สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง...

22
แบบรายงานการวิจัย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์ 1. นายบัณฑิต เรืองรอง 2. นางสาวเบญจรัตน์ เปาวะสันต์ 3. นางสาวอภิญญา แสงพระจันทร์ ประจาปีการศึกษา 2559 ปีพุทธศักราช 2559 - 2560 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม อาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

Upload: others

Post on 18-Oct-2019

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

แบบรายงานการวิจัย (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการวิจัย

เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค ์

1. นายบัณฑิต เรืองรอง 2. นางสาวเบญจรัตน ์ เปาวะสันต ์3. นางสาวอภิญญา แสงพระจันทร ์

ประจ าปีการศึกษา 2559 ปีพุทธศักราช 2559 - 2560 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม อาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม

ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

Page 2: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

แบบรายงานการวิจยั (ว-สอศ.-3) รายงานผลโครงการวิจยั

เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค ์

โดย 1. นายบัณฑิต เรืองรอง 2. นางสาวเบญจรัตน ์ เปาวะสันต ์3. นางสาวอภิญญา แสงพระจันทร ์

อาจารย์ที่ปรึกษา

1. นายสมชาย ตะโกพร 2. นางสาวปารว ี จ าปาด ี3. นายวิศลัย ์ ออมทรัพย ์4. นางสาวมาฆพร ดีมูล

ประจ าปีการศึกษา 2559 ปีพุทธศักราช 2559 - 2560 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม อาชีวศึกษาจังหวัดนครปฐม

ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

Page 3: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

หัวข้อวิจัย : เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์ ผู้ด าเนินการวิจัย : นายบัณฑิต เรืองรอง นางสาวเบญจรัตน์ เปาวะสันต์

นางสาวอภิญญา แสงพระจันทร์

ที่ปรึกษา : นายสมชาย ตะโกพร นางสาวปารวี จ าปาดี นายวิศัลย์ ออมทรัพย์ นางสาวมาฆพร ดีมูล หน่วยงาน : วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม ปี พ.ศ. : 2559 บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องเครื่องร่อนอเนกประสงค์ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพของเครื่องร่อนอเนกประสงค์ 2) ใช้เครื่องร่อนอเนกประสงค์ในการแยกสารที่ใช้ ในชีวิตประจ าวัน การศึกษาแบ่งเป็น 3 ตอนคือ ตอนที่ 1 สร้างและหาประสิทธิภาพของเครื่องร่อนอเนกประสงค์ โดยการสร้างเครื่องร่อนมีส่วนประกอบส าคัญเป็นมอเตอร์จากจักรเย็บผ้า เพลา และถาดเหวี่ยง แล้วทดสอบประสิทธิภาพการท างานโดยร่อนแป้งเค้ก และแป้งอเนกประสงค์ และพัฒนาประสิทธิภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ ตอนที่ 2 การใช้เครื่องร่อนอเนกประสงค์ ร่อนแป้งเค้ก, ข้าวคั่ว, พริกไทย, พริกป่น, ถั่วลิสงบด, ข้าวสารจากโรงสี โดยน าสารแต่ละชนิดปริมาณ 200 กรัม มาร่อนด้วยเครื่องร่อนอเนกประสงค์ โดยใช้ตะแกรงขนาด 0.5 x 0.5 มิลลิเมตรและขนาด 1.0 x 1.0 มิลลิเมตร จากการทดลองพบว่า สามารถสร้างเครื่องร่อนอเนกประสงค์ได้และเครื่องร่อนอเนกประสงค์มีประสิทธิภาพ สามารถแยกสารที่ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ การใช้เครื่องร่อนอเนกประสงค์พบว่าเครื่องร่อนอเนกประสงค์ สามารถร่อนแป้งเค้ก, ข้าวคั่ว, พริกไทย, พริกป่น, ถั่วลิสงบด ท าให้ได้ผลผลิตที่ต้องการ ส่วนข้าวสารจากโรงสีเครื่องร่อนอเนกประสงค์ท่ีใช้ตะแกรงขนาด 0.5 x 0.5 มิลลิเมตร และขนาดตะแกรงเป็นขนาด 1.0 x 1.0 มิลลิเมตร และน ามาร่อนข้าวสารจากโรงสี สามารถแยกสิ่งเจือปน เช่น เมล็ดข้าวที่มีขนาดเล็ก, กรวด, มอด และสิ่งเจือปนออกจากข้าว ท าให้ได้ข้าวที่มีขนาดตามที่ต้องการ

Page 4: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องเครื่องร่อนอเนกประสงค์จะไม่สามารถประสบผลส าเร็จได้ ถ้าขาดความกรุณาจาก คุณครูสมชาย ตะโกพร คุณครูปารวี จ าปาดี คุณครูวิศัลย์ ออมทรัพย์ และครูมาฆพร ดีมูล ที่คอยให้ค าปรึกษ ค าแนะน าเก่ียวกับการท าการทดลองและช่วยพัฒนาเครื่องร่อนอเนกประสงค์น าแผงโซล่าเซลล์มาติดตั้งกับเครื่องร่อนอเนกประสงค์ และความร่วมมือจากเพ่ือนๆ ทุกคนที่คอยช่วยเหลือในหลายๆ เรื่อง

ขอขอบพระคุณท่านผู้อ านวยการดรุณี ญาณวัฒนา ผู้อ านวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม ท่านรองฯวีระ ทองประสิทธิ์ รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ ที่ให้ความกรุณาชี้แนะและแนะน า ท าให้ผลงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น

คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้เป็นอย่างสูง โครงงานวิทยาศาสตร์เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในชีวิตประจ าวันต่อไป และขอขอบคุณผู้ปกครองของผู้รายงานที่คอยสนับสนุนในเรื่องต่างๆ ทั้งค่าใช้จ่าย การให้ค าปรึกษา โครงงานนี้จึงสามารถส าเร็จไปได้ด้วยดีข้าพเจ้าจึงขอกราบขอบพระคุณทุกท่านที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นไว้ ณ ที่นี้ เป็นอย่างสูง

คณะผู้จัดท า

Page 5: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

สารบัญ

หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญตาราง ง สารบัญภาพ จ บทที่ 1 บทน า 1 ความเป็นมาและความส าคัญ 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1 ขอบเขตของการวิจัย 1 สมมติฐานการวิจัย 2 ค าจ ากัดความที่ใช้ในงานวิจัย 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3 สารเนื้อผสม 3 การแยกสารเนื้อผสม 3 บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย 5 อุปกรณ์ที่ใช้ในงานวิจัย 5 วิธีด าเนินงาน 5 บทที่ 4 ผลการวิจัย 7 บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 10 สรุปผลการวิจัย 10 อภิปรายผล 10 ข้อเสนอแนะ 10 บรรณานุกรม 12 ภาคผนวก 13 ประวัติผู้วิจัย 15

Page 6: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หน้า

4.1 หาประสิทธิภาพโดยการร่อนสารและความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ 8 4.2 หาประสิทธิภาพโดยเปรียบเทียบกับการร่อนด้วยมือ 8 4.3 การใช้เครื่องร่อนอเนกประสงค์ 9 4.4 ผลการร่อนข้าวสารจากโรงสีโดยใช้ตะแกรงขนาด 1.0 x 1.0 มิลลิเมตร 9

Page 7: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

สารบัญรูปภาพ

ภาพที่ หน้า

4.1 การสร้างเครื่องร่อนอเนกประสงค์ 7 4.2 ลักษณะของเครื่องร่อนอเนกประสงค์ 7

Page 8: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

1

บทที่ 1 บทน า

ความเป็นมาและความส าคัญ อาหารเป็นปัจจัยสี่ที่ส าคัญในการด ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต มนุษย์ได้รู้จักการประกอบอาหารเพ่ือยังชีพมาตั้งแต่สมัยโบราณ มีวิวัฒนาการของการประกอบอาหารมาอย่างยาวนาน จากการล่าสัตว์เพ่ือบริโภคก็มีการเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์ และน าผลผลิตมาประกอบอาหารด้วยวิธีการต่างๆ มีการใช้เครื่องมืออุปกรณ์เข้ามาใช้ในการประกอบอาหาร โดยมีการสร้างอุปกรณ์การประกอบอาหารอย่างง่ายด้วยวัสดุตามธรรมชาติ และวิวัฒนาการโดยใช้เครื่องมืออุปกรณ์จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เช่น มีการใช้เครื่องมือในการบด สับ ให้อาหารมีขนาดเล็กละเอียด มีการสร้างอุปกรณ์ที่อ านวยท าให้การประกอบอาหารมีความสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น เช่น เครื่องปอกเปลือกผลไม้ เครื่องคั้นกะทิ เครื่องบดเนื้อสัตว์ เป็นต้น และในปัจจุบันรูปแบบการบริโภคอาหารก็เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยมีการบริโภคอาหารนอกบ้านมากขึ้น หรือซื้ออาหารส าเร็จรูปกันเป็นส่วนมาก ดังนั้นการประกอบอาหารต้องมีความรวดเร็วเพ่ือสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค การเตรียมส่วนประกอบของอาหารต้องพ่ึงพาอุปกรณ์ที่ช่วยท าให้ปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว และข้อส าคัญต้องไม่มีสิ่งเจือปนอันจะก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้ อาหารที่ส าคัญส าหรับทุกคนในประเทศไทยก็คือข้าวและแป้ง คนไทยบริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก แต่ในขณะนี้ข้าวของไทยมีปัญหาเรื่องการใช้สารเคมีในข้าวเพ่ือขับไล่แมลงท าให้ผู้บริโภคข้าวได้รับสารพิษไปด้วย นอกจากนี้ในปัจจุบันส่วนประกอบในอาหารที่บริโภคเป็นส่วนมากมักจะมีแป้ง ข้าวคั่ว พริกป่น ถั่วป่น พริกไทย ในการท าให้อาหารมีลักษณะป่นมักใช้วิธีบด และแยกด้วยวิธีทางกายภาพอย่างง่าย เช่น การฝัด การเก็บสิ่งเจือปนออก ซึ่งใช้แรงมากและเสียเวลา ทางกลุ่มผู้รายงานเล็งเห็นว่าควรจะมีการประดิษฐ์เครื่องร่อนอเนกประสงค์เพ่ือใช้ในการแยกส่วนประกอบที่เล็กละเอียดออกมาใช้ตามจุดประสงค์ดังกล่าวและสามารถแยกสิ่งเจือปนและมอดออกจากข้าวสารที่ใช้บริโภคทุกวัน โดยไม่ต้องเสียเวลามากแต่ลงทุนน้อยใช้ประโยชน์ได้สูง และประหยัดพลังงาน จึงได้ประดิษฐ์เครื่องร่อนอเนกประสงค์ขึ้น เพ่ือใช้ร่อนสารต่างๆ และมีประโยชน์ในครัวเรือนและร้านค้าขายอาหารทั่วไป นอกจากนีอ้าจพัฒนาต่อไปได้อีกในอนาคต วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพของเครื่องร่อนอเนกประสงค์ 2. เพ่ือใช้เครื่องร่อนอเนกประสงค์ในการแยกสารที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน

ขอบเขตของการวิจัย เป็นงานวิจัยเกี่ยวกับเครื่องมือร่อนแป้งอเนกประสงค์

Page 9: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

2

สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 1. เครื่องร่อนอเนกประสงค์ท่ีสร้างข้ึนมีประสิทธิภาพ 2. เครื่องร่อนอเนกประสงค์ใช้ในการแยกสารในชีวิตประจ าวันได้ดีกว่าร่อนด้วยมือ

ค าจ ากัดความท่ีใช้ในงานวิจัย เครื่องร่อนอเนกประสงค์ หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ในการแยกสารประเภทสารเนื้อผสมที่

ผู้รายงานประดิษฐ์ขึ้น ใช้ร่อน แป้ง ข้าวคั่ว ข้าวสารจากโรงสี ถั่วลิสง พริกป่น พริกไทย ใช้งานได้ทั้งไฟฟ้าตามบ้านเรือน และพลังงานแสงอาทิตย์

สารที่ใช้ในการแยก หมายถึง วัสดุที่ใช้ในการประกอบอาหารในครัวเรือน ได้แก่ แป้ง ข้าวคั่ว ข้าวสารจากโรงสี ถั่วลิสง พริกป่น พริกไทย

ลักษณะของสารที่ผ่านการร่อน หมายถึง ลักษณะของแป้ง ข้าวคั่ว ข้าวสารจากโรงสี ถั่วลิสง พริกป่น พริกไทย ที่ผ่านการร่อนจากการใช้เครื่องร่อนอเนกประสงค์

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. ได้เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์ที่ใช้แยกสารที่ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 2. เป็นการประหยัดพลังงานและเป็นการประหยัดเวลาในการท างาน 3. ได้เครื่องใช้ที่มีราคาถูกสามารถผลิตใช้เองได้ในครัวเรือน

Page 10: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

3

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ในการท าโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องเครื่องร่อนอเนกประสงค์ ทางกลุ่มผู้จัดท าโครงงานได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เก่ียวข้องเก่ียวกับโครงงานดังนี้

1. สารเนื้อผสม 2. ชนิดของการแยกสารเนื้อผสม 3. โซลาเซลล์กับพลังงานแสงอาทิตย์

สารเนื้อผสม

สารเนื้อผสม หมายถึง สารที่มีลักษณะเนื้อสารไม่กลมกลืนกันเป็นก้อนเดียวกันเกิดจากสารอย่างน้อย 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกันโดยเนื้อสารจะแยกกันเป็นส่วนๆ การแยกสารเนื้อผสมอาจใช้วิธีการต่างๆ เช่น การกรอง การใช้กรวยแยก การใช้อ านาจแม่เหล็ก การระเหิด การระเหยจนแห้ง ซึ่งเป็นการแยกสารกันโดยวิธีทางกายภาพทั้งสิ้น สารที่แยกได้จะมีสมบัติเหมือนเดิม การแยกสารเนื้อผสม

จะแบ่งออกได้ 6 ประการ ดังนี้ 1. การกรอง เป็นวิธีการแยกสารออกจากกันระหว่างของแข็งกับของเหลว หรือใช้แยกสาร

แขวนลอยออกจากน้ า ซึ่งใช้กันมากในทางเคมี โดยเฉพาะในห้องปฏิบัติการที่กรองสารในปริมาณน้อย ๆ การกรองนั้นจะต้องเทสารผ่านกระดาษกรอง อนุภาคของแข็งที่ลอดผ่านรูกระดาษกรองไม่ได้จะอยู่บนกระดาษกรอง ส่วนน้ าและสารที่ละลายน้ าได้จะผ่านกระดาษกรองลงสู่ภาชนะ การกรอง เหมาะส าหรับการแยกองค์ประกอบของสารเนื้อผสมที่เกิดจากของแข็งผสมกับของเหลวโดยไม่เกิดการละลาย จะท าให้ของเหลวขุ่น จึงต้องกรองของแข็งออกจากของเหลว เช่น กรองฝุ่นออกจากน้ าเชื่ อม กรองตะกอนออกจากน้ าส าหรับดื่ม

2. การใช้กรวยแยกสารเนื้อผสม เป็นวิธีที่ใช้แยกสารเนื้อผสมที่เป็นของเหลว 2 ชนิดที่ไม่ละลายออกจากกัน โดยของเหลวทั้งสองนั้นแยกเป็นชั้นเห็นได้ชัดเจน เช่น น้ ากับน้ ามัน เป็นต้น การแยก โดยวิธีนี้จะน าของเหลวใส่ในกรวยแยก แล้วไขของเหลวที่อยู่ในชั้นล่างซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่า ชั้นบนออกสู่ภาชนะจนหมด แล้วจึงค่อย ๆ ไขของเหลวที่ที่เหลือใส่ภาชนะใหม่

3. การใช้อ านาจแม่เหล็ก เป็นวิธีที่ใช้แยกองค์ประกอบของสารเนื้อผสมซึ่งองค์ประกอบหนึ่งมีสมบัติในการถูกแม่เหล็กดูดได้ เช่น ของผสมระหว่างผงเหล็กกับผงก ามะถัน โดยใช้แม่เหล็กถูไปมาบนแผ่นกระดาษท่ีวางทับของผสมทั้งสอง แม่เหล็กจะดูดผงเหล็กแยกออกมา

4. การระเหิด คือ ปรากฏการณ์ท่ีสารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเป็นก๊าซหรือไอโดยไม่เปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวก่อน ใช้แยกสารเนื้อผสมที่เป็นของแข็งออกจากกัน โดยของแข็งชนิดหนึ่งมีสมบัติระเหิดได้ เช่น ลูกเหม็น พิมเสน น้ าแข็งแห้ง การบูรกับเกลือแกง เมื่อให้ความร้อนการบูรจะกลายเป็นไอแยกออกจากเกลือแกง ดักไอของการบูรด้วยภาชนะที่เย็นจะได้การบูรเป็นของแข็งแยกออกมา

Page 11: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

4

5. การใช้มือหยิบออกหรือเขี่ยออก ใช้แยกของผสมเนื้อผสม ที่ของผสมมีขนาดโตพอที่จะหยิบออกหรือเขี่ยออกได้ เช่น ข้าวสารที่มีเมล็ดข้าวเปลือกปนอยู่

6. การตกตะกอน ใช้แยกของผสมเนื้อผสมที่เป็นของแข็งแขวนลอยอยู่ในของเหลว ท าได้โดยน าของผสมนั้นวางทิ้งไว้ให้สารแขวนลอยค่อย ๆ ตกตะกอนนอนก้น ในกรณีที่ตะกอนเบามากถ้าต้องการให้ตกตะกอนเร็วขึ้นอาจท าได้โดย ใช้สารตัวกลางให้อนุภาคของตะกอนมาเกาะ เมื่อมีมวลมากขึ้น น้ าหนักจะมากขึ้นจะตกตะกอนได้เร็วขึ้น เช่น ใช้สารส้มแกว่ง อนุภาคของสารส้มจะท าหน้าที่เป็นตัวกลางให้โมเลกุลของสารที่ต้องการตกตะกอนมาเกาะ ตะกอนจะตกเร็วขึ้น

Page 12: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

5

บทที ่๓ วิธีด าเนินการวิจัย

อุปกรณ์ที่ใช้ในการวิจัย

1. มอเตอร์จักรเย็บผ้า 2. Dimmer 600 w. 3. ฟิวส์ 10 amp. 4. เพลา 5. สายไฟ 6. สวิตซ์ไฟ On-Off 7. หลอดไฟ LED 8. ลูกล้อยาง 9. ถาดอะลูมิเนียม 10. ยาง 11. แผ่นพลาสติก 12. นอต, สกรู, บานพับ 13. ตะแกรงร่อน (ขนาดต่างๆ) 14. เต้าเสียบ 15. เหล็ก 16. จุกยาง 17. ผ้ามัน 18. วัสดุที่ใช้ร่อน เช่น ข้าวคั่ว, ข้าวสารจากโรงสี, แป้งเค้ก, พริกไทย, ถั่วลิสงบด 19. สีทาเหล็ก, แปรงทาสี 20. หัวแร้ง 21. ไขควง 22. สว่าน 23. ปืนกาว

วิธีการด าเนินงาน ตอนที่ 1 สร้างและหาประสิทธิภาพ

การสร้างเครื่องร่อนอเนกประสงค์ เครื่องร่อน

1. ประดิษฐ์เครื่องร่อนโดยน าเหล็กมาท าเป็นโครงสร้างของเครื่องร่อน 2. ออกแบบที่ยึดมอเตอร์จักรเย็บผ้า แล้วติดมอเตอร์จักรเย็บผ้า 3. ท าถาดที่ร่อนใส่ลูกล้อ น าผ้ามันมารองบริเวณขอบถาด

Page 13: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

6

4. น ามอเตอร์จักรเย็บผ้าที่ติดแล้วมาต่อวงจรเข้ากับสวิตซ์, ฟิวส์ขนาด 10 amp. และ Dimmer

5. หุ้มด้วยแผ่นพลาสติกเพ่ือปิดช่องมอเตอร์จักรเย็บผ้าและแผงวงจร

ตะแกรง 1. จัดเตรียมตะแกรงเพ่ือใช้ในการทดสอบการร่อนสารโดยใช้ขนาดของรูตะแกรง 0.5 x 0.5

มิลลิเมตร การหาประสิทธิภาพ

1. เตรียมเครื่องร่อน, ตะแกรง และ สาร เพ่ือทดสอบการหาประสิทธิภาพการท างาน 2. น าสารแต่ละชนิดมาเตรียมทดสอบการท างานของเครื่องร่อนเพ่ือหาประสิทธิภาพโดยมี

แป้งเค้ก, ข้าวคั่ว, พริกไทย, พริกป่น, ถั่วลิสงบด, ข้าวสารจากโรงสี ในปริมาณและเวลาที่เท่ากัน 3. น าสารแต่ละชนิดไปใส่ในตะแกรงเพ่ือท าการทดสอบ โดยทดสอบสารแต่ละชนิดใน

ตะแกรงขนาด 0.5 x 0.5 มิลลิเมตร บันทึกผลการทดสอบของสารแต่ละชนิด

ตอนที่ 2 การใช้เครื่องร่อนอเนกประสงค์ 1. เตรียมเครื่องอเนกประสงค์ และเตรียมสารที่จะร่อน แป้งเค้ก, ข้าวคั่ว, พริกไทย, พริกป่น, ถั่วลิสงบด, ข้าวสารจากโรงสี 2. น าสารแต่ละชนิดทดลอง ได้แก่ แป้งเค้ก, ข้าวคั่ว, พริกไทย, พริกป่น, ถั่วลิสงบด, ข้าวสารจากโรงสีที่ละสาร โดยที่แต่ละสารท าการร่อนโดยใช้ตะแกรงขนาด 0.5 x 0.5 มิลลิเมตร 3. น าแป้งเค้ก, ข้าวคั่ว, พริกไทย, พริกป่น, ถั่วลิสงบด, ข้าวสารจากโรงสี มาทดลองทีละสารในปริมาณที่เท่ากัน สารละ 200 กรัม โดยน าสารเทลงในตะแกรงร่อน น าภาชนะมารองสารตรงช่องออกของสาร น าตะแกรงใส่ลงในเครื่องร่อน ปิดฝาเครื่องร่อน เสียบปลั๊กไฟ แล้วท าการเปิดสวิตซ์ ปรับระดับความเร็ว ตามความเหมาะสมกับสารที่ใช้ร่อน 4. น าภาชนะท่ีใช้รองสารออกมาดู ท าการบันทึกผลสารแต่ละชนิด

Page 14: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

7

บทที ่๔ ผลการวิจัย

เมื่อผู้ศึกษาได้ท าการศึกษาประสิทธิภาพของเครื่องร่อนอเนกประสงค์ ตามขั้นตอนแล้ว ได้ผลการด าเนินการ ดังนี้ ตอนที่ 1 สร้างและหาประสิทธิภาพ

เมื่อประดิษฐ์เครื่องร่อนอเนกประสงค์ ออกแบบการท างานของเครื่องร่อนอเนกประสงค์ และจัดเตรียมตะแกรงเพ่ือใช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพ และน าไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านอิเล็กทรอนิกส์ตรวจสอบประสิทธิภาพ ได้ผลการด าเนินงานดังนี้

ภาพที่ 4.1 การสร้างเครื่องร่อนอเนกประสงค์

ภาพที่ 4.2 ลักษณะของเครื่องร่อนอเนกประสงค์

Page 15: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

8

ตารางที่ 4.1 หาประสิทธิภาพโดยการร่อนสารและความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ

ชนิดของสาร ประสิทธิภาพการท างานของเครื่องร่อนเอนกประสงค์

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ประสิทธิภาพ ความคิดเห็นของ

ผู้เชี่ยวชาญ แป้งเค้ก เป็นผง

ละเอียด ไม่เกาะกันเป็น

ก้อน

เป็นผงละเอียด ไม่เกาะกันเป็น

ก้อน

เป็นผงละเอียด ไม่เกาะกันเป็น

ก้อน

ได้เนื้อแป้งที่ตรงตาม

จุดประสงค์ที่จะน าไปใช้

ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน มีความคิดเห็นว่าเครื่องร่อนที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพน าไปใช้งานต่อได้

แป้งเอนกประสงค์

เป็นผงละเอียด

ไม่เกาะกัน เป็นก้อน

เป็นผงละเอียด

ไม่เกาะกัน เป็นก้อน

เป็นผงละเอียด

ไม่เกาะกัน เป็นก้อน

ได้เนื้อแป้งที่ตรงตาม

จุดประสงค์ที่จะน าไปใช้

ตารางที่ 4.2 หาประสิทธิภาพโดยเปรียบเทียบกับการร่อนด้วยมือ

ชนิดของสาร

ปริมาณ(กรัม)

ผลการทดลอง ร่อนด้วยเครื่อง เวลาที่ใช้

(นาท)ี ร่อนด้วยมือ เวลาที่ใช้

(นาท)ี แป้งเค้ก 500 สิ่งที่ได้มีลักษณะเป็น

ผงละเอียด ไม่เกาะกันเป็นก้อนและได้ผลผลิต 500 กรัม

2 สิ่งที่ได้มีลักษณะเป็นผงละเอียด แต่มีส่วนที่เกาะกันเป็นก้อนอยู่บนตะแกรงและได้ผลผลิต 480 กรัม

10

แป้งเอนกประสงค์

500 สิ่งที่ได้มีลักษณะเป็นผงละเอียด ไม่เกาะกันเป็นก้อนและได้ผลผลิต 500 กรัม

3 สิ่งที่ได้มีลักษณะเป็นผงละเอียด แต่มีส่วนที่เกาะกันเป็นก้อนอยู่บนตะแกรงและได้ผลผลิต 450 กรัม

15

Page 16: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

9

ตอนที่ 2 การใช้เครื่องร่อนอเนกประสงค์ เมื่อได้เครื่องร่อนอเนกประสงค์ท่ีตรงตามจุดที่ต้องการแล้วจึงน าไปใช้ทดลองร่อนวัสดุต่างๆที่ใช้ในชีวิตประจ าวันในปริมาณ 200 กรัม ได้แก่ แป้ง, ข้าวคั่ว, พริกไทย, พริกป่น, ถั่วลิสงบด, ข้าวสารจากโรงสี ได้ผลดังตาราง ตารางที่ 4.3 การใช้เครื่องร่อนอเนกประสงค์

จากตารางพบว่าเครื่องร่อนอเนกประสงค์สามารถร่อนแป้งเค้ก , ข้าวคั่ว, พริกไทย, พริกป่น, ถั่วลิสงบด ท าให้ได้ผลผลิตที่ต้องการ ส่วนข้าวสารจากโรงสีเครื่องร่อนอเนกประสงค์ที่ใช้ตะแกรงขนาด 0.5 x 0.5 มิลลิเมตร ไม่สามารถแยกสิ่งเจือปนออกจากข้าวสารได้จึงได้เปลี่ยนขนาดตะแกรงเป็นขนาด 1.0 x 1.0 มิลลิเมตร และน ามาร่อนข้าวสารจากโรงสี ปรากฏผลดังตารางที่ 4.4 ตารางที่ 4.4 ผลการร่อนข้าวสารจากโรงสีโดยใช้ตะแกรงขนาด 1.0 x 1.0 มิลลิเมตร

ชนิดของสาร ลักษณะของสารที่ผ่านการร่อน

(ขนาดตะแกรง 1.0 x 1.0 มิลลิเมตร) ข้าวสารจากโรงสี เมล็ดข้าวที่มีขนาดเล็ก, กรวด, มอด และ สิ่งเจือปนในข้าวสามารถ

ผ่านตะแกรง ส่วนข้าวที่มีขนาดเหมาะสมจะอยู่ด้านบนของตะแกรง

จากตารางพบว่าเมื่อเปลี่ยนขนาดของตะแกรงที่ใช้กับเครื่องร่อนอเนกประสงค์เป็นขนาด 1.0 x 1.0 มิลลิเมตร สามารถแยกสิ่งเจือปน เช่น เมล็ดข้าวที่มีขนาดเล็ก, กรวด, มอด และสิ่งเจือปนออกจากข้าว ท าให้ได้ข้าวที่มีขนาดตามที่ต้องการ

ชนิดของสาร ลักษณะของสารที่ผ่านการร่อน

(ขนาดตะแกรง 0.5 x 0.5 มิลลิเมตร) แป้งเค้ก ผงหยาบที่เกาะกันเป็นก้อนอยู่ด้านบนไม่ผ่านตะแกรงส่วนที่ผ่าน

ตะแกรงจะเป็นผงละเอียด ไม่เกาะกันเป็นก้อน ข้าวคั่ว เมล็ดข้าวที่มีขนาดใหญ่อยู่ด้านบนไม่ผ่านตะแกรง ส่วนที่ผ่าน

ตะแกรงจะเป็นผงละเอียด พริกไทย ส่วนเปลือกของเมล็ดพริกไทยและส่วนที่ไม่ละเอียดอยู่ด้านบนไม่

ผ่านตะแกรงส่วนที่ผ่านตะแกรงจะเป็นผงละเอียด พริกป่น ส่วนของเมล็ดและเปลือกของพริกอยู่ด้านบนไม่ผ่านตะแกรง ส่วนที่

ผ่านตะแกรงจะเป็นผงละเอียด ถั่วลิสงบด เมล็ดถั่วที่หยาบมีขนาดใหญ่และส่วนที่ไม่ละเอียดอยู่ด้านบนไม่ผ่าน

ตะแกรง ส่วนที่ผ่านตะแกรงเป็นผงละเอียด ข้าวสารจากโรงสี เมล็ดข้าว มอด และสิ่งที่เจือปนในข้าว ไม่ผ่านตะแกรง

Page 17: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

10

บทที ่๕ สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย ตอนที่ 1 สร้างและหาประสิทธิภาพ

จากการทดลองสรุปได้ว่า 1. สามารถสร้างเครื่องร่อนอเนกประสงค์ได้ 2. เครื่องร่อนอเนกประสงค์มีประสิทธิภาพสามารถแยกสารที่ใช้ในชีวิตประจ าวันได้

ตอนที่ 2 การใช้เครื่องร่อนอเนกประสงค์

จากผลการทดลองสรุปได้ว่า จากตารางพบว่าเครื่องร่อนอเนกประสงค์สามารถร่อนแป้งเค้ก , ข้าวคั่ว, พริกไทย, พริกป่น,

ถั่วลิสงบด ท าให้ได้ผลผลิตที่ต้องการ ส่วนข้าวสารจากโรงสีเครื่องร่อนอเนกประสงค์ที่ใช้ตะแกรงขนาด 0.5 x 0.5 มิลลิเมตร ไม่สามารถแยกสิ่งเจือปนออกจากข้าวสารได้จึงได้เปลี่ยนขนาดตะแกรงเป็นขนาด 1.0 x 1.0 มิลลิเมตร และน ามาร่อนข้าวสารจากโรงสี เมื่อเปลี่ยนขนาดของตะแกรงที่ใช้กับเครื่องร่อนอเนกประสงค์เป็นขนาด 1.0 x 1.0 มิลลิเมตรสามารถแยกสิ่งเจือปน เช่น เมล็ดข้าวที่มีขนาดเล็ก, กรวด, มอด และสิ่งเจือปนออกจากข้าว ท าให้ได้ข้าวที่มีขนาดตามที่ต้องการ

อภิปรายผล ตอนที่ 1 สร้างและหาประสิทธิภาพในการสร้างเครื่องร่อนอเนกประสงค์จนมีประสิทธิภาพเนื่องจากผู้รายงานได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เก่ียวข้องเก่ียวกับวิธีการแยกสารรวมทั้งวิธีการสร้างเครื่องแยกสารเนื้อผสมพร้อมทั้งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญจนสามารถประดิษฐ์เครื่องร่อนตามจุดประสงค์ได้ และน าไปหาประสิทธิภาพโดยผู้เชี่ยวชาญและทดลองใช้จนได้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการสามารถร่อนหรือแยกสารที่ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ดังผลการทดลองในบทท่ี 4 ตอนที่ 2 การใช้เครื่องร่อนอเนกประสงค์ เครื่องร่อนอเนกประสงค์สามารถใช้งานได้ตามจุดประสงค์เนื่องจากมีการค้นคว้าการท างานของเครื่องร่อนอเนกประสงค์มีการใช้อุปกรณ์ในการท าเครื่องร่อน เช่น มอเตอร์จักรเย็บผ้า เพลา dimmer และศึกษาการท างานของอุปกรณ์เหล่านี้จนท าให้สามารถร่อนสารต่างๆที่ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ แม้ว่าในขั้นแรกจะไม่สามารถร่อนสารทั้งหมดทุกชนิด ได้มีการปรับปรุง เช่น เปลี่ยนขนาดของตะแกรงให้เหมาะสมจนสามารถใช้งานได้กับข้าวสารจากโรงสี สามารถร่อนสิ่งเจือปน และ มอด ออกจากข้าวได้โดยไม่ต้องใช้สารเคมี ท าให้ได้ข้าวที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ข้อเสนอแนะ

1. ควรพัฒนาเครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์ที่สามารถใช้ได้อย่างสะดวกและคล่องตัวมากข้ึน ส าหรับการใช้ในครัวเรือน

2. ควรพัฒนาให้เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์สามารถใช้ในการร่อนสารได้หลายชนิด

Page 18: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

11

3. ควรพัฒนาไปใช้ในระบบโรงงานอุตสาหกรรมเพ่ือไม่ต้องใช้สารเคมีในการก าจัดมอด เพ่ือ รักษาสุขภาพของผู้บริโภค

Page 19: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

12

บรรณานุกรม ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์. สารานุกรมผัก. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์แสงแดด, 2545. ประโยชน์ อยู่คงพันธุ์. การติดตั้ง-ซ่อมไฟฟ้าในบ้าน. กรุงเทพ : ส านักพิมพ์วาดศิลป์, 2548 ลีโอนิคส์. เรื่องของพลังงาน. เว็บไซต์ : http://www.leonics.co.th/html/th/aboutpower/

solar_knowledge.php. สบืค้นเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2559 สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว. ไฟฟ้าอิเลคทรอนิกส์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ : บริษัท ท.ีพี.พริ้นท์ จ ากัด, 2524

Page 20: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

13

ภาคผนวก

Page 21: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

14

คู่มือประกอบการใช้งาน ประเภทที่ 2 สิ่งประดษิฐ์ด้านการประกอบอาชีพ

เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค ์วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม

วิธีการใช้งานเครื่องร่อนอเนกประสงค์

1. เสียบปลั๊กเครื่องร่อนแป้ง 2. เทแป้งใส่ในถ้วยกรอง 3. เปิดสวิต (on) 4. เครื่องท างานโดยการร่อนแป้งลงในถ้วยที่เตรียมไว้ 5. เมื่อร่อนแป้งได้ตามที่ต้องการแล้วให้ปิดสวิต (off) 6. ถอดปลั๊กเครื่องร่อนแป้งออก

เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์ที่ประดิษฐ์ขึ้นนี้ สามารถท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับใช้แรงงานคน นอกจากนี้ยังอ านวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ และเป็นการประหยัดแรงงานอีกด้วย

Page 22: สอศ. 3) รายงานผลโครงการวิจัย เรื่อง เครื่องร่อนแป้งอเนกประสงค์¸‡านแข่งขันทักษะ/ประเภท...ส

15

ประวัติผู้วิจัย

1. ชื่อ-สกุล : นายสมชาย ตะโกพร วัน เดือน ปี ที่เกิด : 8 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2503 วุฒิการศึกษา : วท.บ. (เทคโนโลยีการเกษตร)

ศศ.ม. (เทคโนโลยีสื่อสารเพื่อการศึกษา) ต าแหน่งและสถานที่ท างาน : ต าแหน่ง ครู วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม

2. ชื่อ-สกุล : นางสาวปารวี จ าปาดี วัน เดือน ปี ที่เกิด : 19 เดือนตุลาคม พ.ศ.2534 วุฒิการศึกษา : คบ. (วิทยาศาสตร์) ต าแหน่งและสถานที่ท างาน : ต าแหน่ง ครู วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม

3. ชื่อ-สกุล : นายวิศัลย์ ออมทรัพย์ วัน เดือน ปี ที่เกิด : 22 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2534 วุฒิการศึกษา : วท.บ. (วิทยาศาสตร์การกีฬา) ต าแหน่งและสถานที่ท างาน : ต าแหน่ง ครู วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม

4. ชื่อ-สกุล : นางสาวมาฆพร ดีมูล วัน เดือน ปี ที่เกิด : 28 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 วุฒิการศึกษา : วท.บ. (ชีววทิยาประยุกต์)

วท.บ. (อาหาร โภชนาการและการประยุกต์) วท.ม. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม)

ต าแหน่งและสถานที่ท างาน : ต าแหน่ง ครู วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม