ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี...

23
เอกสารประกอบการพิจารณา การสรรหาเข้าดารงตาแหน่ง คณบดีคณะครุศาสตร์ ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี

Upload: others

Post on 12-Sep-2019

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

เอกสารประกอบการพิจารณา

การสรรหาเข้าด ารงต าแหน่ง

คณบดีคณะครุศาสตร ์

ของ

รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี

Page 2: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

ค ำน ำ

เอกสารชุดนี้ใช้ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการสรรหาบุคคลเพ่ือแต่งตั้งเป็นคณบดีคณะครุศาสตร์ แบ่งเป็น 2 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 ประวัติและผลงาน ตอนที่ 2 นโยบายและแนวทางพัฒนาคณะครุศาสตร์ในช่วงปี พ.ศ.2560 – 2563 เพ่ือใช้เป็นแนวทางการบริหารงานคณะ รวมทั้งแนวทางในการน าเป้าหมายและแผนพัฒนาคณะไปสู่การปฏิบัติต่อไป

เกตุมณี มากมี

30 มกราคม 2560

Page 3: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

สารบัญ

หน้า

ค าน า ก

1) ประวัติและผลงาน 1 ประวัตกิารศึกษา..................................................................................................... 1 ประวัตกิารศึกษาดูงานและฝึกอบรม ณ ต่างประเทศ............................................... 1 ประวัตกิารรับราชการ.............................................................................................. 1 ผลงานทางวิชาการ …………………………………………………………………………………….. 2 ประสบการณ์พิเศษในการท างาน............................................................................ 7 ความสามารถ ความช านาญการ ความช านาญการพิเศษ ความเชี่ยวชาญ

หรือความเชี่ยวชาญพิเศษ .......................................................................................

8 2) นโยบายและแนวทางพฒันาคณะครุศาสตร์ในช่วงปี 2560 – 2563 9 ข้อ 1 การจัดการศึกษาของคณะครุศาสตรต์้องเป็นไปตามนโยบาย และ/หรือมีสว่นร่วมสนับสนนุ นโยบาย 3 ประการที่สภามหาวิทยาลัยก าหนดให้เปน็ทิศทางในการพัฒนามหาวิทยาลัย..............................................................................................................................

9 นโยบายที่ 1 พัฒนาการจัดการศกึษาของมหาวิทยาลัยให้มีคุณภาพท้ังด้าน

การผลติบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การท านุบ ารงุศิลปะและวัฒนธรรม...

9 1.1.สนบัสนนุการจัดการศกึษาของมหาวิทยาลัยใหม้ีคณุภาพ ทั้งด้านการผลิต

บัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การท านบุ ารงุศิลปะและวัฒนธรรม...

9 นโยบายที่ 2 พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นมหาวิทยาลัยชัน้น าระดับประเทศในการผลิต

และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา...........................................................

10 1.2 การพัฒนาคณะครศุาสตร์ให้เป็นสถาบนัชัน้น าของการผลติคร ู 10 1.3 การพัฒนาคณะครุศาสตร์ให้เป็นสถาบนัชัน้น าในการพัฒนาครแูละ

บุคลากรทางการศึกษา................................................................................

11 นโยบายที่ 3 พัฒนาพ้ืนที่ของมหาวิทยาลัย ทั้ง 4 แห่ง ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสดุใน

การจดัการศึกษา........................................................................................................

12 1.4 การสร้างบรรยากาศการท างานที่สร้างเสรมิสุขภาพกายและจติของ

บุคลากร......................................................................................................

12

1.5 การบริหารจดัการพ้ืนทีใ่นความดแูลของคณะครศุาสตร์ให้เป็นองค์กร แหง่การเรียนรู ้(Learning Organization).............................................

13

Page 4: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

หน้า

ข้อ 2 การบรหิารงานของคณะครศุาสตร์ตอ้งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์มหาวทิยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2559-2563) ฉบบัปรบัปรุง ปี 2559......................

13

ข้อ 3 สร้างความโดดเด่นในการผลิตบัณฑิตในหลักสูตรที่เป็นความเชี่ยวชาญของคณะครุศาสตร์อย่างแท้จริง จนน าไปสู่ความเป็นเลิศและได้รับการยอมรับว่าผลผลิตของหลักสูตรที่โดดเด่นนี้ เป็นเอกลักษณ์ของคณะครุศาสตร์และเป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยอย่างยั่งยืนต่อไป..................................................................................................................................

13 3.1 การผลิตบัณฑิตในหลกัสูตรทีเ่ปน็ความเชี่ยวชาญของคณะครศุาสตร์............. 13 3.2 การเสรมิสร้างเอกลกัษณ์ในหลักสตูรที่เป็นความเชี่ยวชาญของ

คณะครศุาสตร์..................................................................................................

14

ข้อ 4 พัฒนานกัศึกษาให้มคีวามพรอ้มในการเป็นพลเมอืงโลก ให้มคีวามรู้เทา่ทันการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยและสังคมโลก โดยการพัฒนานกัศึกษาจะตอ้งค านึงถึงบริบทต่างๆ………………………………………………………………………………………………………......................

15 ๔.1 สนับสนุนส่งเสริมให้นักศึกษาเกดิทักษะการเรียนรูแ้ละนวตักรรม(Learning

and Innovation)..............................................................................................

16 ๔.2 สนับสนุนส่งเสริมให้นักศึกษาเกดิทักษะดา้นสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี

(Information, Media and Technology Skills)...........................................

17 4.3 สนับสนุนส่งเสริมให้นักศึกษาเกดิทักษะในศตวรรษที่21ดา้นทกัษะชวีิตและ

การท างาน (Life and Career Skills) และสอดคลอ้งกับแนวคดิปรชัญาของ เศรษฐกิจพอเพียง................................................................................................

18

Page 5: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

1

ประวัติและผลงาน 1. ชื่อ รองศาสตราจารย ์ ดร.เกตุมณี นามสกุล มากม ี2. ประวัติการศึกษา

2.1 ระดบัปริญญาตรี ค.บ. (ครุศาสตรบัณฑิต) ภาษาอังกฤษ วิทยาลัยครูเชียงใหม ่ ปีที่จบการศึกษา 2523

2.2 ระดบัปริญญาโท ค.ม. (ครุศาสตรมหาบัณฑิต) การประถมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่จบการศกึษา 2527

2.3 ระดบัปริญญาเอก กศ.ด. (การศกึษาดุษฎีบณัฑิต) พัฒนศกึษาศาสตร ์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวโิรฒ ปีที่จบการศึกษา 2536

3. ประวัติการศึกษาดูงานและฝึกอบรม ณ ต่างประเทศ 3.1 การศึกษาดูงานการจัดการเรียนร่วมระหว่างเด็กที่มีความต้องการพิเศษกับเด็กปกติ

ณ ประเทศ ออสเตรเลีย ในระหว่างวันที่ 5 – 14 พฤษภาคม 2540 3.2 เป็นตัวแทนประเทศไทยในการฝึกอบรมเรื่อง Performance Management and

Instructional Leadership ณ ศูนย์ INNOTECH ประเทศ ฟิลิปปินส์ ในระหว่างวันที่ 16 – 30 มิถุนายน 2540

3.3 เป็นตัวแทนประเทศไทยในการน าเสนอผลการจัดอบรมครูภาษาอังกฤษ ร่วมกับ British Council ณ กรุงไทเป ประเทศ ไต้หวัน ในระหว่างวันที่ 30 สิงหาคม – 4 กันยายน 2543

3.4 เป็นตัวแทนกระทรวงศึกษาธิการในการฝึกอบรมเรื่อง Project Management ณ เมือง Aalborg ประเทศ เดนมาร์ก ในระหว่างวันที่ 23 สิงหาคม – 23 พฤศจิกายน 2547

3.5 การศึกษาดูงานการเรียนรวมในชั้นเรียนรวมในลักษณะ Multigrade ณ ประเทศ นิวซีแลนด์ ในระหว่างวันที่ 9 – 23 ธันวาคม 2549

3.6 เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนอาจารย์ระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่กับมหาวิทยาลัย Linneus ประเทศ สวีเดน ในระหว่างวันที่ 12 ตุลาคม – 6 พฤศจิกายน 2554

3.7 เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนอาจารย์ระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่กับมหาวิทยาลัย Linneus ประเทศ สวีเดน ในระหว่างวันที่ ๑๖ สิงหาคม – ๙ ตุลาคม 255๖

4. ประวัติการรับราชการ (จากเริ่มรับราชการจนถึงปัจจบุนั) 4.1 ครูผู้สอนในระดับประถมศึกษา ตั้งแต ่ 11 ก.ค. 2518 - 9 พ.ค. 2528 4.2 ศึกษานเิทศก ์ระดับอ าเภอ จังหวดั และเขตพ้ืนที่ ตัง้แต่ 10 พ.ค. 2528 -19 ก.พ.2549

Page 6: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

2

4.3 อาจารย์ 3 ระดบั 9 มหาวทิยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (ค าสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ที่ 351/2549 ลงวันที่ 10 ก.พ.2549ต าแหนง่เลขที0่256 ) ตั้งแต่วนัที่ 20 ก.พ.2549 – 11 เม.ย.2553

4.4 รองศาสตราจารย ์สาขาการศึกษาพิเศษ สงักดัภาควิชาการศกึษาพิเศษ คณะครุศาสตร์ วันที ่12 เม.ย 2553 – ปัจจุบัน

4.5 ด ารงต าแหน่งทางบริหาร ในต าแหน่งคณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยีงใหม่ ตั้งแต ่วันที ่๙ มีนาคม 2556 - ปจัจุบัน

5. ผลงานทางวชิาการ มีผลงานทางวิชาการที่ได้จดัท าขึ้น เพื่อใช้ประโยชน์ในการปฏิบตัิงาน

การเรียนการสอน และหรือทางการศึกษาดังนี้ ที ่ ชื่อผลงาน ปีที่ผลิต การน าไปใช ้

1. คู่มือการเรียนรว่มระดบัประถมศึกษาส าหรบัผู้บรหิารโรงเรียน

2537 (สปจ.เชียงใหม่)

ประกอบการอบรม เชิงปฏิบตัิการแก่ผู้บรหิารในโรงเรียนโครงการการเรียนรว่มระหว่างเดก็พิการกบัเด็กปกติ

2. คู่มือการเรียนรว่มระดบัประถมศึกษาส าหรบัครูผู้สอนเด็กที่มคีวามบกพร่องทางสติปัญญา

2537 (สปจ.เชียงใหม่)

ประกอบการอบรม เชิงปฏิบตัิการแก่ครูผู้สอนในโรงเรียนโครงการการเรียนรว่มระหว่างเดก็พิการกบัเด็กปกติ

3. ชุดการเรียนการสอนทกัษะภาษาไทยเพ่ือแก้ไขข้อบกพร่องในการอ่านและการเขียนส าหรบัเดก็ที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา

2537 (สปจ.เชียงใหม่)

ผลิตให้ครูในโครงการเรียนรว่ม จ.เชียงใหม่ใช้ประกอบการจดักิจกรรมการเรียนรู ้

4. ชุดการสอนภาษาอังกฤษชั้นประถมศกึษา ปีที่1

2538 (โรงพิมพ์

ดาราวรรณ)

ผลิตให้ครูผู้สอนวิชาภาษาองักฤษในระดับประถมศกึษา ใช้ประกอบการจดักิจกรรมการเรียนรู ้

5. แนวการจัดกิจกรรมการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษชั้นประถมศกึษาปีที่ 2

2539 (โรงพิมพ์

ดาราวรรณ)

ผลิตให้ครูผู้สอนวิชาภาษาองักฤษในระดับชัน้ป.2 ใช้ประกอบการจดักิจกรรมการเรียนรู ้

6. ชุดการสอนการฟังและการพูด วิชาภาษาอังกฤษ ชั้น ป.5ส าหรบัใช้ร่วมกับห้องปฏบิัติการทางภาษา(sound Lab)

2540 (สปจ.เชียงใหม่)

ผลิตให้ครูผู้สอนวิชาภาษาองักฤษในระดับ ชั้น ป.5 – 6 ใช้ประกอบการจดักิจกรรมการเรียนรู ้

Page 7: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

3

ที ่ ชื่อผลงาน ปีที่ผลิต การน าไปใช ้7. แนวการจัดกิจกรรมการการเรียนการสอน

ภาษาอังกฤษชั้นประถมศกึษาปีที่ 3 2540

(โรงพิมพ์ ดาราวรรณ)

ผลิตให้ครูผู้สอนวิชาภาษาองักฤษในระดับชัน้ ป.3 ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้

8. แนวการจัดกิจกรรมการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษชั้นประถมศกึษาปีที่4

2541 (โรงพิมพ์

ดาราวรรณ)

ผลิตให้ครูผู้สอนวิชาภาษาองักฤษในระดับชัน้ป.4 ใช้ประกอบการ จัดกิจกรรมการเรียนรู ้

9. แนวการสอนภาษาอังกฤษ หลัก 7-8 (อ.013 –อ.014)ส าหรบัชัน้มัธยมปีที่ 2

2541 (สปจ.เชียงใหม่)

ผลิตให้ครูผู้สอนวิชาภาษาองักฤษในระดับชัน้ม.2 ร.ร.ขยายโอกาสใน จ.เชียงใหม ่ ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้

10. คู่มือด าเนนิการฝึกอบรม ครผูู้สอน ภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2541

2541 (สปจ.เชียงใหม่)

ใช้เป็นคูม่ือส าหรับ สปจ.และสถานศึกษาในสงักดั สปช.ใช้อบรมครูผู้สอนภาษาอังกฤษ

11. แนวการจัดกิจกรรมการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษชั้นประถมศกึษาปีที่ 5

2542 (โรงพิมพ์

ดาราวรรณ)

ผลิตให้ครูผู้สอนวิชาภาษาองักฤษในระดับชัน้ป.5 ใช้ประกอบการจดักิจกรรมการเรียนรู ้

12. ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองส าหรับครกูารศึกษาพิเศษ ของ ส านักงานคณะกรรมการการประถมศกึษาแห่งชาติ(หลักสูตร200 ชั่วโมง)เปน็ผู้รว่มเขียนในเลม่เด็กออทิสติค

2542 (โรงพิมพ์กรม

ศาสนา)

เป็นคูม่ือประกอบการฝึกอบรมครูการศกึษาพิเศษ ของ สปช.หลักสูตร200 ชั่วโมง

13. หลักสูตรฝึกอบรมครูการศกึษาพิเศษ ของ ส านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาต(ิเปน็ผู้รว่มเขียน)

2542 (โรงพิมพ์

กรมศาสนา)

เป็นคูม่ือประกอบการฝึกอบรมครูการศกึษาพิเศษ ของ สปช.หลักสูตร 200 ชัว่โมง

15. การเรียนรว่ม : แนวคดิใหม่ในการจดัการศกึษา (เป็นบรรณาธิการ)

2545 (โรงพิมพ์

กรมศาสนา)

เป็นเอกสารให้โรงเรียนในสงักัด และหนว่ยงานที่เกี่ยวข้องไดศ้ึกษา

16. เอกสารการวิจัยในชัน้เรียนวชิาภาษาอังกฤษ

2546 (สปจ.เชียงใหม่)

ประกอบการอบรมเชิงปฏิบตัิการแก่ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ

17. คู่มือการฝึกอบรมครูประจ าชั้นเพ่ือการเรียนรวม(คณะผูแ้ปล เรียบเรียงและบรรณาธิการ)

2547 (โรงพิมพ์

ดาราวรรณ)

เป็นเอกสารให้โรงเรียนในสงักัด และหนว่ยงานที่เกี่ยวข้องใช้ศึกษาค้นคว้า

Page 8: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

4

ที ่ ชื่อผลงาน ปีที่ผลิต การน าไปใช ้18 เอกสารคู่มือผูบ้ริหารและครวูิชาการในการ

จัดการศึกษาส าหรบัเด็กที่มคีวามสามารถพิเศษ

2547 (โรงพิมพ์

ดาราวรรณ)

ใช้เป็นคูม่ือส าหรับสถานศึกษาในสังกัด สพฐ.ใช้จัดการศึกษาส าหรบัเด็กทีม่ีความสามารถพิเศษ

19 หนังสอืเรียนสาระสังคมศึกษา ชั้นประถมศกึษาปีที1่ (ผู้เขียน ใน บทที ่2 และ 5)

2547 (โรงพิมพ์ คุรุสภา)

ใช้ประกอบการเรียนการสอนสาระสังคมศกึษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

20 รายงานการวิจัยเรื่องการพฒันาชุดการสอนภาษาอังกฤษชั้น ป.1 ใน ร.ร.ประถมศึกษาสังกัด สปจ.เชียงใหม ่

2539 (โรงพิมพ์

ดาราวรรณ)

โรงเรียนในสงักดั และหนว่ยงานที่เกี่ยวขอ้งได้ใช้ศึกษาและอ้างอิง

21 รายงานการวิจัย ประสทิธิภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ของโรงเรียนในสังกัด สปจ.เชียงใหม ่

2540 (สปจ.เชียงใหม่)

โรงเรียนในสงักดั และหนว่ยงานที่เกี่ยวขอ้งได้ใช้ศึกษาและอ้างอิง

22 รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุดการเรียนการสอนเพ่ือแก้ไขข้อบกพร่องในการอ่านของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีที1่ ที่มีความบกพร่องทางสติปญัญา(เรียนชา้)ในสังกัด สปจ.เชียงใหม ่

2540 (สปจ.เชียงใหม่)

โรงเรียนในสงักดั และหนว่ยงานที่เกี่ยวขอ้งได้ใช้ศึกษาและอ้างอิง

23 รายงานการวิจัยเรื่องการพฒันาชุดการสอนการฟังและการพูด วิชาภาษาอังกฤษ ชัน้ ป.5 แบบสื่อประสมที่ใชร้่วมกับห้องปฏบิัติการทางภาษา(sound Lab)

2541 (สปจ.เชียงใหม่)

โรงเรียนในสงักดั และหนว่ยงานที่เกี่ยวขอ้งได้ใช้ศึกษาและอ้างอิง

24 รายงานการวิจัย การพัฒนาโรงเรียนทัง้ระบบเพื่อการเรียนร่วม (หัวหน้าคณะท างาน)

2543 (โรงพิมพ์ กรมศาสนา)

รายงานผลการด าเนนิงานอย่างเปน็ระบบแก่ผูเ้กี่ยวข้องทกุระดบั

25 รายงานการวิจัยเรื่องการพฒันาชุดการสอนภาษาอังกฤษชั้น ป. 2 – 4 ใน ร.ร.ประถมศกึษาสังกดั สปจ.เชยีงใหม ่

2546 (โรงพิมพ์

ดาราวรรณ)

โรงเรียนในสงักดั และหนว่ยงานที่เกี่ยวขอ้ง ได้ใชศ้ึกษาและอ้างอิง

26 รายงานการวิจัย การพัฒนาครูผู้สอนภาษาองักฤษในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษดว้ยการวิจัยในชั้นเรียน

2546 (โรงพิมพ์

ดาราวรรณ)

โรงเรียนในสงักดั และหนว่ยงานที่เกี่ยวขอ้งได้ใช้ศึกษาและอ้างอิง

Page 9: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

5

ที ่ ชื่อผลงาน ปีที่ผลิต การน าไปใช ้27 รายงานการวิจัยประเมินกองทุนหมู่บ้าน

เรื่อง “ฤาจะสิน้ยุคเมี่ยงสู่การท่องเที่ยว เชิงอนรุักษ”์

2547 (มศว.

ประสานมติร)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

28 รายงานการวิจัยประเมินกองทุนหมู่บ้านเรื่อง “ พลิกฟื้นหตัถกรรม เพ่ือสืบสาน ทุนชุมชน”

2547 (มศว.

ประสานมติร)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

29 รายงานการวิจัยเรื่องการพฒันาการจดั การศกึษา ส าหรบัเดก็ความต้องการพิเศษ ในโรงเรียนสงักดัส านกังานเขตพ้ืนที่ การศกึษาจังหวดัเชียงใหม่ โดยใช้โรงเรียน เป็นฐาน

2550 (มรภ.เชียงใหม่)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

30 รายงานการวิจัยเรื่องรปูแบบการจดัการศกึษาและการพัฒนาคร ูตามแนวพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุาฯ สยามบรมราชกุมารี : บทเรยีนจากโครงการพระราชทาน ความชว่ยเหลอืทางการศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนพระปริยตัิธรรมแผนกสามัญศกึษาจังหวดันา่น

2550 (มรภ.เชียงใหม่)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

31 เอกสารประกอบการสอน รายวิชา “การปรบัหลักสตูร”

2550 (คณะครุศาสตร์มรภ.เชียงใหม่)

ใช้ประกอบการสอน ในรายวิชา การปรับหลักสตูร ของนักศกึษาหลักสูตร การศกึษาพิเศษและ การฝึกอบรมแกค่รูการศกึษาพิเศษ

32 ต ารา เรือ่ง “การวิจัยทางการศึกษาพิเศษ” 2550 (คณะครุศาสตร์มรภ.เชียงใหม่)

ใช้ประกอบการสอน ในรายวิชา การปรับหลักสตูร ของนักศกึษาหลักสูตร การศกึษาพิเศษ และ การฝึกอบรมแกค่รูการศกึษาพิเศษ

33 รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาส าหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษที่มีปัญหาด้านการอ่านและเขียนภาษาไทย ในโรงเรียนที่จัดการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจ.เชียงใหม่

2553 (มรภ.เชียงใหม่)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

Page 10: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

6

ที ่ ชื่อผลงาน ปีที่ผลิต การน าไปใช ้34 รายงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่าน

และเขียนของนักเรียนที่มคีวามต้องการพิเศษใน โรงเรียนสังกัดเทศบาลนครเชียงใหม ่

2553 (มรภ.เชียงใหม่)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

35 รายงานวิจัยในชัน้เรียนเรือ่ง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ของการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาคุณธรรมและจริยธรรมส าหรับครูการศกึษาพิเศษ(SPE 1103) โดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบตนเตอืนตน

2554 (มรภ.เชียงใหม่)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

36 รายงานวิจัยเรื่องการพัฒนาโรงเรียนทัง้ระบบ เพื่อยกระดับคุณภาพนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปญัญา (ทุนวิจัย สกอ.)

2555 (มรภ.เชียงใหม่)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

37 รายงานวิจัยเรื่องการพัฒนาการจดัการเรียนรูข้องครูเพื่อพัฒนาศกัยภาพนักเรียนที่มีความตอ้งการพิเศษโดยใชแ้หล่งเรียนรู้และภูมปิัญญาท้องถิ่น

2557 (มรภ.เชียงใหม่)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

38 รายงานวิจัยเรื่องการพัฒนาคุณภาพการจดัการศกึษาโดยใช้ภูมิปัญญาทอ้งถิ่นเปน็ฐาน

2557 (มรภ.เชียงใหม่)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

39 รายงานวิจัยเรื่องการพัฒนาการจดัการเรียนรูข้องครูเพื่อพัฒนาศกัยภาพนักเรียนที่มีความตอ้งการพิเศษโดยใชแ้หล่งเรียนรู้และภูมปิัญญาท้องถิ่น

2558 (มรภ.เชียงใหม่)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

40 รายงานวิจัยเรื่องโครงการการพัฒนาครูจังหวัดเชียงใหม่ สู่ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูเพ่ือพัฒนาผู้เรียน(ส านักงานสง่เสริมสงัคมแห่งการเรียนรู้และคุณธรรมเยาวชน(สสค.))

2559 (มรภ.เชียงใหม่)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

Page 11: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

7

ที ่ ชื่อผลงาน ปีที่ผลิต การน าไปใช ้41 รายงานวิจัยเรื่องโครงการน าร่อง “จังหวัด

ประชาคมปฏิรูปการเรียนรู”้ (Empowering Reform Provinces) จังหวดัเชียงใหม่(ทนุวิจัย สกศ.)

2559 (มรภ.เชียงใหม่)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

๔๒ รายงานวิจัยเรื่องการขยายแนวคดิการจัดการเรียนรูต้ามหลักพัฒนาสมอง (Brain-based Learning) ไปสู่บุคลากรสังกัดสถาบนัอุดมศึกษา(ส านักงานบรหิารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)(สบร.)

2559 (มรภ.เชียงใหม่)

หนว่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ใช้ศกึษาและอ้างอิง

6.ประสบการณ์พเิศษในการท างาน 6.1 หัวหน้าฝา่ยวิจัยและประเมนิผล หนว่ยศึกษานิเทศก์ ส านักงานการประถมศกึษาจงัหวดั

เชียงใหม ่6.2 หัวหน้านักวิจัยเชิงปฏิบัตกิารโครงการสร้างสิ่งแวดล้อมศึกษาให้เข้มแข็ง(SEET )จังหวดั

เชียงใหม ่ (โครงการของคณะครศุาสตร์ จุฬาลงกรณม์หาวิทยาลัย) 6.3 ประธานคณะกรรมการด าเนินงาน “โครงการการบูรณาการการอนุรักษ์พลังงานและ

สิ่งแวดล้อมในระดบัมัธยมศกึษาและประถมศึกษา(โครงการรุง่อรุณ)”จังหวดัเชียงใหม่ ของกระทรวงศกึษาธิการ 6.4 ประธานคณะนักวิจัยของจงัหวดัเชียงใหม่ ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ 6.5 กรรมการผู้ทรงคณุวฒุิ การสอนสองภาษา“English Program” ของโรงเรียนพระหฤทัย 6.6 กรรมการผู้ทรงคณุวฒุ ิคณะครุศาสตร ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณร์าชวิทยาลัย วิทยาเขต

วัดสวนดอก จ.เชียงใหม่ 6.7 กรรมการกลั่นกรองประเมนิผลงานการพัฒนาตนเองของครูเพ่ือด ารงต าแหน่งสงูขึน้ของ

ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 6.8 คณะกรรมการในการพัฒนาเอกสารวิชาการเพื่อพัฒนาครูในสาขา การศึกษาพิเศษการวิจัยใน

ชั้นเรียน สาระภาษาตา่งประเทศ(ภาษาอังกฤษ) และสาระสังคมศึกษา ของหนว่ยงานในสังกดักระทรวงศึกษาธิการ

6.9 คณะกรรมการในการสร้างเครื่องมือนิเทศ ติดตาม ประเมินผล และร่วมเปน็คณะกรรมการติดตามผลการปฏิบัตงิานของ ส านกังานเขตพ้ืนทีก่ารศึกษาในสังกดัส านกังานคณะกรรมการการศกึษาขัน้พ้ืนฐาน

6.10 วิทยากรพี่เลี้ยงในการอบรมผู้ประเมินภายนอก ของ ส านักงานรบัรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึษา(องค์การมหาชน) สมศ.

Page 12: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

8

6.11 วิทยากรหลักการอบรมผูบ้รหิารสถานศึกษาที่เข้าสูต่ าแหน่งใหม่ ของส านักผูต้รวจราชการประจ า เขตตรวจราชการที ่ 1

6.12 วิทยากรการอบรมหลักสตูร International Child Friendly School ของ ส านักงานคณะกรรมการการศกึษาขัน้พ้ืนฐาน และ UNICEF แก ่ผู้เข้ารบัการอบรมนานาชาติ

6.13 วิทยากรแกนน าระดับชาติ(National Mentor)โครงการการบูรณาการการอนุรกัษพ์ลังงานและ สิง่แวดล้อมในระดับมธัยมศึกษาและประถมศกึษา(โครงการรุ่งอรุณ)”

6.14 วิทยากรแกนน าการจดัการศึกษาในรปูแบบการเรียนรว่ม ของส านักงานคณะกรรมการ การประถมศกึษาแห่งชาต ิกระทรวงศึกษาธิการ

6.15 วิทยากรแกนน าระดับชาติในการอบรมบุคลากรตามโครงการผู้น าการเปลี่ยนแปลงของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

6.16 หัวหน้าสถานวิจัย คณะครุศาสตร ์(2552 – 2556) 6.17 กรรมการหลักสตูร ระดับปรญิญาเอก สาขา ภาวะผู้น าและการพฒันาทรัพยากรมนษุย์

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภัฏเชียงใหม ่(255๔ – 255๙) 6.18 ประธานหลักสตูร ระดับปรญิญาโท สาขาการบริหารการศึกษา (255๕ – 255๙) 6.19 คณบดคีณะครุศาสตร ์มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ่(๒๕๕๖ – ปัจจุบนั) 7. ความสามารถ ความช านาญการ ความช านาญการพิเศษ ความเชีย่วชาญ หรือความ

เชี่ยวชาญพิเศษ 7.1 ความเชี่ยวชาญในสาขาการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการศึกษาพิเศษ ได้ศึกษา

ค้นคว้า หาความรู้ด้วยตนเอง ตลอดจนได้รับการพัฒนาความรู้ด้านการศึกษาพิเศษอย่างกว้างขวางทั้งจากเอกสารต ารา การฝึกอบรม การศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจนการเป็นวิทยากรระดับชาติ ในเรื่องการศึกษาพิเศษ ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานทั้งในภาครัฐและเอกชนในการเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่คณะผู้บริหารและครูผู้สอน และได้ผลิตเอกสารงานวชิาการและ งานวิจัยในด้านนี้อย่างต่อเนื่อง 7.2. ความเชี่ยวชาญในสาขาการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษากลุ่มประสบการณ์พิเศษ(ภาษาอังกฤษ) จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีในสาขาการสอนภาษาอังกฤษ และปฏิบัติหน้าที่ครูผู้สอนภาษาอังกฤษมาโดยตลอดและเมื่อเปลี่ยนสายงานนิเทศ ได้รับผิดชอบในการนิเทศกลุ่มประสบการณ์พิเศษ(ภาษาอังกฤษ) ได้รับการคัดเลือกให้เป็นวิทยากรแกนน าวิชาภาษาอังกฤษระดับชาติและได้รับการยอมรับจากหน่วยงานทั้งในภาครัฐและเอกชนในการเป็นวิทยากรให้ความรู้ ตลอดจนได้พัฒนาเอกสาร งานวิจัยในด้านนี้แก่คณะครูมาอย่างต่อเนื่อง 7.4. ได้รับยกย่องว่าเป็น บุคลากรดีเด่นสายวิชาการ ประจ าป ี2554 รางวัลพระพิฆเณศร์ทองค า ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ( 14 กุมภาพันธ์ 2554)

Page 13: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

9

7.5 ได้รับรางวัลการน าเสนอผลงานวิจัยด้านการศึกษาดีเด่น จากการประชุม ในงานราชภัฏวิชาการระดบัชาติครัง้ที่ 2 เรื่อง การวิจัยท้องถิ่นเพื่อแผน่ดนิไทย : พัฒนาคุณภาพชวีิตของคนในท้องถิน่ วันที ่14-17 มกราคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 7.6 ได้รับรางวัลการยกยอ่งเชิดชูเกียรติเป็นศิษย์เก่าดีเด่น(ประเภทวิชาการ) ในงานประชมุวิชาการนานาชาต ิ120ป ีการฝึกหดัครูไทย ถวายองคร์าชัน ธ ผู้เป็นครแูห่งแผน่ดนิ ในระหวา่งวันที่ 24 – 28 ธนัวาคม 2555 7.7 ได้รับรางวัลการยกยอ่งเชิดชูเกียรติเป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจ าปี พ.ศ.2558 ของ สภาคณบดคีณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร ์แห่งประเทศไทย

Page 14: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

นโยบายและแนวทางพัฒนาคณะครุศาสตร์ในช่วงปี พ.ศ.2560 -2563 ข้อ 1 การจัดการศึกษาของคณะครุศาสตร์ต้องเป็นไปตามนโยบาย และ/หรอืมีสว่นร่วม

สนับสนุน นโยบาย 3 ประการที่สภามหาวิทยาลัยก าหนดให้เป็นทิศทางในการพัฒนามหาวิทยาลยั คือ

นโยบายที่ 1 พัฒนาการจดัการศกึษาของมหาวิทยาลัยให้มีคุณภาพท้ังด้านการผลิตบัณฑิต การวิจัย การบรกิารวิชาการ การท านุบ ารุงศิลปะและวฒันธรรม

ยุทธศาสตร์ที่ 1.1 สนบัสนุนการจดัการศึกษาของมหาวิทยาลัยให้มคีุณภาพ ทั้งดา้นการผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การท านุบ ารุงศิลปะและวฒันธรรม

กลยุทธ์หลกั กลยุทธ์รอง 1) จั ดระบบการบริหารจัดการหลักสูตรในการผลิตบัณฑิต

1.1)พัฒนาระบบการคัดเลือกและเตรียมความพร้อมของนักศึกษาหลักสูตรสายครุศาสตร์เพ่ือสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน /องค์กรเครือข่าย/ศิษย์เก่าและคณะครุศาสตร์

1.2)พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น

1.3)สนับสนุนในการสร้างเครือข่ายนักวิชาการในพ้ืนที่เขตบริการของคณะครุศาสตร์ ให้มีส่วนร่วมในการผลิตบัณฑิตร่วมกับคณาจารย์ในทุกขั้นตอน ได้แก่ การคัดเลือก การให้ความรู้ การนิเทศ ติดตาม การสรุปประเมินผล เป็นต้น

1.4 สร้างระบบการก ากับติดตาม ประสานงานและดูแล กระบวนการผลิตและพัฒนานักศึกษาให้มีประสิทธิภาพโดยการประสานงานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยเครือข่ายและชุมชนท้องถิ่น

2) สนับสนุนการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนในลักษณะของการบูรณาการระหว่างการเรียนการสอนและ การวิจัย

2.1)สนับสนุนด้านการบริการวิชาการให้แก่ ชุมชนที่เป็นเขตบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย โดยการจัดท าระบบข้อมูล สารสนเทศ ประกอบการพิจารณาให้บริการงานวิชาการอย่างเป็นระบบโดยบูรณาการกับงานการเรียนการสอน และงานวิจัย เพ่ือให้สอดคล้องกับระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ สกอ.

3) ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการท านุบ ารุงศลิปะและวัฒนธรรมของท้องถิ่น

3.1) ส่งเสริมให้คณาจารย์และนักศึกษาบูรณาการความรู้ในด้านการอนุ รั กษ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่ น ตลอดจน จารีต ประเพณี รวมถึ งศิลปวัฒนธรรมในชุมชนเข้าสู่กระบวนการเรียนรู้ในรปูแบบของ โครงงาน หรือการวิจัยของนักศึกษาในแต่ลละหลักสูตร เพ่ือให้เกิดจิตส านึกของความหวงแหนศิลปะและวัฒนธรรมของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน

3.2) สนับสนุนให้คณาจารย์ นักศึกษา บุคลากรทุกฝ่ายให้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจน จารีต ประเพณี รวมถึงศิลปวัฒนธรรม โดยการจัด /เข้าร่วมกิจกรรมของมหาวิทยาลัยและชุมชนอย่างสม่ าเสมอ

Page 15: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

๑๐

นโยบายที่ 2 พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นมหาวิทยาลัยชัน้น าระดับประเทศในการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 1.2 การพัฒนาคณะครุศาสตร์ให้เปน็สถาบนัชั้นน าของการผลิตคร ู กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง

1)การพฒันาครขูองครู(คณาจารย์)ใหม้ีความเข้มแข็งทางวิชาการสายครุศาสตรแ์ละสามารถเป็นต้นแบบ

1.1) ส่งเสริมใหค้ณาจารย์มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่เกี่ยวกับครุศาสตร์(pedagogy)ที่เนน้ผู้เรียนเปน็ส าคญัในลักษณะของ Active Learning โดยการจดัในรูปแบบที่หลากหลายอาทิ การประชมุอบรม การจัดเวทีแลกเปลี่ยน การศึกษาดูงานฯลฯ

1.2) สง่เสรมิให้คณาจารย์พฒันาผลงานวิชาการไดแ้กก่ารจัดท าเอกสารประกอบการสอน/เอกสารค าสอน และต าราในรปูแบบของระบบ “พ่ีสอนน้อง” โดยจดัให้มีองค์กรรับผิดชอบ และประสานความร่วมมือกับผูเ้ชี่ยวชาญภายนอกตลอดจนสนบัสนนุให้ผู้ที่มีต าแหน่งวิชาการเป็นพ่ีเลี้ยง

1.3)ส่งเสริมใหค้ณาจารย์ ได้พัฒนาตนเองในการเพ่ิมการใช้ทักษะการสื่อสารเปน็ภาษาองักฤษในเชิงวิชาการ อาทิเชน่การน าเสนอผลงานทางวิชาการในระดบันานาชาต ิ โดยกระบวนการมีส่วนรว่มจากองคก์รภายในมหาวิทยาลัย และองค์กรเครือข่ายทัง้ในระดบัมหาวิทยาลัย และเอกชน.

1.4)สนบัสนนุให้คณาจารยไ์ด้ศกึษาตอ่ระดับปรญิญาเอกในสาขาวิชาทีข่าดแคลน

2)การพฒันาหลักสตูรการผลติครูที่สอดคล้องกับศักยภาพของบุคลากรในคณะ

2.1) เร่งรัดใหเ้กดิการพัฒนาและปรับปรุงหลักสตูรตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุิระดับอุดมศึกษา(TQF)ทั้งในระดบัปริญญาตรีและบัณฑิตศกึษา

ครุศาสตร ์ 2.2)พัฒนาหลกัสูตรในระดบับัณฑิตศกึษาในสาขา/หลกัสูตรทีม่ีคณาจารย์มีคุณสมบตัิครบถว้น และสอดคล้องกับความต้องการของของสถาบนัผู้ใช้บัณฑิต และสง่เสริมความเปน็เอกลกัษณ์ของมหาวิทยาลยัในสาขานั้นๆ

3)พัฒนาโครงสรา้งที่เอือ้ต่อการผลิตครูในรูปแบบท่ีเน้นการปฏิบัติจริง(Active Learning)

3.1) พัฒนาศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูอย่างเป็นระบบโดยการประสานความร่วมมือภายในมหาวิทยาลัยและองค์กรเครือข่ายภายนอกในลักษณะการมีส่วนร่วมในการพัฒนาวิชาชีพครูของทุกฝ่าย ตลอดจนประสานความเข้าใจในหลักการและจุดมุ่งหมายร่วมกันในการผลิตครูที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

3.2)ส่งเสริมให้สถานวิจัย จัดท าโครงการวิจัยเพ่ือหาแนวทางในกระบวนการผลิตครูที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญอย่างเป็นระบบ

3.3)พัฒนากระบวนการสร้างความเข้มแข็งในด้านการพัฒนาครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูงด้วยการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความศรัทธาในวิชาชีพครู

Page 16: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

๑๑

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง ให้แก่ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้แก่ คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย บุคลากรของสถานศึกษาที่เป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในลักษณะการผสานประโยชน์ซึ่งกันและกัน (win-win situation)

3.4)พัฒนาแหล่งเรียนรู้และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือเสริมสร้างความเข็มแข็งในด้านการแสวงหาความรู้ส าหรับคณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา โดยการพัฒนาฐานข้อมูล แหล่งเรียนรู้ที่สามารถใช้อ้างอิงทางวิชาการ เพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ตลอดจนองค์กรเครือข่ายการพัฒนาครู ในลักษณะการเผยแพร่ในรูปแบบของบทความ งานวิจัยและสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา

3.5)พัฒนาระบบการคัดเลือกนักศึกษา ที่มีคุณลักษณะความเป็นครูที่เหมาะสมจะเข้ามาเรียนโดยการวัดแววความเป็นครูเพ่ือให้ได้นักศึกษาที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการจะพัฒนาต่อให้เป็นครูที่ดี

3.6)พัฒนาความเป็นเลิศในด้านวิชาชีพครู โดยจัดท าหลักสูตร ระยะสั้นที่ส่งเสริมทักษะด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้แก่นักศึกษาในลักษณะการถ่ายทอดประสบการณ์จาก “ครูมืออาชีพ”

3.7)พัฒนาสถานวิจัย ให้เป็นองค์กรที่สนับสนุนคณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษาในการพัฒนางานบนพื้นฐานการวิจัยที่เป็นภารกิจประจ า ตลอดจนสร้างงานวิจัยที่สามารถพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่เป็นเครือข่ายให้เกิดองค์ความรู้ในด้านคุณภาพของการจัดการศึกษาอย่างแท้จริง

3.8)ส่งเสริมองค์กรศิษย์เก่าสาขาครุศาสตร์ให้ มีส่วนร่วมในการผลิตบัณฑิตเพ่ือความเป็นเลิศอย่างแท้จริง ทั้งในด้านการระดมทรัพยากร บุคคล งบประมาณ แหล่งความรู้ฯลฯ

ยุทธศาสตร์ที่ 1.3 การพัฒนาคณะครศุาสตร์ให้เป็นสถาบันชัน้น าในการพัฒนาครแูละบุคลากรทางการศึกษา

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง 1) การพัฒนาโครงสร้างระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นสถาบันชั้นน าในการพัฒ น า ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก รทางการศึกษา

1.1 การสร้ างศูนย์ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึ กษาให้มีประสิทธิภาพจนเป็นที่ยอมรับ นับถือ ศรัทธา จากองค์กรประชาคม ครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยกระบวนการมีส่วนร่วมระหว่างองค์กรภายในมหาวิทยาลัย และหน่วยงานภายนอกได้แก่ สถานศึกษา ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงสถาบันวิชาชีพครู ได้แก่ คุรุสภา ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา(สกสค.) เป็นต้น

Page 17: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

๑๒

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง 1.2 บริหารจัดการพัฒนา ศูนย์พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

อย่างเป็นระบบ โดยจัดให้มีผู้รับผิดชอบและคณะท างาน มีแผนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยจัดให้มีโครงการและกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง มีงบประมาณสนับสนุน มีกลไกควบคุม ก ากับ ดูแล

2) สร้างกลไกเพ่ือสนับสนุนกระบวนการ พัฒนาศูนย์พัฒ น า ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก รทางการศึกษาอย่างยั่งยืน โ ด ย ก า รป ร ะส านค ว า มร่ ว ม มื อ กั บ ส ถ า น ศึ ก ษ า องค์กร/หน่วยงานที่มีหน้าที่ส่งเสริมสนับสนุนการ

2.1 พัฒนาหลักสูตรการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา อย่างเป็นระบบ โดยค านึงถึงความต้องการของผู้รับบริการและท้องถิ่นเป็นหลัก 2.2 จัดท าศูนย์ข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่มีผลการปฏิบัติงานเป็นเลิศ เพื่อจัดท าเป็นแหล่งข้อมูลวิทยากรประจ าศูนย์พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ร่วมกับคณาจารย์ภายในมหาวิทยาลัย ท าหน้าที่ถ่ายทอดประสบการณ์ตลอดจนวิทยาการใหม่ๆให้แก่ นักศึกษาและการบริการวิชาการตามภารกิจของศูนย์พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

ปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทางการศึกษาในระดบัท้องถิ่นและระดับชาต ิ

2.3 สนับสนุนสถานวิจัยของคณะในการสร้างองค์ความรู้ด้านการวิจัยเพ่ือยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยการประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน /องค์กร รวมถึงสถาบันวิชาชีพครูในการด าเนินการวิจัยร่วมกัน

นโยบายที่ 3 พัฒนาพ้ืนที่ของมหาวิทยาลัย ทั้ง 4 แห่ง ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสดุในการจดัการศกึษา ยุทธศาสตร์ที่ 1.4 การสรา้งบรรยากาศการท างานที่สร้างเสริมสุขภาพกายและจิตของบุคลากร

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง 1) บริหารจัดการในลักษณะการท างานเป็นทีม พฒันาสภาพแวดลอ้ม และสร้างบรรยากาศการท างานทีเ่ป็นกัลยาณมติรในลักษณะของสถานท างานทีเ่ป็นสุข

1.1) สร้างบรรยากาศในการท างานโดยค านึงถึงความสขุของเพื่อนร่วมงาน เปดิโอกาสใหส้มาชิกในองค์กรได้มีสว่นร่วมในกระบวนการท างานของขององค์กรตามศักยภาพ ความถนดัและความสนใจของตนเอง และยึดหลักการท างานตามหลกัอปริหานิยธรรม7

(Happy Work Place) 1.2) สง่เสรมิให้บคุลากรในองค์กร มีสขุภาวะที่ดีทัง้กายและใจ จัดให้มีกิจกรรมที่สรา้งเสริมความรู้รัก สามัคคี ตลอดจนจัดสวัสดกิารภายในองค์กร เพือ่ให้บุคลากรในองค์กรมีความรู้สึกเป็น “ครอบครวัเดียวกนั”โดยทีมผู้บริหารตอ้งเปน็แบบอย่างในการประพฤติปฎิบตัตินในทกุๆดา้น ในฐานะผูน้ าองค์กร

1.3) สง่เสรมิให้สาขาวชิาพลศึกษาเปน็ศนูย์กลางในการส่งเสริมสุขภาพและการออกก าลงักายด้านสร้างเครอืข่ายความร่วมมือด้านสขุภาวะ กบัองค์กรเครอืข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน

Page 18: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

๑๓

ยุทธศาสตร์ที่ 1.5 การบริหารจัดการพ้ืนที่ในความดูแลของคณะครุศาสตร์ให้เป็นองค์กรแห่ง การเรยีนรู้ (Learning Organization)

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง 1) การบริหารจัดการองค์กรคณะ ครุศาสตร์โดยยึดหลักธรรมาภิบาลและหลักอปริหานิยธรรม รวมถึงกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

1.1) สร้างบรรยากาศให้เกิดวัฒนธรรมองค์กรที่บุคลากรทุกฝ่าย เกิดจิตส านึกในการท างานร่วมกันอย่างมีความสุข โดยการเรียนรู้ร่วมกัน ตามหลักอปริหานิยธรรม และสนับสนุนให้บุคลากรใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า โดยค านึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก

1.2) สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้(Learning Society)โดยสนับสนุนให้คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษามีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวิทยาการใหม่ๆที่จะเป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคมส่วนรวมอย่างสม่ าเสมอ ในรูปแบบที่เป็นทางการ(Formal) และไม่เป็นทางการ(Informal)

ข้อ 2 การบริหารงานของคณะครุศาสตร์ต้องสอดคลอ้งกับแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยีงใหม่ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2559-2563) ฉบับปรับปรุงปี 2559

การบริหารงานตามยทุธศาสตรข์องมหาวิทยาลยั (รายละเอยีดตามนโยบายขอ้ 1 ข้อ ๔)

ข้อ 3 สร้างความโดดเด่นในการผลิตบัณฑิตในหลักสตูรที่เป็นความเชีย่วชาญของคณะครุศาสตร์อย่างแท้จริง จนน าไปสู่ความเป็นเลิศและได้รับการยอมรับว่าผลผลิตของหลักสตูรที่โดดเด่นน้ี เป็นเอกลักษณ์ของคณะครุศาสตร์และเป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยอย่างยั่งยืนต่อไป

ยุทธศาสตร์ ที่ 3.1 การผลิตบัณฑิตในหลักสูตรที่เป็นความเชี่ยวชาญของคณะครุศาสตร์1

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง 1 ) ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ให้ เ กิ ดกระบวนการผลิตบัณฑิตครุศาสตร์ที่เป็นเอกลักษณ์อย่างมีประสิทธิภาพโดยเน้นการจัดการเรียนการสอน

1.1) จัดให้มีการคัดเลือกสาขาวิชาที่มีความพร้อมและมีศักยภาพในการผลิตบัณฑิต โดยก าหนดเกณฑ์พิจารณาประกอบการตัดสินใจได้แก่ ความพร้อมด้านสถานที่ บุคลากร ตลอดจนเป็นสาขาที่เป็นที่ต้องการของหน่วยงานที่ใช้ครู

ที่สอดคล้องกับศตวรรษที่11 ใน 1.2) ส่งเสริมด้านการพัฒนาทีมงานในด้านการผลิตบัณฑิต

1 เป็นหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ที่มหาวิทยาลัยได้คัดเลือกเพ่ือน าเสนอร ฐบาลในโครงการ Reprofiling ของมหาวิทยาราชภัฏทั่วประเทศในสาขาวิชาต่อไปนี ้ 1. ภาษาจีน 2.ภาษาอังกฤษ 3.วิทยาศาสตร์ทั่วไป 4.ชีววิทยา 5.ภาษาเกาหลี 6.ฟสิิกส์ 7.เคมี 8.คอมพิวเตอร์ และ9.การศึกษาพิเศษ

Page 19: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

๑๔

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง ลักษณะของการจัดกิจกรรมการเรียนที่เน้นผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม(Active Learning)อย่างแท้จริง

ครุศาสตร์ที่เป็นเอกลักษณ์โดยกระบวนการมีส่วนร่วมทั้งในมหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเครือข่ายรวมถึงหน่วยงานหรือองค์กรภายนอกในลักษณะของการวิจัยกระบวนการผลิตบัณฑิตที่เน้นผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม(Active Learning)

1.3)ส่งเสริมให้มีระบบการคัดเลือกนักศึกษาโดยพิจารณาคุณลักษณะความเป็นครู ที่ครอบคลุมทั้งในด้านสติปัญญา คุณธรรม(ความเป็นครู) โดยจัดให้มีแรงจูงใจในลักษณะการมอบทุนการศึกษา

1.4) ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษาในสาขาที่เป็นเอกลักษณ์ เพ่ือสร้างความเข้มแข็งขององค์ความรู้ในสาขาวิชาดังกล่าว

1.5) ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์เพ่ือแสวงหาความร่วมมือ จาก สถานศึกษา สถาบัน หน่วยงาน องค์กรวิชาชีพครู ให้เกิดการยอมรับด้านศักยภาพของหลักสูตรที่เป็นความเชีย่วชาญของคณะครุศาสตร์

ยุทธศาสตร์ ที่ 3.2 การเสริมสรา้งเอกลักษณ์ในหลักสูตรที่เป็นความเชี่ยวชาญของ คณะครุศาสตร ์

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง 1) การส่งเสริมให้สาขาวิชาที่เป็นเอกลักษณ์ เป็นผู้น าทางวิชาการในสาขาอย่างแท้จริง

1.1) สนับสนุนให้จัดกิจกรรม/โครงการพัฒนาคณาจารย์ในสาขาวิชาที่เป็นเอกลักษณ์ อย่างต่อเนื่อง อาทิ การฝึกอบรม ศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ เพ่ือสร้างความเข้มแข็งด้านวิชาการให้บุคลากรอย่างยั่งยืน

1.2) จัดให้มีบริการวิชาการในสาขาวิชาที่เป็นเอกลักษณ์อย่างหลากหลายในระดับท้องถิ่น และระดับประเทศ ทั้งด้านการเป็นวิทยากรให้ความรู้ การวิจัย และการเผยแพร่ผลงานทั้งในระบบเอกสารและสื่อเทคโนโลย ี

1.3) ส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์ผลิตผลงานวิชาการในสาขาที่เป็นเอกลักษณ์ อาทิ ต ารา เอกสารประกอบการสอน เอกสารค าสอน และงานวิจัยในสาขาวิชาเพ่ือให้เกิดการยอมรับในประชาคมวิชาการในแขนงสาขานั้นๆโดยมีมาตรการจูงใจให้คณาจารย์ได้ผลิตผลงานด้วยความเต็มใจ เต็มความสามารถ

Page 20: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

๑๕

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง 1.4) ส่งเสริมให้มีระบบประชาสัมพันธ์ แนะน า เผยแพร่ จุดเด่น

ที่เป็นเอกลักษณ์ของการผลิตครู ในหลากหลายรูปแบบ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของสื่อมวลชนทุกแขนง

1.5) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาการมนุษย์และบุคคลพิการให้บริการสนับสนนุนกัศกึษาที่มคีวามพิการให้สามารถเรยีนร่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.ส่งเสริมสนับสนุนให้มีหลักสูตรการผลิตครูที่มีเอกลักษณ์ของคณะ ครุศาสตร์ และเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย

2.1 ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการพัฒนาหลักสูตรการผลิตครูที่มีความโดดเด่นทั้ งด้านกระบวนการจัดการเรียนกา รสอน กระบวนวิชา และผลผลิตที่เป็นเอกลักษณ์และสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและเขตพ้ืนที่บริการ เช่น การผลิตครูที่มีคุณลักษณะตรงตามความต้องการของพื้นที่สูง มีความอดทนต่อความยากล าบาก ครูที่สามารถพูดภาษาท้องถิ่นได้ ครูที่สอนในห้องเรียนรวม เป็นต้น

ข้อ 4 พัฒนานักศึกษาให้มีความพร้อมในการเป็นพลเมืองโลก ให้มีความรูเ้ท่าทันการเปลี่ยนปลงของประเทศไทยและสังคมโลก โดยการพัฒนานักศึกษาจะต้องค านึงถึงบริบทต่างๆอาทิ

(1)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 พ.ศ.2560 – 2564 ที่เก่ียวข้องกับ คณะครุศาสตร์ คือ “คนเปน็ศูนย์กลางการพัฒนา” มุง่... พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบรูณ์มวีินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสรา้งสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรมและคณุธรรม ปรับหลักสตูรการผลติครูทีเ่น้นสมรรถนะ มีจติวญิญาณความเปน็คร ูเปน็ผู้แนะน า และสามารถกระตุน้การเรียนรูข้องผูเ้รียน สร้างมาตรการจงูใจให้ผู้มีศกัยภาพสูงเข้ามาเปน็ครู

(2) กระบวนทัศน์การพัฒนาประเทศภายใต้โมเดล “Thailand 4.0” เทคโนโลยีการศึกษา (Edtech) การพัฒนาคน ที่ตลาดแรงงานโลกต้องการ ใน 10 ทักษะ ไดแ้ก ่1. ทักษะการแก้ไขปญัหาที่ทับซ้อน 2. การคดิวเิคราะห์ 3. ความคดิสรา้งสรรค ์ 4. การจัดการบุคคล 5. การท างานรว่มกนั 6. ความฉลาดทางอารมณ์ 7. รู้จักประเมนิและการตดัสินใจ 8. มีใจรักบริการ 9. การเจรจาตอ่รอง 10. ความยืดหยุ่นทางความคิด

(3) กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) วสิัยทัศน“์ประเทศไทยมี ความมัน่คง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปน็ประเทศพัฒนาแลว้ ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิพอเพียง”ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสรา้งศักยภาพคนคนไทยในอนาคต มีศักยภาพในการรว่มกนัพัฒนาประเทศ สามารถปรับตัวรองรับบริบทการพัฒนาในอนาคต มีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปญัญา มีทกัษะ

Page 21: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

๑๖

การวเิคราะห์อย่างมีเหตุผล มีการเรียนรู้ตลอดชวีิต มีภูมคิุ้มกันต่อความเปลี่ยนแปลง มีจิตส านึกวัฒนธรรมทีด่ีงาม รู้คุณคา่ความเป็นไทย และมีความรบัผิดชอบ เป็นรากฐานทีม่ั่นคงของชุมชน สงัคม รักชาติและสถาบันพระมหากษัตริย์

(4) การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling)ของกลุ่มมหาวิทยาลยัราชภัฏ ประกอบดว้ย 1. ผลิตครูเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามความต้องการของรฐั 2. พัฒนาระบบสารสนเทศเชือ่มโยงเครือข่ายความเปน็เลิศในระดับภูมิภาคและพืน้ที ่ 3. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้สะเตม็ศึกษา (STEM Education)ของครู 4. โครงการพัฒนานักศกึษาครูให้มีสมรรถนะในศตวรรษที่ 21

จากบริบททั้ง 4 ประการ ได้น ามาก าหนดเป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนานักศึกษาของคณะ ครุศาสตร์ในช่วงปี พ.ศ.2560 -2563 ดังน้ี

ยุทธศาสตร์ที่ ๔.1 สนับสนนุส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม(Learning and Innovation)

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง 1 ) ส นั บ ส นุ น แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้คณาจารย์ทุกคนจัดกระบวนการเรียนการสอนโดยบูรณาการแนวคิดที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง(Active Learning)อ า ทิ ส นั บ ส นุ น ใ ห้ ผู้ ส อ น ใ ช้กระบวนการ จิตตปัญญาศึกษา (Contemplative Education) การชี้แนะ(Coaching & Mentoring)และการจัดการเรียนรู้ที่ใช้วิจัยเป็น

1.1) พัฒนาคณาจารย์ในด้านเทคนิคการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการคิดและการใช้เทคโนโลยีในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมโดยเน้นสมรรถนะผู้เรียน ส่งเสริมให้เน้นการมีจิตวิญญาณความเป็นครู ส่งเสริมให้ผู้สอนและผู้เรียนมีทักษะเป็นผู้แนะน า(Coach) และสามารถกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยบูรณาการ กับทักษะ ด้านการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม(Creativity and Innovation) คิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving)การสื่อสารและการร่วมมือกันท างาน(Communication and Collaboration)

ฐาน(Research Based Learning)ในการพัฒนานักศึกษา เป็นต้น

1.2) ส่งเสริมให้คณาจารย์ได้จัดท าวิจัยในชั้นเรียนเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง(Active Learning)ท่ีบูรณาการจิตตปัญญาศึกษา (Contemplative Education) การชี้แนะ(Coaching & Mentoring)และการจัดการเรียนรู้ที่ใช้วิจัยเป็นฐาน(Research Based Learning) ตามหลักการแบบพอเพียงในรายวิชาที่ตนเองรับผิดชอบ

Page 22: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

๑๗

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง 2) จัดให้มีกลไก สนับสนุนให้นักศึกษาเกิดทักษะการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมที่เป็นผลจากการใช้กระบวนการวิจัยเป็นฐานคิดในการพัฒนา

2.1) จัดให้มีแผนปฏิบัติการที่มีกิจกรรม/โครงการเกี่ยวกับการพัฒนานักศึกษา ให้ เกิดทักษะการเรียนรู้และสร้างสรรค์นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่ใช้วิจัยเป็นฐาน 2.2) สนับสนุนงบประมาณให้แก่นักศึกษาได้ฝึกทักษะการเรียนรู้ และสร้างนวัตกรรมในรูปแบบต่าง ๆ

2.3) จัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์อันเป็นผลจากการฝึก ทักษะการเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมของนักศึกษา โดยมีการ

เสริมแรงด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การเงินรางวัล การมอบ เกียรติบัตร เป็นต้น

2.4) สนับสนุนให้นักศกึษาไดม้โีอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ได้จากการพัฒนาตนเองเช่น การสนับสนุนให้มีการน าเสนอผลงานร่วมกับมหาวิทยาลัยอื่นในประเทศ หรือ มหาวิทยาลัยต่างประเทศที่เป็นเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

ยุทธศาสตร์ที่ ๔.2 สนับสนุนส่งเสริมให้นักศกึษาเกิดทักษะด้านสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลย ี(Information, Media and Technology Skills)

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง 1) บริหารจัดการให้มีสิ่ งอ านวยคว ามสะด วก เ พ่ื อ ให้ นั ก ศึ กษ าสามารถเข้าถึงสื่อ เทคโนโลยี

1.1) พัฒนาศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศ ของคณะครุศาสตร์อย่างเป็นระบบ โดยจัดให้มีคณะกรรมการด าเนินงาน จัดสรรงบประมาณ และมีการควบคุม ก ากับติดตามผลการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง

1.2) จัดหาแหล่งทุนสนับสนุนให้นักศึกษามีโอกาสได้เป็นเจ้าของอุปกรณ์ที่จะส่งเสริมทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี โดยการประสานงานกับแหล่งทุนทั้งภาครัฐและเอกชนตลอดจนหน่วยงานองค์กรการกุศลต่างๆ

2) สนับสนุนให้นักศึกษาได้พัฒนาศักยภาพของตนเองด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี และสามารถใช้ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามสมรรถนะของครูในศตวรรษที่21

2.1) สนับสนุนและด าเนินการให้มีโครงการ/กิจกรรม เสริมทักษะให้แก่นักศึกษาทุกคน ในด้านการรู้ เรื่องสารสนเทศ(Information Literacy) การรู้เรื่องสื่อ (Media Literacy) การรู้เรื่อง ICT (Information, Communication and Technology)เป็นหลักสูตรระยะสั้น ที่จะพัฒนานักศึกษาอย่างต่อเนื่อง นอกเหนือจากในรายวิชาที่ต้องได้เรียนในหลักสูตรปกติ

Page 23: ของ รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี · ในระดับชั้นป.2 ใช้ประกอบการจัด

๑๘

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง 2.2) ส่งเสริมให้นักศึกษาที่มีความเป็นเลิศด้านสารสนเทศ สื่อ

และเทคโนโลยี ได้มีโอกาสผลิตสื่อ นวัตกรรมในรายวิชาที่ตนเองเรียนและจัดให้มีโอกาสได้เรียนรู้แลกเปลี่ยนเพ่ือเพ่ิมความช านาญการกับครูที่มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์ในระดับท้องถิ่นและประเทศ โดยการประสานความร่วมมือกับเครือข่าย /องค์กร/หน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในเรื่องนี้

ยุทธศาสตร์ที่ 4.3 สนับสนนุส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดทักษะในศตวรรษที่21ด้านทักษะชีวิตและการท างาน (Life and Career Skills) และสอดคล้องกับแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กลยุทธ์หลัก กลยุทธ์รอง 1) ส่งเสริมใหน้ักศึกษามโีอกาสได้พัฒนาทักษะการด ารงชวีติในศตวรรษที ่21 ใน10 ทักษะ ได้แก่ 1. ทักษะการแกไ้ขปัญหาทีท่ับซ้อน 2. การคดิวิเคราะห ์3. ความคิดสร้างสรรค์ 4. การจดัการบุคคล 5. การท างานร่วมกัน

1.1) สนับสนุนให้มีกิจกรรม/โครงการพัฒนาภาวะความเป็นผู้น าและความรับผิดชอบ(Leadership and Responsibility)และความคิดริเริ่มและการชี้น าตนเอง( Initiative and Self - Direction)บนฐานคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของคณะกรรมการสโมสรนักศึกษา และให้ผู้น านักศึกษาน ากิจกรรมเหล่านั้นไปใช้พัฒนานักศึกษาส่วนใหญ่ ผ่านกิจกรรมต่างๆ อาทิ กิจกรรมรับน้อง กิจกรรมกีฬา ฯลฯ

6. ความฉลาดทางอารมณ์ 7. รู้จักประเมนิและการตดัสินใจ 8. มีใจรักบรกิาร 9. การเจรจาต่อรอง 10. ความยืดหยุ่นทางความคิด

1.2) จัดให้มีโครงการ/กิจกรรมทีเ่น้นการฝึกทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม (Social and Cross Cultural Skills) และทักษะการด ารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ใน10 ทักษะ โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายประกอบด้วย คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา อย่างต่อเนื่อง

2) สนับสนุน ส่งเสริมให้นักศึกษาได้ฝึ ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ วิ ช า ชี พ ใ นสถานศึกษาที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการและมีบุคลากรที่มีความเป็น “ครูมืออาชีพ”

2.1) จัดให้มีข้อมูล สารสนเทศ สถานศึกษาที่มีความโดดเด่น จัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพเชิงประจักษ์ 2.2)ประสานความร่วมมือกับสถานศึกษาในการพัฒนาครูพ่ีเลี้ยงและสามารถพัฒนานักศึกษาครูไปสู่ความเป็นครูมืออาชีพในสาขาวิชาที่เรียน

2.3) จัดกิจกรรม ส่งเสริม ยกย่อง และ เชิดชู ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพ่ีเลี้ยง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ที่มีคว าม เป็ น เลิ ศ ในรายวิ ช าที่ นั กศึ กษา เ รี ยนอยู่ แ ละ เป็ น “ครูมืออาชีพ”