นดินจุลินทรียจะยอยสลายใหเกิดธาตุอาหารไปกับพืชที่มีระบบรากตื้นที่ผิวดินไดถือไดวาเปนการเคลื่อนยายธาตุอาหารในดินอยางหนึ่ง

2) เปนพืชตระกูลถั่วเพื่อชวยตรึงไนโตรเจนในอากาศมาชวยเพิ่มธาตุไนโตรเจนแกดินรอบขางเปนประโยชนตอพืชใกลเคียง

3) เปนตนไมโตชาเพื่อชวยเปนแนวกนัลมและทิ้งเศษซากพืชที่เปนประโยชนไดเร็วขึ้น 4) มีทรงพุมโปรงเพ่ือใหพืชที่อยูระดับลางลงไปมีโอกาสไดรับแสงทําใหเกิดการปรุงอาหารและการ

เจริญเติบโตไดดี 5) มีใบขนาดเล็กเพ่ือใหมีการยอยสลายและเกิดประโยชนไดเร็วขึ้นทั้งในแงของการใหธาตุอาหารคืนสู

ดินและปรับปรุงคุณสมบัติของดินใหดีขึ้นดวย 6) มีการทิ้งใบเสมอเพ่ือใหเกิดการหมุนเวียนของธาตุอาหารในระบบไดเร็วขึ้นและเปนไปอยางตอเนื่อง

สม่ําเสมอ 7) เศษซากพืชไมมีพิษเพื่อไมใหคุณสมบัติที่ดีของดินเปลี่ยนไปเชนความเปนกรดเปนดางเกิดสารพิษ

ตกคางหรือยอยสลายยากทําใหพืชอื่นโตชา 8) มีการแตกหนอดีชวยลดตนทุนในการปลูกใหมเมื่อมีการติดฟนไปใชประโยชน 9) ใหเนื้อไมคุณภาพดีเพื่อใชประโยชนในการบานเรือนเฟอรนิเจอรเครื่องใชตางๆกอประโยชนไดดีกวา

พืชอาหารในระยะทาง 10) ใหผลผลิตหลากหลายเพื่อประโยชนในแงของการใชสอยอยางสูงสูดทั้งในดานอาหารเชื้อเพลิงยา

รักษาโรคและการใชสอยตางๆ

2. เกษตรผสมผสานดานประมง 2.1 การเลี้ยงปลาน้ําจืดแบบรวม

1) เปนปลาที่หาพันธุงายเลี้ยงงายโตเร็วทนทานตอโรคและสภาพแวดลอมไดดีเปนที่ตองการ ของตลาด

2) เปนปลากินพืชสามารถใชวัสดุหรือพืชผักในทองถิ่นเปนอาหารเสริมไดจะชวยลดตนทุนการ ผลิตอาจมีการใหอาหารสมทบเชนรําปลายขาวหรือขาวโพดตมสุกได

Page 15: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

15

3) เปนปลาที่หากินในน้ําตางระดับกันไมรบกวนกันกินอาหารตางชนิดกันเพ่ือใชประโยชน อาหารในน้ําไดเต็มที่

4) บอขนาด 1 ไรขุดลึก 2 เมตรหรือไมนอยกวา 400 ตารางเมตรเก็บน้ําไดไมนอยกวา 8 เดือนโดยเปนที่ราบลุมใกลแหลงน้ําดินเปนดินเหนียว

5) ชนิดปลาและสัดสวนตองสัมพันธกันตามคําแนะนําแตรวมแลวตองไมเกิน 3-4 ตัวตอพื้นท่ี ผิวน้ํา 1 ตารางเมตร

2.2 การเลี้ยงปลารวมกับไกไข 1) เปนการใชประโยชนจากมูลไกในการเพ่ิมผลผลิตปลาเพื่อลดตนทุนการเลี้ยงปลากอใหเกิด

กิจกรรมอยางตอเนื่องรอบบอปลาเชนการปลูกพืชโดยใชน้ําจากบอปลาเปนการลองความเสี่ยงจากการทํากิจกรรมการเกษตรเพียงอยางเดียว

2) จะตองมีบอเลี้ยงปลาอยางนอย 400 ตารางเมตรเกบ็กักน้ําได 3) ปรับสภาพดินและน้ําโดยใชฟางหรือปุยหมักมีการใสปุยคอก 100-200 กก./ไร 4) เลี้ยงไกไขอายุ 20 สัปดาหบนบอประมาณ 100-200 ตัวโดยใชระยะเวลาเลี้ยง10 เดือน 5) ปลอยปลานิล :ไน : ตะเพียน : นวลจันทรอัตรา 2 :1 : 2 : 1 จํานวน 1,200-2,000 ตัว

โดยใชเวลาเลี้ยง 5 เดือน 2.3 การเลี้ยงปลารวมกับการเลี้ยงเปดไข

1) เปนการใชประโยชนจากมูลเปดชวยเพิ่มอาหารธรรมชาติใหปลาชวยเพิ่ม ออกซิเจนในน้ําจากการวายน้ําของเปดชวยกําจัดหอยที่เปนพาหนะของโรคพยาธิและชวยควบคุม ปริมาณปลาใหอยูในลักษณะสมดุล

2) ตองมีพื้นที่บอปลาอยางนอย 400 เมตรขึ้นไปเก็บกักน้ําไดตลอดป 3) ปรับสภาพดินและน้ําโดยใชปูนขาวฟางขาวหรือปุยหมักมีการใสปุยคอก100 -200 กก./ไร 4) เลี้ยงเปดไขพันธุกากิแคมเบลจํานวน 240 ตัวตอบอขนาด 1 ไรหรือ 30 ตัวตอพื้นที่บอ

ปลา 200 ตารางเมตร 5) เลี้ยงปลาที่กินอาหารไมเลือกเชนปลานิลปลานวลจันทรเทศปลาชอนขนาด 5-7 เซนติเมตร

อัตรา 3,000 ตัวตอไร 6) สรางโรงเรือนไวบนบอปลาโดยตรงพื้นที่ 1 ตารางเมตรใชเลี้ยงเปดได 5 ตัวพื้นเลาไมควรมี

ชองวางเกิน 1 ตารางเซนติเมตรเพื่อใหเปดเดินสะดวกและไขไมหลนลงไปในบอปลา 2.4 การเลี้ยงปลารวมกับสุกร

1) เปนการใชประโยชนจากมูลสุกรในการเพิ่มผลผลิตปลาเพื่อลดตนทุนการเลี้ยงปลาและ กอใหเกิดกิจกรรมอยางตอเนื่องรอบบอปลาเชนการปลูกพืชโดยใชน้ําจากบอปลาซึ่งเปนการลดความเสี่ยงจากกิจกรรมการเกษตรเพียงอยางเดียว

2) จะตองมีพ้ืนที่บอเลี้ยงปลาอยางนอย 400 ตารางเมตรเก็บกักน้ําไดตลอดป 3) ปรับสภาพดินและน้ําโดยใชฟางหรือปุยหมักมีการใสปุยคอก 100-200 กก. ใสปูนขาว

160 กก./ไร 4) เลี้ยงสุกรจํานวน 3-5 ตัว 5) ปลอยปลากินพืชเชนปลานิลไนตะเพียนนวลจันทรอัตรา2 :1 : 2 : 1 จํานวน 1,500-

2,000 ตัวหรือปลากินเนื้อเชนปลาสวายดุกอัตรา 10,000-16,000 ตัวใชเวลาในการเลี้ยง 5-6 เดือน

Page 16: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

16

2.5 การเลี้ยงปลาในนาขาว 1) เปนการเพิ่มผลผลิตและใชประโยชนจากผืนนาที่มีจํากัดไดอยางสูงสุดและสงเสริมใหมี

รายไดเพ่ิมขึ้นนอกเหนือจากการทํานา 2) แปลงนาควรมขีนาดตั้งแต 3-5 ไรและสามารถเก็บน้ําในการเลี้ยงปลาไดมากกวา 3 เดือน 3) ขุดรองรอบแปลงขนาดกวาง 2 เมตรลึก 1 เมตรเพื่อนําดินมาทําคันนาใหสูงขึ้น 4) ขุดบอรวมปลาในแปลงนาขนาด 20-50 ตารางเมตรลึก 1.5 เมตร 5) ปลอยปลานิล :ไน : ตะเพียนขนาด 5-7 ซม. อัตราสวน 3: 1 : 6 จํานวน 700-800 ตัว

ตอไรในชวงตนขาวตั้งตัวไดแลว 2.6 การเลี้ยงปลารวมกับการปลูกพืช

1) เปนการใชประโยชนจากอาหารปลาและปุยที่เหลือสะสมในบอรวมทั้งซากปลาซากสัตวพันธุ ไมน้ําที่สะสมในดินกนบอในแตละปทั้งยังชวยลดอันตรายจากกาชพิษสะสมและแบคทีเรียที่เปนสาเหตุของโรคปลา

2) ควรลอกโคลนเลนออกจากบอทุกปประมาณ 2 ใน 3 พื้นที่ 1 ไรจะไดเนื้อดินท่ีมีธาตุอาหาร เทียบเทาปุยเคมี 288.5 กิโลกรัม

3) ดินโคลนสด 121.2 ลูกบาศกเมตรใชปลูกขาวในพื้นที่ 2.5 ไรไดผลผลิตขาว 500 กิโลกรัม ตอปและหากใชปลูกหญาจะไดผลผลิต 14,544 กิโลกรัม/ไร

4) การเลี้ยงปลาโดยทั่วไปจะไมตอเนื่องบออนุบาลและบอเลี้ยงจะพักตากบอชวงหนึ่งซึ่ง ระยะเวลาดังกลาวสามารถจะปลูกพืชตางๆในพื้นบอโดยตรงไดโดยเฉพาะพืชผักที่จะเปนอาหารสําหรับมนุษยและเศษใบผักจะเปนอาหารปลาบออ่ืนๆได

3. เกษตรผสมผสานดานปศุสัตว 3.1 ระบบเกษตรผสมผสานดานปศุสัตวที่เนนสัตวปกเปนระบบที่ใชพื้นที่คอนขางมากตองมีการจัดการ

ที่เหมาะสมระหวางพืชและสัตวเชนการเลี้ยงไกพ้ืนเมืองหรือเปดในสวนผลไมจะไดประโยชนจากผลผลิตที่เนาเสียเปนอาหารสัตวสัตวชวยกําจัดแมลงที่ทําลายไมผลบางชนิดและใหมูลเปนปุยคืนสูไมผลไดแตตองมีการจัดการไมใหไกหรือเปดเขาไปจิกกินผลไมในสวนไดโดยตรงหรือการเลี้ยงเปดไขควบคูกับการเลี้ยงปลาตองปลอยปลาขนาดโตและแข็งแรงขอเพียงไมใหเปดจับกินได

3.2 ระบบเกษตรผสมผสานดานปศุสัตวที่เปนสัตวเล็กการใชพื้นที่ในการเลี้ยงขึ้นอยูกับกิจกรรมแตตองมีการบริหารจัดการที่เหมาะสมและสอดคลองกันเชนการเลี้ยงสุกรบนบอปลาตองใชอัตราสวนของจํานวนสุกรกับบอปลาและจํานวนปลาที่เลี้ยงใหเหมาะสมการเลี้ยงหมูหลุมตองจัดวางสถานที่ใหเหมาะสมและมีพืชเพื่อใชเปนอาหารอยางเพียงพอการเลี้ยงแพะในสวนผลไมหรือสวนปาตองระวังไมใหแพะเขาไปทําความเสียหายกับผลิตผลขณะที่พืชบางอยางอาจมีสารพิษหากปลอยใหสัตวแทะเล็มโดยไมจํากัดปริมาณอาจเกิดผลเสียได

3.3 ระบบเกษตรผสมผสานดานปศุสัตวที่เนนสัตวใหญเปนกิจกรรมการเลี้ยงสัตวใหญใชพื้นที่มากเชนการเลี้ยงโคในปาโปรงหรือสวนไมผลขนาดใหญที่ปลูกหญาเลี้ยงสัตวไวขางลางเมื่อปลอยใหโคแทะเล็มหญาตองระวังไมใหเขาไปทําลายหรือรบกวนพืชผลตางๆและตองมีการจัดการแปลงหญาใหเหมาะสมกับการแทะเล็มของโคเนื้อเปดโอกาสใหหญาไดเจริญเติบโตอยางเหมาะสม

4. เกษตรผสมผสานดานอื่นๆ เปนกิจกรรมการเกษตรที่จะชวยเกื้อหนุนแตละกิจกรรมใหเกิดการผสมผสานกันไดอยางเหมาะสมชวยลดตนทุนการผลิตมีการใชวัตถุดิบที่มีอยางคุมคากอใหเกิดรายไดเสริมแกครอบครัวบนพื้นฐานของการอนุรักษและมีการพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืนกิจกรรมเหลานี้อาจชวยเสริมกิจกรรมหลักๆใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้นเชนการเลี้ยงจิ้งหรีดเพื่อเปนอาหารมนุษยไกและปลาการเพาะเลี้ยงปลวกเพื่อลด

Page 17: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

17

ตนทุนอาหารสัตวการเลี้ยงไสเดือนเพ่ือยอยสลายขยะและสรางปุยอินทรียการเลี้ยงผึ้งเพื่อชวยผสมเกสรดอกไมการทําบอกาชชีวภาพเพ่ือลดปญหามลภาวะและไดประโยชนจากพลังงานการทําน้ําสกัดชีวภาพดานวัตถุดิบที่มีเพื่อลดตนทุนลดการใชสารเคมีการใชกอนเห็ดเกามาเพาะเห็ดฟางและทําปุยหมักเปนตน

อาจกลาวไดวา “การเกษตรผสมผสานในรูปแบบเศรษฐกิจพอเพียง” เปนอีกทางเลือกหนึ่งของเกษตรกรเพื่อเสริมแนวคิดการบริหารจัดการใหเปนไปดวยความระมัดระวังรอบคอบสรางพื้นฐานการผลิตการเกษตรใหพ่ึงพาตนเองไดบนพื้นฐานของการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนและสงผลใหเกษตรกรไดรูจักใชชีวิตบนความเหมาะสมสอดคลองกับภูมิสังคมที่แตกตางเมื่อเกษตรกรไดเขาใจในแนวคิดมีความมั่นคงของอาชีพแลวก็พรอมจะรับสิ่งใหมๆท่ีจะเปนประโยชนและกอใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืนในอนาคตอันใกลนี้

ระบบการปลูกพืช

การทําเกษตรกรรมในยุคปจจุบันมุงเนนแตผลไดทางเศรษฐกิจ หวังแตจะไดผลผลิตจํานวนมาก

การเพาะปลูกพืชจึงไมคํานึงถึงปญหาที่เกิดขึ้นกับสภาพแวดลอม ผูคน สิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ มีการนําเอา

สารเคมี เมล็ดพันธุลูกผสมใหมที่ใหผลตอบแทนสูงมาใชในการผลิต ทําการปลูกพืชเชิงเดี่ยว ปลูกพืชชนิด

เดียวกันเปนเวลานาน ๆ ระบบการปลูกพืชแบบนี้จะกอใหเกิดปญหาตามมามากมายทั้งในเรื่องของการขาดธาตุ

อาหารพืช การระบาดของแมลงศัตรูพืช การเกิดโรคพืชที่รายแรงและรักษาเยียวยาไมไดตองยายแปลงปลูกไป

ยังที่ใหม มีความเสี่ยงทางเศรษฐกิจสูงจากการที่ผลผลิตมีราคาตกต่ํา ผลผลิตลนตลาด ดังที่เราพบเห็นไดใน

การทําการเกษตรสมัยใหม การแกปญหาที่เกิดขึ้นมีความจําเปนตองปรับเปลี่ยนระบบการปลูกพืชใหมเพื่อ

หลีกเลี่ยงปญหาการปลูกพืชเชิงเดี่ยวดังกลาวขางตนดวยการปลูกพืชดวยระบบการปลูกพืชทางเลือก

ประกอบดวย

1. การปลูกพืชที่หลากหลาย การปลูกพืชในไรนาของเกษตรกรควรมีความหลากหลายทั้งชนิดพืช

และหลากหลายทางสายพันธุของพืช การปลูกพืชหลากหลายจะชวยลดความเสี่ยงจากการเสียหายของพืชพันธุ

และผลผลิตจากศัตรูพืชไดเปนอยางดี การปลูกพืชหลากหลายทําไดโดยแบงไรนาออกเปนแปลงยอย ๆ และเรียง

เปนลําดับสําหรับปลูกพืชที่หลากหลายทั้งชนิดและสายพันธุ

2. การปลูกพืชหมุนเวียนเปนการหมุนเวียนสับเปลี่ยนชนิดพืชที่ปลูกในพื้นท่ีดินเดิม ระบบการปลูกพืช

แบบนี้จะชวยลดปญหาดินเสื่อมสภาพ การขาดธาตุอาหารในดิน การระบาดของโรคพืชลงได การปลูกพืช

หมุนเวียนตองคํานึงถึงปริมาณความตองการธาตุอาหารของพืชและความตานทานโรคของพืชที่จะนํามาปลูก

หมุนเวียนกันในแปลงปลูกพืช พืชผักเปนพืชที่ใชธาตุอาหารสูงสุดในขณะเดียวกันก็มีความตานทานโรคต่ําสุด

พืชตระกูลถั่วใชธาตุอาหารนอยที่สุดในขณะเดียวกันก็ปลดปลอยไนโตรเจนใหกับดินดวยแตมีความตานทานโรค

ในระดับปานกลาง เพื่อเปนการบํารุงดินจึงควรมีการปลูกพืชตระกูลถั่วหมุนเวียนกับพืชผักและพืชอื่น ๆ

3. การปลูกพืชผสมผสาน เปนการปลูกพืชหลายชนิดในพื้นที่เดียวกัน พืชแตละชนิดสามารถอยู

รวมกันและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เปนการใชประโยชนจากพื้นดิน แสงแดด น้ําไดสูงสุด ลดความเสี่ยงจาก

ปญหาเศรษฐกิจและศัตรูพืชไดเปนอยางดี การปลูกพืชผสมผสานหรือการปลูกพืชรวมกันควรคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้

คือ ปริมาณการใชธาตุอาหารของพืชแตละชนิดควรปลูกพืชบํารุงดินรวมกับพืชอื่นทุกครั้งที่มีการปลูกพืช

ผสมผสาน ตองคํานึงถึงความลึกของรากพืชควรปลูกพืชที่มีความลึกของระบบรากแตกตางกันเพื่อปองกันการ

Page 18: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

18

แยงธาตุอาหารซึ่งกันและกัน มีการปลูกพืชไลแมลงในแปลงปลูก พืชที่มีขนาดเล็กหรือตนเตี้ยควรมีความ

ทนทานตอรมเงาในการปลูกรวมกับพืชที่ขนาดลําตนสูง เพื่อใหพืชที่ปลูกในระบบการปลูกพืชผสมผสานสามารถ

ใหผลผลิตไดทุกชนิดที่ปลูกในแปลงของเกษตรกร

การปลูกผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ

การปองกันและกําจัดศัตรูพืชโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ

การฟนฟูความสมดุลของธรรมชาติในไร-นา ที่ผานการใชสารเคมีในรูปแบบตาง ๆ มาอยางมาก

และเปนเวลานาน ใหกลับคืนมาตามหลักการทั้ง 3 ขอ เปนเรื่องที่เกษตรกรสามารถทําได โดยใชเวลาแตในป

แรก ๆ จะประสบปญหาโรคและแมลงรบกวนบาง เนื่องจากดินที่เริ่มถูกปรับปรุงยังไมมีความอุดมสมบูรณดีพอ

และมีสารปนเปอนอยูมาก ทําใหพืชยังไมสามารถเติบโตและแข็งแรงไดอยางเต็มที่ ทําใหออนแอตอการทําลาย

ของโรคและแมลงศัตรูพืช

อีกทั้งศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชก็ยังนอยอยู จึงทําใหเกษตรกรประสบปญหาโรคและแมลงศัตรูพืช

รบกวน และผลผลิตต่ําในระยะ 1-3 ปแรก แตหลังจากนั้นไป ถามีการจัดการดี จะทําใหปญหาโรคและแมลง

ศัตรูพืชลดลง พรอมทั้งผลผลิตก็จะสูงขึ้น การเพาะปลูกพืชก็งายขึ้น การใชปุยธรรมชาติก็ลดลง รวมทั้งการ

ปองกันกําจัดศัตรูพืชก็ใชปจจัยนอยลง ซึ่งก็หมายถึงตนทุนการผลิตลดลง แตผลผลิตสูงขึ้น ซึ่งเปนการทํา

การเกษตรที่ยั่งยืน

ดังนั้นหากเกษตรกรประสบปญหาศัตรูพืช สามารถปองกันและกําจัดศัตรูพืชโดยไมใชสารเคมี ซึ่งมี

หลายแนวทางใหเลือกใช หรืออาจนําหลาย ๆ แนวทางมาผสมผสานกันก็ได ตามความเหมาะสม ศัตรูพืชแบง

อยางกวาง ๆ ได 3 ประเภทคือ วัชพืช โรคพืช และแมลงศัตรูพืช ซึ่งจะสามารถปองกันและกําจัดไดดังแนวทาง

ตอไปนี้

การปองกันและกําจัดวัชพืช

1. ใชวิธีการถอน ใชจอบถาง ใชวิธีการไถพรวน

2. ใชวัสดุคลุมดิน ซึ่งเปนการปกคลุมผิวดิน ชวยอนุรักษดินและน้ํา และเปนการเพิ่มอินทรียวัตถุใหกับ

ดินอีกดวย โดยสวนใหญมักใชวัสดุตามธรรมชาติ ไดแก เศษซากพืชหรือวัสดุเหลือใชในการเกษตร เชน ฟางขาว

ตอซังพืช หญาแหง ใบไมแหง ตนถั่ว ขุยมะพราว กากออย แกลบ เปนตน นอกจากนี้ยังมีพลาสติกที่ผลิตขึ้น

สําหรับการคลุมดินโดยเฉพาะ ซึ่งสามารถนํามาใชไดเชนกัน

3. ปลูกพืชคลุมดิน เชน การปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดินในสวนไมผล การปลูกพืชตาง ๆ เชน ผัก ไมดอก

สมุนไพร แซมในสวนไมผล เปนตน

การปองกันและกําจัดโรคและแมลงศัตรูพืช

1. การปองกันและกําจัดโดยวิธีกล (mechanical control) เชน การใชมือจับแมลงมาทําลาย การใช

มุงตาขาย การใชกับดักแสงไฟ การใชกับดักกาวเหนียว เปนตน

2. การปองกันและกําจัดโดยวิธีเขตกรรม (cultural control) เชน

2.1 การดูแลรักษาแปลงใหสะอาด

2.2 การหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืช

Page 19: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

19

2.3 การเก็บเก่ียวพืชเพื่อหลีกเลี่ยงการทําลายของโรคและแมลง

2.4 การใชระบบการปลูกพืช เชน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชแซม

2.5 การจัดการใหน้ํา

2.6 การใสปุยใหเหมาะสมกับความตองการของพืชเพื่อลดการทําลายของโรคและแมลง

3. การปองกันและกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี (biological control) คือ การใชประโยชนจากแมลงศัตรู

ธรรมชาติ คือ

3.1 ตัวเบียน (parasite) สวนใหญหมายถึง แมลงเบียน (parasitic insects) ที่อาศัยแมลง

ศัตรูพืชเพื่อการดํารงชีวิต และการสืบพันธุ ซึ่งทําใหแมลงศัตรูพืชตายในระหวางการเจริญเติบโต

3.2 ตัวห้ํา ไดแก สิ่งมีชีวิตที่ดํารงชีวิตโดยการกินแมลงศัตรูพืชเปนอาหาร เพื่อการเจริญเติบโต

จนครบวงจรชีวิต ตัวห้ําพวกนี้ไดแก สัตวที่มีกระดูกสันหลัง ไดแก สัตวปก เชน นก สัตวเลื้อยคลาน เชน งู กิ้งกา

สัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา เชน กบตัวห้ําสวนใหญที่มีความสําคัญในการควบคุมแมลงและไรศัตรูพืช ไดแก สัตวไมมี

กระดูกสันหลัง เชน แมงมุม ไรตัวห้ํา และตัวห้ําสวนใหญ ไดแก แมลงห้ํา (predatory insects) ซึ่งมีมากชนิด

และมีการขยายพันธุไดรวดเร็ว

3.3 เชื้อโรค สวนใหญหมายถึงจุลินทรียที่ทําใหแมลงศัตรูพืชเปนโรคตาย เชน เชื้อไวรัส

แบคทีเรีย รา โปรโตซัว ไสเดือนฝอยทําลายแมลงศัตรูพืช

4. การปองกันโดยใชพันธุพืชตานทาน (host plant resistance)

5. การปองกันและกําจัดศัตรูพืชโดยใชสมุนไพรตาง ๆ

ตัวอยางการปองกันและกําจัดโรคและแมลงศัตรูพืช

1. การใชน้ําสกัดสมุนไพรในการปองกันและกําจัดแมลงศัตรูพืช เชน การใชสะเดา ขาว และตะไคร

หอม ซึ่งทําไดโดยใชสะเดา (ใชสวนของเมล็ดแก) ขา (ใชสวนของหัวขาแก) ตะไครหอม (ใชสวนของใบสีเขียว

เขม) อยางละ 2 กิโลกรัม โขลกหรือตําแลวแชน้ํา 20 ลิตร นาน 24 ชั่วโมง โดยไวในที่รม กรองเอากากออก

น้ํายาที่ไดจะเขมขน ควรเจือจางดวยน้ําประมาณ 8 เทา (ควรเติบสารจับใบซึ่งจะใชน้ําสบู 3 ชอนแกงตอน้ํายาที่

ผสมแลว 20 ลิตร เพื่อใหน้ํายาเกาะติดใบและตัวแมลงไดดีขึ้น) สูตรนี้ใชฉีดปองกันและกําจัดหนอนและแมลง

ตาง ๆ แตก็ไมไดหมายความวาจะใชไดกับแมลงทุกชนิด เชน แมลงปกแข็ง พวกดวงเตาแดง จะใชไมคอยไดผล

แตน้ําสกัดจากเมล็ดนอยหนาจะใชไดผลดีกับแมลงปกแข็งดังกลาว

ยังมีพืชสมุนไพรอีกมากมายหลายชนิดที่สามารถใชปองกันและกําจัดแมลงศัตรูพืชได เชน ขมิ้น โลติ๊น

พริกขี้หนู สาบเสือ ยาสูบ ฯลฯ ซึ่งเราสามารถนํามาทดลองใชในการปองกันและกําจัดแมลงศัตรูพืชไดโดยนําไป

ฉีดพนในชวงที่มีหนอนมาก ควรฉีดพนทุก ๆ 3 วัน แตอยางไรก็ตามควรตรวจดูแมลงทุก ๆ เชา ถาพบก็ใหใชมือ

รีบกําจัดกอน เชน กลุมของไขแมลง กลุมของตัวหนอน เปนตน ในการใชสารสกัดสมุนไพรอาจจําเปนตองใช

บอยครั้งในชวงแรก ๆ ของการทําเกษตรธรรมชาติมากขึ้น ก็ไมจําเปนตองใชสารสกัดสมุนไพรในการควบคุม

แมลงศัตรูพืช หรืออาจใชนอยมากก็สามารถปลูกพืชไดผลดีเชนกัน

สารจับใบที่ไดจากน้ําสบู สามารถทําไดโดยใชสบูซันไลท 1 กอน หั่นเปนฝอย ๆ เติมน้ําอุน 1 ลิตร

คนใหละลาย น้ําสบูนี้จะใชเติมในน้ําสมุนไพรไดทุกสูตรซึ่งเปนสารจับใบ เพื่อใหน้ํายาเกาะติดใบและตัวแมลงไดดี

ขึ้น อัตราที่ใชคือ ใชน้ําสบู 3 ชอนแกง ตอน้ําสมุนไพรที่ผสมแลว 20 ลิตร

Page 20: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

20

2. การใชสารสกัดสมุนไพรปองกันและกําจัดโรคพืช เชน การใชวานหางจระเข กระเทียม อยางละ

200 กรัม บดแลวกรองเอากากออก เติมน้ําใหครบ 20 ลิตร เติมน้ําสมสายชู 100 มิลลิลิตร และเติมน้ําสบู

ดังกลาวมาแลวดวย ใชฉีดพนทุก ๆ 7 วัน เพื่อปองกันโรคราแปงของพืชตระกูลแตงได จากผลการทดลองพบวา

กระเทียมมีผลตอการปองกันโรคราแปงบนใบแคนตาลูปไดมาก และวานหางจระเขมีผลตอการปองกันโรคนี้ได

ปานกลาง (T. Sittirungsun and H. Horita, 1999)

3. การนําวัสดุเหลือใชมาใชในการปองกันและกําจัดแมลงศัตรูพืช เชน เปลือกไขนํามาหอดวยกระดาษ

หนังสือพิมพแลวเผา และนํามาทุบใหพอละเอียด นําไปโรยรอบ ๆ ตนพืช ชวยปองกันหนอนกระทูได เปนตน

4. การใชกับดักกาวเหนียวสีเหลือง จากผลการทดลองพบวา การใชกับดักกาวเหนียวสีเหลืองในการ

ปองกันและกําจัดแมลงศัตรูพืช จะชวยลดแมลงศัตรูพืชไดมากในระยะแรกของการทําเกษตรธรรมชาติ เพราะ

ในชวงนั้นมีแมลงศัตรูธรรมชาติ หรือตัวห้ําตัวเบียนอยูนอย แตถาทําเกษตรธรรมชาติไประยะหนึ่ง และมีแมลง

ศัตรูธรรมชาติมากพอ ก็ไมมีความจําเปนในการใชกับดักกาวเหนียวอีก ก็สามารถปลูกพืชไดผลดี นอกจากนี้กับ

ดักกาวเหนียวยังเหมาะสําหรับการปลูกพืชผักกางมุง หรือปลูกใน Green House รวมทั้งแปลงเกษตรทั่วไปที่

เกษตรกรตองการลดการใชสารเคมีอีกดวย (T. Sekine and T.Sittirungsun, 2000)

ในปจจุบันมีเกษตรชาวสวนผลไมนําเอากาวเหนียวสีเหลืองนี้ ไปทารอบโคนตนผลไมเพื่อปองกันมด

ซึ่งจะมีผลตอการปองกันพวกเพลี้ยตาง ๆ ไดผลดี เชน เกษตรกรชาวสวนทุเรียนแถบภาคตะวันออก เปนตน

ขอเสนอแนะในการปองกันและกําจัดโรคและแมลงศัตรูพืช

ในการทําเกษตรธรรมชาติในระยะแรก ๆ หรือระยะเพิ่งปรับเปลี่ยนมาทําเกษตรธรรมชาตินั้น

เกษตรกรอาจประสบปญหาโรคและแมลงศัตรูพืช เกษตรกรควรแกปญหานี้โดยวิธีการปองกันและกําจัดวิธีตาง ๆ

ผสมผสานกันไป โดยหลีกเลี่ยงการใชสารเคมีดังที่ไดกลาวมาแลว และเมื่อทําเกษตรธรรมชาติไปสักระยะหนึ่ง

ดินจะดีขึ้น การเจริญเติบโตของตนพืชก็จะดีขึ้น ทําใหตนพืชแข็งแรง และนอกจากนี้ยังมีแมลงศัตรูธรรมชาติมาก

ขึ้น แมลงศัตรูธรรมชาติเหลานี้ก็จะชวยควบคุมแมลงศัตรูพืชใหโดยธรรมชาต ิ

แนวทางการปรับเปลี่ยนมาสูเกษตรธรรมชาติ

การปรับเปลี่ยนมาสูเกษตรธรรมชาติ เกษตรกรอาจทดลองเลือกพื้นบางสวนทําเกษตรธรรมชาติ โดย

เลิกใชปุยเคมีและสารเคมีในพื้นที่เล็ก ๆ กอน และเมื่อไดเรียนรูและทําไดดีแลวก็คอย ๆ ขยายพื้นที่ออกไป หรือ

อีกแนวทางหนึ่งคือ ทําการลดการใชปุยเคมีและสารเคมีในพื้นที่ทั้งหมดโดยคอย ๆ ลดทีละนอย และในที่สุดก็

สามารถทําเกษตรธรรมชาติในพื้นที่ทั้งหมดไดอยางเต็มรูปแบบ

เราไดอะไรจากการทําเกษตรธรรมชาติ

ถาเราทําเกษตรธรรมชาติ เราไดรายไดเปนตัวเงินจากการขายผลผลิต และไดรายไดที่ไมใชตัวเงิน แต

เปนรายไดในรูปตาง ๆ เชน อาหารที่ปลอดภัยสําหรับครอบครัว เกษตรกรผูผลิตและผูบริโภคมีคุณภาพชีวิตที่ดี

มีสุขภาพดีไมเจ็บปวย ไมตองเสียเงินคารักษาพยาบาล ในดานสิ่งแวดลอม วิธีการเกษตรธรรมชาติจะชวยรักษา

สิ่งแวดลอม และชวยอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติไวใหอยูชั่วลูกชั่วหลาน รัฐบาลไมตองเสียคาใชจายในการแกไข

ปญหามลพิษตาง ๆ เกษตรธรรมชาติเปนรูปแบบหนึ่งที่สอดคลองกับแนวทางการดําเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจ

Page 21: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

21

พอเพียงตามแนวพระราชดําริคือ การอุมชูตนเองได พออยูพอกิน ผลิตของกินเอง ใหใชสิ่งที่ผลิต ที่ปลูก เกื้อกูล

กัน มีเหลือแบงปน มีความพอเพียงกับตนเองกับครอบครัวและชุมชน

เทคนิคการผลิตผัก

ในการเพาะปลูกพืชผักตาง ๆ ใหไดผลผลิตดีและมีคุณภาพดีนั้น นอกจากหลักเกษตรธรรมชาติที่กลาว

มาแลว เราจําเปนตองเรียนรูลักษณะและความตองการของพืชชนิดนั้น ๆ ดวย ซึ่งจะไมขอกลาวไวในที่นี้ แตจะ

อานไดจากหนังสือเกี่ยวกับผัก ไมดอก ไมผลแตละชนิด ซึ่งจะชวยใหการเพาะปลูกพืชผักไดประสบความสําเร็จ

มากยิ่งขึ้น

วิธีการปลูกผักสวนครัว

1. การปลูกผักในแปลงปลูก มีขั้นตอน คือ

1.1 การพรวนดิน ใชจอบขุดดินลึกประมาณ 6 นิ้ว เพื่อพรวนดินใหมีโครงสรางดีขึ้น กําจัดวัชพืชในดิน

กําจัดไขแมลงหรือโรคพืชที่อยูในดิน โดยการพรวนดินและตากท้ิงไวประมาณ 7-15 วัน

1.2 การยกแปลง ใชจอบพรวนยกแปลงสูงประมาณ 4-5 นิ้ว จากผิวดิน โดยมีความกวางประมาณ

1-1.20 เมตร สวนความยาวควรเปนตามลักษณะของพื้นที่หรืออาจแบงเปนแปลงยอยๆ ตามความเหมาะสม

ความยาวของแปลงนั้นควรอยูในแนวทิศเหนือ - ใต ทั้งนี้เพ่ือใหผักไดรับแสงแดดทั่วทั้งแปลง

1.3 การปรับปรุงเนื้อดินเนื้อดินที่ปลูกผักควรเปนดินรวนแตสภาพ ดินเดิมนั้นอาจจะเปนดิน ทรายหรือ

ดินเหนียว จําเปนตองปรับปรุงใหเนื้อดินดีขึ้นโดยการใสปุยหมักหรือปุยคอก อัตราประมาณ 2-3 กิโลกรัม

ตอเนื้อที่ 1 ตารางเมตร คลุกเคลาใหเขากัน

1.4 การกําหนดหลุมปลูกจะกําหนดภายหลังจากเลือกชนิด ผักตางๆ แลวเพราะวาผักแตละชนิดจะใช

ระยะปลูกที่ตางกัน เชน พริก ควรใชระยะ 75*100 เซนติเมตร ผักบุงจะเปน 5*5 เซนติเมตร เปนตน

2. การปลูกผักในภาชนะ

การปลูกผักในภาชนะควรจะ พิจารณาถึงการหยั่งรากของพืชผักชนิดนั้นๆ พืชผักที่หยั่งรากตื้นสามารถ

ปลูกไดดีในภาชนะปลูกชนิดตางๆ และภาชนะชนิดหอยแขวนที่มีความลึก ไมเกิน 10 เซนติเมตร คือ ผักบุงจีน

คะนาจีน ผักกาดกวางตุง (เขียวและขาว) ผักกาดฮองเต ผักกาดหอม ผักกาดขาวชนิดไมหอ (ขาวเล็ก ขาวใหญ)

ตั้งโอ ปวยเลง หอมแบง (ตนหอม) ผักชี ขึ้นฉาย ผักโขมจีน กระเทียมใบ (Leek) กุยชาย กระเทียมหัว ผักชีฝรั่ง

บัวบก สะระแหน แมงลัก โหระพา (เพาะเมล็ด) กะเพรา (เพาะเมล็ด) พริกขี้หนู ตะไคร ชะพลู หอมแดง

หอมหัวใหญ หัวผักกาดแดง (แรดิช) วัสดุที่สามารถนํามาทําเปนภาชนะปลูกอาจดัดแปลงจากสิ่งที่ใชแลว เชน

ยางรถยนตเกา กะละมัง ปลอกซีเมนต เปนตน สําหรับภาชนะแขวนอาจใช กาบมะพราว กระถาง หรือเปลือกไม

วิธีการปลูกผักในภาชนะแยงออกไดเปน 2 วิธี

2.1 เพาะเมล็ดดวยการหวานแลวถอนแยกหรือหยอดเปนแถวแลวถอนแยก ซึ่งพืชที่ควรปลูก

ดวยวิธีนี้ ไดแก

- ผักบุงจีน , คะนาจีน , ผักกาดขาวกวางตุง , ผักกาดเขียวกวางตุง , ผักฮองเต(กวางตุงไตหวัน) , ตั้งโอ ,

ปวยเลง , ผักกาดหอม , ผักโขมจีน , ผักชี , ขึ้นฉาย , โหระพา , กระเทียมใบ , กุยชาย, หัวผักกาดแดง ,

กระเพรา , แมงลัก , ผักชีฝรั่ง , หอมหัวใหญ

Page 22: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

22

2.2 ปกชําดวยตน และหัว ไดแก

- หอมแบง (หัว) , ผักชีฝรั่ง , กระเทียมหัว (ใชหัวปลูก) , หอมแดง (หัว) , บัวบก (ไหล) , ตะไคร (ตน) ,

สะระแหน (ยอด) , ชะพลู (ตน) , โหระพา (กิ่งออน) , แมงลัก (กิ่งก่ึงแกกึ่งออน)

หมายเหตุ มีบางพืชที่ปลูกดวยหัว หรือสวนของตนก็ไดปลูกดวยเมล็ดก็ได ดังนั้นจึงมีชื่อผักที่ซ้ํากันทั้งขอ1และ 2

การปฏิบัติดูแลรักษา

การดูแลรักษาดวยความเอาใจใส จะชวยใหผักเจริญเติบโตอยางสมบูรณจนถึงระยะเก็บเกี่ยว การดูแล

รักษาดังกลาว ไดแก

1. การใหน้ํา การปลูกผักจําเปนตองใหน้ําเพียงพอ การใหน้ําผักควรรดน้ําในชวง เชา-เย็น ไมควรรด

ตอนแดดจัด และรดน้ําแตพอชุมอยาใหโชก

2. การใหปุย มี 2 ระยะคือ

2.1 ใสรองพ้ืนคือการใสเมื่อเวลาเตรียมดิน หรือรองกนหลุมกอนปลูก ปุยทีใ่สควรเปนปุยคอก

หรือปุยหมัก คลุกในดินใหทั่วกอนปลูกเพ่ือปรับโครงสรางดินใหโปรงรวนซุย นอกจากนั้นยังชวยในการอุมน้ําและ

รักษาความชื้นของดินใหเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืชดวย

2.2 การใสปุยบํารุง ควรใสปุยวิทยาศาสตร โดยแบงใส 2 ครั้ง ครั้งแรกเม่ือยายกลาไปปลูกจน

กลาตั้งตัวไดแลว และใสครั้งที่ 2 หลังจากใสครั้งแรกประมาณ 2-3 สัปดาห การใสใหโรยบางๆ ระหวางแถว

ระวังอยาใหปุยอยูชิดตน เพราะจะทําใหผักตายได เมื่อใสปุยแลวใหพรวนดินและรดน้ําทันที สูตรปุยที่ใชกับ

พืชผัก ไดแก ยูเรีย หรือ แอมโมเนียซัลเฟต สําหรับบํารุงตนและใบ และปุยสูตร 15-15-15 และ 12-24-12

สําหรับเรงการออกดอกและผล

3. การปองกันกําจัดศัตรูพืช ควรบํารุงรักษาตนพืชใหแข็งแรงโดยการกําจัดวัชพืช ใหน้ําอยางเพียงพอ

และใสปุยตามจํานวนที่กําหนดเพื่อใหผักเจริญเติบโต แข็งแรง ทนตอโรคและแมลง หากมีโรคและแมลงระบาด

มากควรใชสารธรรมชาติ หรือใชวิธีกลตางๆ ในการปองกันกําจัด เชน หนอนตางๆ ใชมือจับออก ใชพริกไทยปน

ผสมน้ําฉีดพน ใชน้ําคั้นจากใบหรือเมล็ดสะเดา ถาเปนพวกเพลี้ย เชน เพลี้ยออน เพลี้ยแปง เพลี้ยหอย และเพลี้ย

จั๊กจั่น ใหใชน้ํายาลางจาน 15 ซีซี ผสมน้ํา 20 ลิตร ฉีดพนใตใบเวลาเย็น ถาเปนพวกมด หอย และทาก ใหใช

ปูนขาวโรยบางๆ ลงบริเวณพ้ืนดิน

การเก็บเกี่ยว

การเก็บเกี่ยวผักควรเก็บในเวลาเชาจะทําใหไดผักสดรสดี และหากยังไมไดใชใหลางใหสะอาด และนํา

เก็บไวในตูเย็น สําหรับผักประเภทผลควรเก็บในขณะที่ผลไมแกจัด จะไดผลที่มีรสดีและจะทําใหผลดก หาก

ปลอยใหผลแกคาตน ตอไปจะออกผลนอยลง

สําหรับในผักใบหลายชนิด เชนหอมแบง ผักบุงจีน คะนา กะหล่ําปลี การแบงเก็บผักที่สดออนหรือโตได

ขนาดแลว โดยยังคงเหลือลําตนและรากไวไมถอนออกทั้งตน รากหรือตนที่เหลืออยูจะสามารถงอกงามใหผลได

อีกหลายครั้ง ทั้งนี้จะตองมีการดูแลรักษาใหน้ําและปุยอยู การปลูกพืชหมุนเวียนสลับชนิดหรือปลูกผักหลายชนิด

ในแปลงเดียวกัน และปลูกผักที่มีอายุการเก็บเกี่ยวสั้นบางยาวบางคละกันในแปลงเดียวกัน หรือปลูกผักชนิด

Page 23: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

23

เดียวกันแตทยอยปลูกครั้งละ 3-5 ตน หรือประมาณวาพอรับประทานไดในครอบครัวในแตละครั้งที่เก็บเกี่ยว

ก็จะทําใหผูปลูกมีผักสดเก็บรับประทานไดทุกวันตลอดป

เทคนิคการปลูกพืชสวนครัวชนิดตางๆ

การปลูกผักแตละชนิดนั้น ผูปลูกจําเปนตองเขาใจถึงลักษณะ การเจริญเติบโตของผักชนิดตางๆ กอน

เพื่อใหการปลูก และการดูแลรักษา พืชผักใหเหมาะสม กับชนิดของผัก เทคนิคการปลูกผักสวนครัว จึงควรทราบ

ดังนี้

1. ตระกูลแตงและตระกูลถั่ว ไดแก แตงกวา แตงโม แตงโม ฟกทอง บวบ น้ําเตา มะระ ถั่วฝกยาว ถั่ว

แขก และถั่วอื่น ๆ

- ผักตาง ๆ เหลานี้มีเมล็ดคอนขางใหญ งอกเร็ว เชนผักประเภทเลื้อยถาจะปลูกใหไดผลดีและดูแลรักษา

งายควรทําคาง

- วิธีการปลูก หยอดเมล็ดโดยหยอดในแปลงปลูก หรือภาชนะปลูกหลุมละ 3 – 5 เมล็ด

- เมื่อเมล็ดงอกมีใบจริง 3 – 5 ใบ หลังจากนั้นถอนแยกใหเหลือเฉพาะตนที่แข็งแรง หลุมละ 2 ตน

- ใสปุยยูเรียหลังเมล็ดงอก 2 อาทิตย เมื่อเริ่มออกดอกใชปุยสูตร 15-15-15 หรือ 12-24-12

- ใหนําสม่ําเสมอ คอยดูแลกําจัดวัชพืช และแมลงตาง ๆ

- เริ่มเก็บเก่ียวไดเม่ืออายุประมาณ 40 – 60 วัน หลังหยอดเมล็ด

2. ตระกูลกะหล่ําและผักกาด ไดแก คะนา กวางตุง ผักกาดขาว ผักกาดหัว กะหล่ําดอก กะหล่ําปลี

และบรอกโคลี

- ผักตระกูลนี้มีเมล็ดคอนขางเล็ก บางชนิดมีราคาแพงมาก เพราะสวนใหญตองสั่งเมล็ดมาจาก

ตางประเทศ

- วิธีปลูก หยอดเมล็ดเปนหลุม ๆ ละ 3-5 เมล็ด หางกันหลุมละ 20 เซนติเมตร หรือโรยเมล็ดบาง ๆ

เปนแถวหางกันแถวละ 20 เซนติเมตร หลังหยอดเมล็ดหรือโรยเมล็ด 10 วัน หรือเมื่อมีใบจริง 2-3 ใบ ถอน

แยกใหเหลือหลุมละ 2 ตัน หรือหากโรยเมล็ดเปนแถวใหถอนอีก ระวังระยะตนไมใหชิดกันเกินไป

- ใสปุยยูเรียหลังจากถอนแยกหรือทําระยะปลูกแลว

- หลังใสปุยครั้งแรก 10 วัน ใสปุยยูเรียครั้งที่สอง

- อายุเก็บเกี่ยวผักแตละชนิดแตกตางกันเล็กนอย เชน คะนา กวางตุงเก็บเกี่ยวไดเมื่ออายุ 30-45 วัน

ผักกาดหัว 45-55 วัน ผักกาดขาวปลี เขียวปลี กะหล่ําดอก กะหล่ําปลี อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 50-60 วัน หลัง

หยอดเมล็ด

- เมื่อเก็บเก่ียวไมควรถอนผักทั้งตนเก็บผักใหเหลือใบทิ้งไวกับตน 2-3 ใบ ตนและใบที่เหลือจะสามารถ

เจริญเติบโตใหผลผลิตเก็บเก่ียวไดอีก 2-3 ครั้ง

- ขอควรระยัง ตองใหน้ําสม่ําเสมอ ผักตระกูลนี้มักมีปญหาโรคและแมลงคอนขางมาก ตองคอยดูแลเอา

ใจใสใกลชิด

3. ตระกูลพริก-มะเขือ ไดแก พริกข้ีหนู พริกชี้ฟา มะเขือเปราะ มะเขือยาว มะเขือพวง มะเขือเทศ

- ผักตระกูลนี้ควรมีการเพาะกลากอนยายปลูกในแปลง

- การเพาะกลา เตรียมดินในกะบะเพราะหรือในถุงพลาสติก

Page 24: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

24

- หยอดเมล็ดในถุงเพาะ ถุงละ 3 – 5 เมล็ด ถาเพาะในกะบะเพาะ ควรเวนระยะระหวางตน

5 เซนติเมตร ระหวางแถว 10 เซนติเมตร

- เมื่อเมล็ดงอกแลวมีใบจริง 2-3 ใบ ถอนแยกเหลือตนกลาแข็งแรงสมบูรณไว 2 ตน

- เมื่อกลามีใบจริง 5-6 ใบ หรือหลังเพาะกลาประมาณ 30 วัน ยายกลาลงแปลงปลูก

- เมื่อตนกลาตั้งตัวได หรือเริ่มเจริญเติบโต ใสปุยยูเรีย 1 ครั้ง

- เมื่อตนเริ่มออกดอกใชปุย 15-15-15 หรือ 12-24-12

- อายุเก็บเกี่ยว มะเขือเทศประมาณ 50-60 วัน หลังยายกลา และพริก มะเขือ ประมาณ 60-75 วัน

หลังยายกลา

4. ตระกูลผักชีและตระกูลผักบุง ไดแก ผักชี ขึ้นฉาย ผักบุง

- ควรนําเมล็ดแชน้ํากอนปลูก ถาเมล็ดลอยใหทิ้งไปและนําเมล็ดที่จมน้ํามาเพาะ

- หวานเมล็ดในแปลง โดยจัดแถวใหระยะหางกัน 15-20 เวนติเมตร กลบดินทับบาง ๆ ประมาณ

1 เซนติเมตร สําหรับขึ้นฉาย

- ผักบุงจะงอกใน 3 วัน ผักชีประมาณ 4-8 วัน และขึ้นฉาย 4-7 วัน

- เมื่อกลางอกมีใบจริง ถอนแยกและพรวนดินใหโปรงเสมอจนเก็บเกี่ยว

- ผักบุงจีนเก็บเกี่ยวไดภายใน 15-20 วัน ผักชี 45-60 วัน และขึ้นฉาย 60-70 วัน

- สําหรับผักชีและขึ้นฉาย ไมชอบแสงแดดจัด อาจปลูกในที่ ๆ มีรมเงาได แตสําหรับผักบุงจีน ตองการ

แสงแดดตลอดวัน

5. ตระกูลโหระพา กะเพรา แมงลัก และตระกูลผักชีฝรั่ง ไดแก โหระพา กะเพรา แมงลักและผักชีฝรั่ง

- เตรียมดินใหละเอียด หวานเมล็ดใหทั่วแปลง ใชฟางกลบ หรือ ปุยคอกที่ยอยสลายดี แลวโรยทับบาง

ๆ รดน้ําตามทันทีดวยบัวรดน้ําตาถี ่

- เมล็ดจะงอกเปนตนกลาภายใน 7 วัน

- เมื่อกลาอายุ 1 เดือน ถอนแยกจัดระยะตนใหโปรง หรือใชระยะระหวางตน ประมาณ 20-30

เซนติเมตร

- โหระพา กะเพรา แมงลัก เก็บเกี่ยวไดหลังหยอดเมล็ด 45-50 วัน ผักชีฝรั่ง เก็บเกี่ยวไดหลังหยอด

เมล็ด 60 วัน

- สําหรับโหระพา กะเพรา และแมงลัก ในระหวางการเจริญเติบโตใหหมั่นเด็ดดอกทิ้งเพื่อใหลําตนและ

ใบเจริญเติบโตไดเต็มที ่

- ผักชีฝรั่ง ตัดใบไปรับประทาน เหลือลําตนทิ้งไวจะสามารถเจริญเติบโตไดอีก

Page 25: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

25

การผลิตสารชีวภาพในการเพิ่มผลผลิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

1.การผลิตปุยน้ําหมักชีวภาพ

คือสารสกัดที่ไดจากการหมัก ยอดพืช วัชพืช ผัก ผลไม และ EM โดยมีสวนประกอบของกรดอินทรีย

(Organic Acids)สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพแรธาตุและสารที่มีประโยชน ซึ่งมีตนทุนในการผลิตต่ํา

สวนผสม

1. ยอดพืชเก็บในตอนเชาตรูจะอุดมดวยธาตุอาหาร เชน ยอดพรอมเมล็ดของสะเดา ยอดขี้เหล็ก ยอดพริก

ใบสะระแหน กระถิน ไมยราบยักษ หญา ยอดผักตางๆ รวมทั้งผลไม เชน ชมพู สมที่ติดผลมากเกินไป

เปนตน ปริมาณ 1 ถัง หรือถัง 15 ลิตร

2. น้ําสะอาด 15 ลิตร หรือพอทวมพืชผัก

3. EM ½ ลิตร (500 ซีซ)ี

4. กากน้ําตาล ½ ลิตร (500 ซีซ)ี

5. ถุงพลาสติกดํา 1 ถุง

*หากไมมีกากน้ําตาลใหใชน้ําตาลทรายแดงแทนปริมาณ 2 กก. ผสมน้ําขนๆ

วิธีทํา

1. สับพืช ผัก ผลไม ใหเปนชิ้นเล็กๆ ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร

2. นําพืช ผัก ผลไม สับลงในถังพลาสติก หรือ โอง

3. ผสม EM และกากน้ําตาลลงในน้ําสะอาดที่เตรียมไว และเทสวนผสมลงในถังหรือโอง

4. ปดถังหรือโองดวยพลาสติกดํา เอาเชือกหรือยางรัดมัดไว

5. ปดฝาและวางของหนักๆ ทับไว อยาใหอากาศเขา

6. เก็บไวในอุณหภูมิปกติ ไมใหถูกแสงแดด หมักไว 5-7 วัน

7. 2-3 วัน เขยาถังเบาๆ เพื่อระบายแกสในถัง

8. ใชผักผากรองน้ําสกัดใสขวดพลาสติก

9. เก็บไวได 3 เดือน ขึ้นไป

วิธีใช

1. ใชอัตราสวน 1;1,000 กับน้ํา (หรือ 1 ชอนโตะกับน้ํา 1 ลิตร) ฉีด พน รด ราด พืชในตอนเชาหรือ

หลังฝนตกไดทุกวัน

2. ใชรดบนดิน บัวรดน้ํา สปริงเกอร หรือระบบใหน้ําอัตโนมัติ ก็ได

3. ใชรด พืช ผัก ลงบนเมล็ดที่กําลังงอก จะตานทานโรคไดดี ใชรวมกับ EM 5 (สุโตจู) จะเห็นผลเร็วยิ่งขึ้น

Page 26: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

26

2.การผลิตฮอรโมนธรรมชาติ

สวนผสม

1. มะละกอ 2 กิโลกรัม

2. ฟกทองแกจัด 2 กิโลกรัม

3. กลวยน้ําวาสุก 2 กิโลกรัม

4. EM 250 ซีซี หรือ 1 แกว หรือ 25 ชอนโตะ

5. กากน้ําตาล 250 ซีซี หรือ 1 แกว หรือ 25 ชอนโตะ

6. น้ําสะอาด 10 ลิตร

วิธีทํา

1. หั่นมะละกอ ฟกทอง กลวยทั้งเปลือกและเมล็ดเขาดวยกัน ใสในถังพลาสติกหรือภาชนะดินเคลือบผสม EM

กากน้ําตาล ลงในภาชนะ ใสน้ําใหทวมผลไม คลุกใหเขากัน ปดผา หมักไว 7- 10 วัน

2. เมื่อปดฝาออก สวนที่เปนไขมันเหลืองดานบน นําไปใชทากิ่งตอน กิ่งปกชํา ชวยเรงรากดีมาก

3. กรองน้ําหรือรินใสขวดพลาสติกไวใช เก็บไวนาน 3 เดือน

วิธีใช

1. นําฮอรโมน 4-5 ชอนโตะ ผสมน้ํา 10 ลิตร ฉีด พน รด ราด ไมผลชวงติดดอก กอนดอกบาน ทําใหติดผลดี

หรือฉีดเรงการออกดอก บํารุงราก เดือนละครั้ง

2. ใชกับพืชผักสวนครัว สัปดาหละครั้งสลับกับจุลินทรียน้ํา

3. นํากากที่เหลือ(ในถัง หรือ ภาชนะท่ีใชหมัก) ไปใสตนไมบํารุงดินหรือทิ้งไวใหแหงทําจุลินทรียแหงไดอีก

3.การผลิตสารใสแมลงธรรมชาติ

สวนผสม

1. เหลาขาวไมเกิน 40 ดีกรี 2 สวน หรือ 2 แกว (แกวละ 250 ซีซ)ี

2. น้ําสมสายชู 5 % 1 สวน หรือ 1 แกว

3. EM 1 สวน หรือ 1 แกว

4. กากน้ําตาล 1 สวน หรือ 1 แกว

5. น้ําสะอาด 10 ลิตร

วิธีทํา

1. นํากากน้ําตาลผสมน้ําเขยาใหเขากันใสเหลาขาวและน้ําสมสายชู

2. ใส EM คนใหเขากัน

3. ปดฝาภาชนะใหสนิท หมักไว 7-10 วัน

4. เขยาภาชนะทุกวัน เพื่อไมใหเกิดการนอนกน เปดฝาระบายกาซหลังจากเขยา ครบกําหนดนําไปใชเพื่อขับ

ไลแมลง ปองกันโรคพืชบางชนิด เชน ใบหงิก ใบดาง เพลี้ยแปง หนอนชอนใบ

Page 27: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

27

วิธีใช

1. ใช 10-50 ซีซี (1-5 ชอนโตะ) ผสมน้ําสะอาด 5-10 ลิตร

2. ฉีดพน ใหชุม และท่ัวถึง นอกและในทรงพุม

3. ใชกับพืช ผัก ทุก 3 วัน สลับกับการพนจุลินทรียน้ํา

4. พืชไร พืชสวน ทุก 3-7 วัน สลับกับการพนจุลินทรียน้ํา

5. ผสมกากน้ําตาล หรือ นมสด เปนสารจับใบ

3.1 การทําสารไลศัตรูพืชสูตรเขมขน (ซุปเปอรสุโตจู)

สวนผสม

1. เหลาขาวไมเกิน 40 ดีกรี 2 สวน หรือ 2 แกว

2. น้ําสมสายชู 5% 1 สวน หรือ 1 แกว

3. EM 1 สวน หรือ 1 แกว

4. กากน้ําตาล 1 สวน หรือ 1 แกว

วิธีทํา

1. นําสวนผสมทั้งหมดใสในภาชนะเขยา หรือ คนใหเขากันด ี

2. ปดฝาใหสนิท หมักไว 1 วัน

วิธีใช

1. ใชในกรณีที่ผสมสารไลศัตรูพืชธรรมชาติไมทันกาล

2. ใช 5- 10 ชอนโตะผสมน้ํา 10 ลิตร หรือ 1 ถัง ฉีดพนปราบหนอน แมลงศัตรูพืช ที่ปราบไดยาก

เชน หนอนหลอดหอม หนอนชอนใบ เพลี้ยกระโดด เพลี้ยผลไม

3. กรณีมีพื้นที่เพาะปลูกมาก ใช 200-300 ซีซี หรือ 2 แกว ผสมน้ําสะอาด 100-200 ลิตร มากนอย

แลวแตความเหมาะสม

4. ผสมน้ํา 50 เทา กําจัดเหา เห็บ หมัด โรคขี้เรื้อน ในสัตวเลี้ยง ใชราดใหทั่วตัวหมักทิ้งไว 20-30 นาที

แลวลางออกดวยน้ําสะอาด

5. ใชปองกันและแกโรคในสัตวน้ํา เชน กุง ตะพาบน้ํา ปลา

***หมายเหตุ***

1. หมั่นสังเกตชนิดของแมลงที่เปนศัตรูพืช หากการใชสารไล หรือสารปองกันศัตรูพืชไดผลต่ําใหผสม ขาแก

หรือบอระเพ็ด หรือตะไครหอม หรือ ดีปลี อยางใดอยางหนึ่ง หรือ 2 อยางโขลกละเอียดคั้นเอาแตน้ํา หรือ

น้ําแชยาฉุนทิ้งไว 2-3 ชั่วโมงกรองเอาแตน้ําผสมลงในสารไลแมลงที่ทําไวจะชวยไลแมลง มด ปลวก เพลี้ย

ตางๆ กําจัดหนอนท่ีกินพืชผัก

2. พืชใบออนผสมน้ําใหเจือจาง พืชใบแข็งผสมน้ํานอยลงได

3. ใชรวมกับฮอรโมนยอดพืชได

Page 28: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

28

เอกสารวิชาการ

กรมสงเสริมการเกษตร : เศรษฐกิจพอเพียงภาคการเกษตร. 2550 .กรมสงเสริมการเกษตร กรมประมง : การเลี้ยงปลาแบบผสมผสาน . 2545 .โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจํากัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ : คูมือประกอบการเรียนรูของเกษตรกรโครงการศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนป 2551 . 2551 .โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย กรมสงเสริมการเกษตร : ทางเลือกการผลิตทางการเกษตรโครงการปรับโครงสรางและระบบการผลิต การเกษตร . 2537 .โรงพิมพสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย สํานักสงเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 จ.เชียงใหม : คูมือวิชาการเกษตร . 2546 .โรงพิมพนันทพันธ สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดํารงชีวิต . 2550 (พิมพครั้งที่ 2) .สํานักงานกปร. ทฤษฎีใหมชีวิตพอเพียง . 2550 (พิมพครั้งที่ 2) สํานักงานกปร. สํานักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุร ี: เทคโนโลยีการเกษตรสุพรรณบุรี . 2537 .สํานักงานเกษตรจังหวัด สุพรรณบุรี สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ : อาหารเชื้อเพลิงและปุยจากวัสดุเหลือใชประเภทอินทรียสาร . 2532 .โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไครอันเนื่องมาจากพระราชดําริ บทคัดยองานวิจัยและพัฒนาศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไครอันเนื่องมาจากพระราชดําริ . 2541 . http :oard 3 kk.dyndns.org http : www2.doae.go.th__

http://www.chaipat.or.th/site_content/34-13/3579-2010-10-08-05-24-39.html

welovethaiking.com/blog/ความหมาย-เศรษฐกิจพอเพียง

http://www.hongkhrai.com/index2.php

Page 29: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

29

ตารางแผนการสอน

เวลา กิจกรรม วิธีการและอุปกรณ

10 นาท ี

20 นาที

30 นาที

1 ชั่วโมง

20 นาท ี

20 นาท ี

20 นาท ี

2 ชั่วโมง

ฉายวีดีทัศนในหลวงรัชกาลที่ 9/ รองเพลงสรรเสริญพระบารมี

เกมสถังพอเพียง

ตรวจบัญชี

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เกมสพอประมาณ(เหยียบกระดาษ)

เกมสมีเหตุผล(ปรุงเกาเหลา)

เกมสมีภูมิคุมกัน(เกมสเศรษฐี)

เกษตรผสมผสานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ศูนยศึกษาการพัฒนา

หวยฮองไคร

โปรเจคเตอร/โนตบุค

ถังน้ํา/กะละมัง

กระดาษฟาง/ปากกา

เคมี

บรรยาย

กระดาษบรูฟ

เกาเหลา

สินคาเบ็ดเตล็ด

บรรยาย

Page 30: ศูนย ส งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ Economy.pdf · 2. แผนการ

30

แผนผังเชื่อมโยงแปลงเศรษฐกิจพอเพียงของศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ

กิจกรรมพืช

ผลพลอยไดจากเศษพืช

กิจกรรมประมง

ปลูกขาวโพด

น้ําจากบอปลา

ปุยจากเศษพืชผัก ทําปุยชีวภาพ(ผัก/ผลไม)

น้ําเสียรดพืชผัก

อาหาร