ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท...

22
คำนำ รายงานวิเคราะห์สถานการณ์การจัดทาข้อมูลเชิงพื้นที่จังหวัด เป็นรายงาน สถานการณ์ที่สานักงานสถิติจังหวัดบุรีรัมย์ได้จัดทาขึ้น เพื่อรวบรวมประมวลข้อมูล ที่น่าสนใจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4 ปี และวิเคราะห์ ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว ด้วยการนา ข้อมูลสารสนเทศมาประกอบการกาหนดผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ ( Product Champion) และห่วงโซ่คุณค่า ( Value Chain) และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็น ยุทธศาสตร์กับตัวแปรที่สาคัญ ที่จะนาไปสู่การกาหนดปัจจัยสู่ความสาเร็จที่เหมาะสม ด้วยข้อมูลสารสนเทศตามประเด็นต่างๆ สานักงานสถิติจังหวัดบุรีรัมย์ ได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้ม ของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัดใน 3 ประเด็น คือ ยุทธศาสตร์ที1 พัฒนาเป็น ศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม ยุทธศาสตร์ที2 พัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัย และยุทธศาสตร์ที3 พัฒนาไหมพื้นบ้านสู่สากล โอกาสนี้ สานักงานสถิติจังหวัดบุรีรัมย์ ขอขอบคุณคณะกรรมการสถิติระดับ จังหวัด และหน่วยงานต่างๆ ที่ได้อนุเคราะห์ข้อมูล ซึ่งเป็นผลทาให้การวิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัดสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี และ หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารในพื้นที่ และผู้สนใจ

Upload: others

Post on 22-Sep-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

ค ำน ำ

รายงานวิเคราะห์สถานการณ์การจัดท าข้อมูลเชิงพื้นที่จังหวัด เป็นรายงานสถานการณ์ที่ส านักงานสถิติจังหวัดบุรีรัมย์ได้จัดท าขึ้น เพื่อรวบรวมประมวลข้อมูล ที่น่าสนใจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4 ปี และวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว ด้วยการน าข้อมูลสารสนเทศมาประกอบการก าหนดผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นยุทธศาสตร์กับตัวแปรที่ส าคัญ ที่จะน าไปสู่การก าหนดปัจจัยสู่ ความส าเร็จที่เหมาะสมด้วยข้อมูลสารสนเทศตามประเด็นต่างๆ

ส านักงานสถิติจังหวัดบุรีรัมย์ ได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัดใน 3 ประเด็น คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัย และยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาไหมพื้นบ้านสู่สากล

โอกาสนี้ ส านักงานสถิติจังหวัดบุรีรัมย์ ขอขอบคุณคณะกรรมการสถิติระดับจังหวัด และหน่วยงานต่างๆ ที่ได้อนุเคราะห์ข้อมูล ซึ่งเป็นผลท าให้การวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัดส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารในพื้นที่ และผู้สนใจ

Page 2: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน
Page 3: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

1

รายงานวิเคราะห์สถานการณ์การจัดท าข้อมูลเชิงพื้นที่ จังหวัดบุรีรัมย ์

ตามแผนพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ ปี พ.ศ. 2558 – 2561 ได้ก าหนดวิสัยทัศน์เพื่อก าหนดทิศทางการพัฒนา ดังนี้

วิสัยทัศน์ : ศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม เศรษฐกิจมั่นคง สงัคมเป็นสุข

เป้าประสงค์ : 1. สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้นเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว 2. เกษตรปลอดภัย ผลิตภัณฑ์จากไหมและการค้าชายแดน 3. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน รักษาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. เพื่อสร้างความพึงพอใจและไว้วางใจแก่ประชาชน ตอบสนองข้อร้องเรียนของประชาชน

ประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด : ยุทธศาสตรท์ี่ 1 พัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม ยุทธศาสตรท์ี่ 2 พัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัย ยุทธศาสตรท์ี่ 3 พัฒนาไหมพื้นบ้านสูส่ากล ยุทธศาสตรท์ี่ 4 พัฒนาคุณภาพชีวิต

Page 4: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

2

ข้อมูลทั่วไป จังหวัดบุรีรัมย์ตั้งอยู่ ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง สภาพพื้นที่

โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง พื้นที่ลาดจากทิศใต้ลงไปทางทิศเหนือ พื้นที่มีลักษณะเป็นลูกคลื่นน้อยเป็นที่ราบขั้นบันไดช่องเขาและภูมิประเทศที่เกิดจากภูเขาไฟ มีเนื้อที่ประมาณ 10,321 ตารางกิโลเมตร จัดว่าเป็นจังหวัดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 17 ของประเทศ

จากการศึกษาของนักโบราณคดี พบหลักฐานการอยู่อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยทวารวดี และที่ส าคัญที่สุด คือมีการค้นพบหลักฐานทางวัฒนธรรมของเขมรโบราณ ซึ่งมีทั้งปราสาทอิฐและปราสาทหินจ านวนมากกว่า 60 แห่ง รวมทั้งพบแหล่งโบราณคดีที่ส าคัญ คือ เตาเผา ภาชนะดินเผา และภาชนะดินเผาแบบที่เรียกว่า “เครื่องถ้วยเขมร”

จังหวัดบุรีรัมย์ มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 10,393.945 ตารางกิโลเมตร หรือ 6,451,178 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 6.11 ของพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และคิดเป็นร้อยละ 2.01 ของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทย

การปกครองแบ่งออกเป็น 23 อ าเภอ 188 ต าบล 2546 หมู่บ้าน การปกครองส่วนท้องถิ่นประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง 3 แห่ง เทศบาลต าบล 57 แห่ง และองค์การบริหารสว่นต าบล 148 แห่ง จ านวนประชากรทั้งสิ้น1,570,128 คน เป็นชาย 783,461 คน เป็นหญิง 786,667 คน (ข้อมูลประชากร ณ เดือนสิงหาคม 2556)

ตารางที่ 1 พื้นที่ถือครองเพื่อการเกษตร ปี พ.ศ. 2554-2556 2554 2555 2556 พื้นที่เกษตรกรรม (ไร่) 4,088,182 3,972,094 4,156,568 ครัวเรอืนเกษตรกรรม (ครัวเรอืน) 238,337 214,006 238,668 ท่ีมา: แผนพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ 4 ปี (พ.ศ. 2558-2561)

Page 5: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

3

จากการรวบรวมข้อมูล พื้นที่เกษตรกรรมของจังหวัดบุรีรัมย์ ปี 2555 ลดลงจาก ปี 2554 อยู่ 116,088 ไร่ เป็นผลมาจากการเกิดปัญหาความแห้งแล้งที่ท าให้เกิดความเสียหายในปี 2555 และในพื้ นที่ เกษตรกรรมในปี 2556 เพิ่ มขึ้นจากปี 2555 อยู่ 184,474 ไร่ เป็นการฟื้นตัวจากปัญหาความแห้งแล้ง มีฝนตกมากขึ้นชี้ให้เห็นว่า ประชากรจังหวัดบุรีรัมย์ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพิ่มขึ้น ผลผลิตที่สร้างชื่อให้แก่จังหวัดในด้านพืช ได้แก่ ข้าว มันส าปะหลัง อ้อย และยางพารา เป็นต้น ด้านปศุสัตว์ ได้แก่ โคเนื้อ โคนม กระบือ สุกร ไก่เนื้อ และไก่พื้นเมือง

Page 6: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

4

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจจังหวัดบุรีรัมย ์

1. การวิเคราะห์สถานการณ์ข้อมูล : ด้านเศรษฐกิจ

จากรายงานของส านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2555 จังหวัดบุรีรัมย์มีรายได้ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) คิดเป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้น 70,096 ล้านบาท แยกเป็นภาคเกษตร 18,827 ล้านบาท ภาคนอกเกษตร 51,270 ล้านบาท มีรายได้เฉลี่ย 55,318 บาทต่อคนต่อป ี

ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 , 2 และ 3 อยู่ในมิติด้านเศรษฐกิจ มีประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 คือ “การพัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวและอารยธรรมขอม” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 “พัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัย” และประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 “การพัฒนาไหมพื้นบ้านสู่สากล” โดยก าหนดเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ คือ “สร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้นเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว เกษตรปลอดภัย ผลิตภัณฑ์จากไหมและการค้าชายแดน ซึ่งมีกลยุทธ์และตัวชี้วัดที่ส าคัญ ในการก าหนดผลิตภัณฑ์ที่ส าคัญของจังหวัดด้านเศรษฐกิจ ได้ก าหนด 3 ผลิตภัณฑ์ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ดังนี้

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม กลยุทธ์ทีส่ าคัญของยทุธศาสตร์ที่ 1 ประกอบไปด้วย

1. พัฒนาและพื้นฟูแหล่งทอ่งเที่ยวและโครงข่ายคมนาคม 2. พัฒนาตลาดท่องเที่ยวเชิงรุก เช่ือมโยงอารยธรรมขอมและสินค้า OTOP 3. พัฒนาบุคลากรและระบบบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว 4. พัฒนาการค้าชายแดน

ตัวช้ีวัดที่ส าคญัของยุทธศาสตรท์ี่ 1 ประกอบไปด้วย 1. มูลคา่การคา้ชายแดนเพิม่ขึ้นร้อยละ 40 2. รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นรอ้ยละ 40

Page 7: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

5

ประเทศไทยมีการพัฒนาการท่องเที่ยวมายาวนาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 มีจ านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ 81,000 คน ต่อมาในปี พ.ศ. 2516 มีจ านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติมากกว่า 1 ล้านคน และในอีก 8 ปีต่อมา (ปี พ.ศ. 2524) มีจ านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเพิ่มมากขึ้น 2 เท่า คือ ประมาณ 2 ล้านคน หลังจากนั้น ภายในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี คือ ในปี พ.ศ. 2533 ประเทศไทยมีจ านวนนักท่องเที่ยว ต่างชาติเพิ่มขึ้นอีก 2 เท่า เป็น 5.3 ล้านคน และในปี พ.ศ. 2544 มีจ านวนเพิ่มขึ้นถึง 10 ล้านคน โดยอีก 11 ปีให้หลัง คือในปี พ .ศ. 2555 จ านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอีก 2 เท่า เมื่อเทียบจากปี พ.ศ. 2544 คือ 22.3 ล้านคน

นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เข้ามาเที่ยวในประเทศไทยประกอบด้วย นักท่องเที่ยวที่มาจากหลายภูมิภาค คือ จากภูมิภาคเอเชีย (ร้อยละ 65.2) และภูมิภาคยุโรป (ร้อยละ 23.8) ซึ่งเมื่อรวมกันแล้ว ท าให้นักท่องเที่ยวจากเอเชียและยุโรปกลายเป็นกลุ่มตลาดหลักของการท่องเที่ยวของไทย คิดเป็นสัดส่วนเกือบร้อยละ 90

ในช่วง ปี 2552 - 2554 แต่หลั งจากปี 2554 ถึง ปี 2555 มีนั กท่องเที่ ยว ในทิศทางลดลงอย่างต่อเนื่อง ต่อมาได้มีการรณรงค์สถานที่ท่องเที่ยว ท าให้มีจ านวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น ดังแผนภาพการวิเคราะห์แนวโน้มการท่องเที่ยวของจังหวัดบุรีรัมย์ ดังน้ี

แผนภูมทิี่ 1 จ านวนนักท่องเที่ยว ระหว่างปี พ.ศ. 2552 - 2556

ท่ีมา : ส านักงานท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัดบุรีรัมย์

478,125

468,437 460,144

507,551

420,000

440,000

460,000

480,000

500,000

520,000

2552 2553 2554 2555

คน

Page 8: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

6

แผนภูมทิี่ 2 รายได้จากการท่องเที่ยว ระหว่างปี พ.ศ. 2552-2555

ท่ีมา : ส านักงานท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัดบุรีรัมย์

ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เพื่อก าหนดห่วงโซ่คุณค่า และปัจจัยสู่ความส าเร็จ ที่ส าคัญ พบว่า จ านวนนักท่องเที่ยว รายได้จากการท่องเที่ยว เป็นตัวแปรที่ส าคัญในการเลือกห่วงโซ่คุณค่า จึงมีการก าหนดสมการความสัมพันธ์ของการท่องเที่ยว ดังน้ี

สมการความสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : การท่องเที่ยวอารยธรรมขอม Y “การ

ท่องเที่ยว” = X1 + X2 +

มูลคา่ผลิตภัณฑ์ด้านการท่องเที่ยว

จ านวนนักท่องเที่ยว (คน)

รายได้จากการท่องเทีย่ว (ล้านบาท)

808 984

1,148

1,406

0200400600800

1,0001,2001,4001,600

ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555

ล้านบาท

Page 9: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

7

ด้วยปริมาณที่มีอยู่ สามารถก าหนดสมการความสัมพันธ์ของ จ านวนนักท่องเที่ยว (คน) และสมการรายได้จากการท่องเที่ยว (ล้านบาท) โดยเป็นการอธิบายแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงตามกันระหว่างจ านวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยว ที่มีแนวโน้มแปรผันตามกัน โดยสมการผลผลิตรวมของรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งจังหวัด คือ Y = 195x + 597 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการเป็นบวกที่ 195x และมีค่า R2 หรือความสามารถในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงผลผลิตด้วยสมการเชิงเส้นที่ 0.988 ในขณะที่สมการจ านวนนักท่องเที่ยว Y = 7,998x + 458,568 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการเป็นบวกที่ 7,998x ซึ่งมีค่าบวกเช่นเดียวกับสมการรายได้จากการท่องเที่ยว ด้วยค่า R2 = 0.249

ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจหรือ R2 ของความสัมพันธ์การท่องเที่ยว พบว่า R2 ของรายได้จากการท่องเที่ยว เท่ากับ 0.988 และ R2 ของจ านวนนักท่องเที่ยว เท่ากับ 0.249 นั่นคือ มูลค่าเศรษฐกิจทางด้านการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม (ตัวแปร Y) มีความสัมพันธ์กับจ านวนนักท่องเที่ยว มากกว่า รายได้จากการท่องเที่ยว ดังแผนภาพที่ 3

แผนภูมทิี่ 3 ข้อมูลความสัมพันธ์ที่มีแนวโน้มแปรผันตามกัน : จ านวน นักท่องเที่ยว (คน) และรายได้จากการท่องเที่ยว (ล้านบาท) ระหว่างปี

พ.ศ. 2552 – 2555

ท่ีมา : ส านักงานการท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัดบุรีรัมย์

y = 7,998x + 458,568R² = 0.249

y = 195x + 597R² = 0.988

02004006008001,0001,2001,4001,600

430,000440,000450,000460,000470,000480,000490,000500,000510,000520,000

ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555

ล้านบาทคน

จ านวนนักท่องเที่ยว รายได้จากการท่องเที่ยวเชิงเส้น (จ านวนนักท่องเที่ยว) เชิงเส้น (รายได้จากการท่องเที่ยว)

Page 10: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

8

ทิศทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ได้จัดท ายุทธศาสตร์ส าคัญ 6 ประเด็น ซึ่งให้ความส าคัญกับการพัฒนาทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในส่วนของยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่ของส านักงานสถิติแห่งชาติที่แบ่งออกเป็น 3 ด้าน โดยมีรายการข้อมูลหรือสถิติทางการที่ส าคัญจ าเป็นต่อการพัฒนาพื้นที่ 21 สาขา ครอบคลุมทั้งเรื่อง เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่นเดียวกัน และในส่วนของแผนพัฒนาจังหวัด / กลุ่มจังหวัด ที่ก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนานั้น ในกระบวนการจัดท าได้มีการทบทวนและน าแนวทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 และวาระแห่งชาติต่างๆ ใช้ประกอบการก าหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่แล้วด้วย ดังนั้น การพัฒนาข้อมูลให้มีเพียงพอ จึงเป็นเรื่องส าคัญที่จะช่วยตอบสนองในการจัดท าแผนหรือการก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่นั้นๆ ได้

รายงานสถานการณ์การจัดท าข้อมูลเชิงพื้นที่ ระดับจังหวัดนี้ เป็นรายง านสถานการณ์ที่ส านักงานสถิติจังหวัดได้จัดท าขึ้นเพื่อรวบรวมประมวลข้อมูลที่น่าสนใจต่างๆ เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4 ปี และวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มของยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว ด้วยการน าข้อมูลสารสนเทศมาประกอบการก าหนดผลิตภัณฑ์ที่ ส าคัญ และห่วงโซ่คุณค่า และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นยุทธศาสตร์กับตัวแปรที่ส าคัญ ที่จะน าไปสู่การก าหนดปัจจัยสู่ความส าเร็จที่เหมาะสมด้วยข้อมูลสารสนเทศ

รายงานนี้ จึงเป็นการแสดงชุดข้อมูลที่ส าคัญ จ าเป็น และเพียงพอต่อการตัดสินใจส าหรับการจัดท าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4 ปี รวมทั้งข้อมูลรายละเอียด (Profile) ใน 3 มิติ คือ เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

ด้านเศรษฐกิจ ประกอบไปด้วยด้านรายการสถิติ 11 สาขา คือ สาขาบัญชีประชาชาติ สาขาเกษตร และประมง สาขาอุตสาหกรรม สาขาพลังงาน สาขาการค้าและราคา สาขาขนส่ง และโลจิสติกส์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาการท่องเที่ยวและการกีฬา สาขาการเงิน การธนาคาร และประกันภัย สาขาการคลัง และสาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม

Page 11: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

9

ด้านสังคม ประกอบไปด้วยด้านรายการสถิติ 9 สาขา คือ สาขาประชากรศาสตร์ ประชากรและเคหะ สาขาแรงงาน สาขาการศึกษา สาขาศาสนาศิลปะ วัฒนธรรม สาขาสุขภาพ สาขาสวัสดิการสังคม สาขาหญิงและชาย สาขารายได้และรายจ่ายของครัวเรือน และสาขายุติธรรมความมั่นคง การเมืองและการปกครอง

ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยรายการสถิติ 1 สาขา คือ สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

การพัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวอารยธรรมขอม มีการใช้รายงานสถิติทางการระดับจังหวัดด้านเศรษฐกิจและด้านสังคม ประกอบด้วย 2 สาขาที่ส าคัญ คือ สาขาการท่องเที่ยวและกีฬา สาขาบัญชีประชาชาติ และด้านสังคมประกอบไปด้วย 1 สาขา คือ สาขาศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม มีข้อมูลที่ต้องจัดเก็บจ านวน 46 ชุด เป็นชุดข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นปกติจ านวน 13 ชุด เป็นชุดข้อมูลที่ต้องมีการพัฒนา 10 ชุด และยังต้องการชุดข้อมูลที่ไม่ได้มีการจัดเก็บในพื้นที่ 23 ชุด โดยมีหน่วยงานรับผิดชอบคือ ส านักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัย ก าหนด ข้าวหอมมะลิปลอดภัย เป็นผลิตภัณฑ์ที่ส าคัญของจังหวัด

กลยุทธ์ที่ส าคัญของยุทธศาสตร์ที่ 2 ประกอบไปด้วย 1. ส่งเสริมการจัดท า Zoning การผลิตสินค้าการเกษตร 2. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร 3. ส่งเสริมและพัฒนาการผลิต การแปรรูป การตลาด สินค้าเกษตรปลอดภัย 4. พัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพแรงงานภาคเกษตร กลุ่มอาชีพ และวิสาหกิจชุมชน

ตัวช้ีวัดที่ส าคัญของยุทธศาสตร์ที่ 2 ประกอบไปด้วย 1. อัตราการขยายตัวของ GPP ภาคเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 2. จ านวนแปลงที่ได้รับมาตรฐาน GAP (แปลง) 3. จ านวนพื้นที่ผ่านการรับรองมาตรฐานอินทรีย์ (ไร่)

Page 12: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

10

ข้าวนับว่าเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส าคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย โดยเฉพาะข้าวหอมมะลิ ในแต่ละปีประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวหอมมะลิไปยังตลาดโลก สร้างรายได้เข้าประเทศปีละกว่า 26,000 ล้านบาท และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น หลายประเทศทั่วโลกนิยมทานข้าวหอมมะลิกันมากขึ้น เนื่องจากได้รับการยอมรับว่าเป็นแหล่งผลผลิตที่มีคุณภาพและน่าเชื่อถือ

“ข้าวหอมมะลิ” (Organic Thai Jasmine Rice) เป็นข้าวเจ้าและธัญพืชที่มีถิ่นก าเนิดในประเทศไทย เป็นข้าวไทยสายพันธุ์แท้ดั้งเดิม พันธุ์เดียวในโลก ไม่มีการตัดต่อยีนส์ใดๆ เป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ และเป็นข้าวที่ได้รับการกล่าวขวัญว่าเป็นข้าว ที่อร่อยที่สุดในโลก แม้ว่าหลายประเทศได้พยายามปลูกข้าวสายพันธุ์นี้ แต่ไม่มีประเทศใดสามารถปลูกได้คุณภาพดีเท่ากับปลูกในประเทศไทย

แหล่งเพาะปลูกข้าวหอมมะลิที่ดีที่สุดของไทยส าคัญ ได้แก่ จังหวัดพะเยา เชียงราย บุรีรัมย์ อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด อ านาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร สุรินทร์ เพชรบูรณ์ และมหาสารคาม ตลาดส่งออกข้าวหอมมะลิอินทรีย์ สามารถส่งออกไปตลาดต่างประเทศที่มีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 1 ได้แก่ ตลาดสหภาพยุโรป ตลาดสหรัฐอเมริกา ญี่ปุน่ สงิคโปร์

แผนภาพท่ี 1 การวิเคราะห์ BCG Matrix ของผลิตภัณฑ์การเกษตรจังหวัดบุรีรัมย์

ข้าว, 67.19, 7.00

มันส าปะหลัง, 7.35, 16.49อ้อย, 7.56, 13.04

ยางพารา, 9.60, 23.24

โคเนื้อ, 2.42, -11.05

ไก่เนื้อ, 2.81, 4.57

สุกร, 2.44, 20.25

-100

-80

-60

-40

-20

0

20

40

-20020406080 ข้าวมันส าปะหลังอ้อยยางพาราโคเนื้อไก่เนื้อสุกร

Page 13: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

11

จากการวิเคราะห์ BCG Matrix ของจังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ผลิตภัณฑ์ที่เป็นดาวเด่น (star) ไม่มีผลิตภัณฑ์ที่ท าเงิน (Cash Cows) คือ ข้าว ผลิตภัณฑ์ที่มีปัญหา (Question Mark) คือ ยางพารา สุกร มันส าปะหลัง และอ้อย ผลิตภัณฑ์ที่ตกต่ า (Dogs) คือ ไก่เนื้อ และโคเนื้อ

แนวโน้มการเพาะปลูกข้าวหอมมะลิของจังหวัดบุรีรัมย์ ในระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่ปีการเพาะปลูกปี 2554-2556 มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย คือ ปี 2554 จังหวัดบุรีรัมย์มีพื้ นที่ เพาะปลูก 3,056,421 ไร่ และในปี 2556 มีพื้ นที่ เพาะปลูก 3,045,180 ไร่ แต่ในขณะที่ผลผลิตข้าวหอมมะลิของจังหวัดบุรีรัมย์มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ในปี 2554 มีผลผลิตข้ าวหอมมะลิ 996,975 ตัน และในปี 2556 มีผลผลิต 1,076,771 ตัน ดังแผนภมูิที่ 4 และ 5

แผนภูมิที่ 4 เนื้อที่เพาะปลูกข้าวหอมมะลิ ระหว่างปี พ.ศ. 2554 – 2556

ท่ีมา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร

3,056,421

3,053,060

3,045,180

3,038,0003,040,0003,042,0003,044,0003,046,0003,048,0003,050,0003,052,0003,054,0003,056,0003,058,000

2554 2555 2556

ไร่

Page 14: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

12

แผนภูมทิี่ 5 ผลผลติข้าวหอมมะลิ ระหว่างปี พ.ศ. 2554 – 2556

ท่ีมา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เพื่อก าหนดห่วงโซ่มูลค่าและปัจจัยสู่ความส าเร็จ ที่ส าคัญ พบว่า ต้นทุนการผลิตข้าวหอมมะลิ จ านวนเกษตรกรที่ปลูกข้าวหอมมะลิ จ านวนพื้นที่การเพาะปลูกข้าวหอมมะลิ ปริมาณผลผลิตข้าวหอมมะลิ เป็นตัวแปรที่ส าคัญในการเลือกห่วงโซ่มูลค่า จึงมีการก าหนดสมการความสัมพันธ์ของข้าวหอมมะลิ ดังน้ี สมการความสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : ข้าวหอมมะลิ Y “ข้าวหอม

มะล ิ= X1 + X2 + X3 + X4

มูลคา่ผลิตภัณฑ์ข้าวหอมมะล ิ

ต้นทุนการผลิตข้าวหอมมะล ิ

จ านวนเกษตรกรที่ปลูกข้าวหอมมะล ิ

จ านวนพื้นที่เพาะปลูกข้าวหอมมะล ิ

ปริมาณผลผลิตข้าวหอมมะล ิ

996,975

1,055,9071,076,771

940,000960,000980,000

1,000,0001,020,0001,040,0001,060,0001,080,0001,100,000

2554 2555 2556

ตัน

Page 15: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

13

วิเคราะห์ข้อมูลความสัมพันธ์ของ พื้นที่เก็บเกี่ยวข้าว (ไร่) และผลผลิตข้าว (ตัน) ด้วยปริมาณที่มีอยู่ สามารถก าหนดสมการความสัมพันธ์ของ พื้นที่เก็บเกี่ยวข้าว

ทั้ งจั งหวัด และสมการผลผลิ ตข้ าวทั้ งจั งหวัด โดย เป็ นการอธิบายแนวโน้ ม การเปลี่ยนแปลง ตามกันระหว่างพื้นที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตข้าว ที่มีแนวโน้มแปรผัน ตามกัน โดยสมการผลผลิตรวมของพื้นที่เก็บเกี่ยวทั้งจังหวัด y = 119,985x + 3E + 06 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการเป็นบวกที่ 119,985x และมีค่า R2 หรือความสามารถในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงผลผลิตด้วยสมการเชิงเส้นที่ 0.845 ในขณะที่สมการผลผลิตข้าวทั้งจังหวัด y = 39,898x + 963,422 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการเป็นบวกที่ 39,898x ซึ่งมีค่าบวกเช่นเดียวกับสมการพื้นที่เก็บเก่ียวข้าวทั้งจังหวัด ด้วยค่า R2 = 0.929

ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจหรือ R2 ในการศึกษาความสัมพันธ์ของข้าว แสดงดังแผนภาพที่ 6 พบว่า R2 ของพื้นที่เก็บเกี่ยวข้าวทั้งจังหวัด เท่ากับ 0.845 และ R2 ของผลผลิตข้าวทั้งจังหวัด เท่ากับ 0.929 นั่นคือ มูลค่าเศรษฐกิจทางด้านเกษตร (ตัวแปร Y) มีความสัมพันธ์กับพื้นที่เก็บเกี่ยวข้าวทั้งจังหวัด มากกว่า ผลผลิตข้าว แผนภูมทิี่ 6 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของขอ้มูลทีม่ีแนวโน้มแปรผนัตามกัน : พื้นที ่ เก็บเกี่ยวข้าวทั้งจังหวัด กับผลผลิตข้าวทั้งจังหวัด ระหว่างปี พ.ศ. 2554-2556

ท่ีมา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร

y = 119,985x + 3E+06R² = 0.845

y = 39,898x + 963,422R² = 0.929

0500,000

1,000,0001,500,0002,000,0002,500,0003,000,0003,500,000

2554 2555 2556เนื้อท่ีเก็บเก่ียว (ไร่)

Page 16: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

14

ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัย (ข้าวหอมมะลิปลอดภัย)มีการใช้รายงานสถิติทางการระดับจังหวัดด้านเศรษฐกิจประกอบด้วย 2 สาขาที่ส าคัญ คือ สาขาบัญชีประชาชาติ และสาขาเกษตร มีข้อมูลที่ต้องจัดเก็บจ านวน 55 ชุด เป็นชุดข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นปกติจ านวน 14 ชุด เป็นชุดข้อมูลที่ต้องมีการพัฒนา 5 ชุด และยังต้องการชุดข้อมูลที่ไม่ได้มีการจัดเก็บในพื้นที่ 36 ชุด โดยมีหน่วยงานรับผิดชอบคือ ส านักงานเกษตรจังหวัด ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ส านักงานพาณิชย์จังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาไหมพื้นบ้านสู่สากล ก าหนด ผลิตภัณฑ์ไหม เป็นผลิตภัณฑ์ที่ส าคัญของจังหวัด

กลยุทธ์ที่ส าคัญของยุทธศาสตร์ที่ 3 ประกอบไปด้วย 1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิตไหมปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2. ส่งเสริมการผลิตและพฒันาผลิตภัณฑ์ไหมปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ม 3. เพิ่มช่องทางการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ไหมสู่สากล 4. จัดระบบการบริหารจัดการพัฒนาหม่อนไหมเชิงพาณิชย์

กลยุทธ์ที่ส าคัญของยุทธศาสตร์ที่ 3 ประกอบไปด้วย 1. มูลค่าการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์จากไหมเพิ่มขึ้นร้อยละ 20

ผ้าไหม ผ้าไหม เป็นผลิตภัณฑ์ที่ทรงคุณค่า และเป็นการสืบทอดภูมิปัญญาที่น่าภาคภูมิใจ

ของคนไทย ไม่เพียงแต่จะเป็นเอกลักษณ์ของคนไทยเท่านั้น หากแต่บนผืนผ้าในแต่ละชนิด แต่ละประเภท ยังบอกเล่าถึงเรื่องราวต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ทั้งจากลวดลายที่คิดค้นด้วยภูมิปัญญาสืบทอดต่อกันมา และสีของผ้าที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในพื้นที่ได้อย่างคุ้มค่า ผ้าไหมยังเป็นอาภรณ์ที่เชิดชูบุคลิกภาพของผู้สวมใส่ให้สง่างาม สร้างความน่าเชื่อถือได้อย่างน่าประหลาดใจ จังหวัดบุรีรัมย์เป็นจังหวัดหนึ่งที่มีชื่อเสียงในด้านการทอผ้าไหมมาแต่ครั้งโบราณกาล ไม่ว่าจะเป็นผ้าไหมมัดหมี่ หรือ ผ้าไหมพื้นเรียบ โดยรูปแบบและลวดลายของผ้าในแต่ละท้องถิ่นแสดงถึงอัตลักษณ์และวัฒนธรรม ที่แตกต่างกัน มีการอนุรักษ์รูปแบบและลวดลายดั้งเดิมที่ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญา

Page 17: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

15

มาจาก บรรพบุรุษรวมถึงการพัฒนารูปแบบและลวดลายประยุกต์โดยอาศัยการจินตนาการผนวกกับความช านาญในการผลิตผ้าไหม ปัจจุบันผ้าไหมของจังหวัดบุรีรัมย์เป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียง มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนให้การส่งเสริม สนับสนุนการทอผ้าไหม ในด้านเทคนิควิธีการผลิตและการจัดจ าหน่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ จนท าให้ผ้าไหมของไทยเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก ส่งผลให้ชาวบ้านมีรายได้ จากการทอผ้าเป็นอาชีพหลัก

ประเทศคู่ค้าที่ส าคัญ จากสภาวะทางการแข่งขันสินค้าไหมในปัจจุบันเริ่มทวีความรุนแรงมากขึ้น ทั้งข้อก าหนดทางหลักเกณฑ์หรือระเบียบการบริหารการน าเข้าสินค้าเกษตรภายใต้ความผูกพันขององค์การการค้าโลก (WTO) การสร้างฐานการผลิตหรือฐานการกระจายสินค้าไหมในบางประเทศ ท าให้การรักษาส่วนแบ่งตลาดของประเทศคู่ค้าเดิมมีความส าคัญมาก โดยประเทศไทยมีมูลค่าการน าเข้าจากประเทศจีนเป็นอันดับ 1 แทบจะทุกตัวสินค้าไหม ยกเว้นการน าเข้าไหมดิบที่น าเข้าจากประเทศเวียดนามเป็นอันดับ 1 และผลิตภัณฑ์ไหมที่เป็นผ้าคลุมไหล่ ผ้าผันคอชนิดสี่เหลี่ยม ผ้าผันคอ ผ้าคลุมหน้า และของที่คล้ายกันน าเข้าจากประเทศอิตาลีเป็นอันดับ 1

ประเทศไทยที่ส่งออกสินค้าวัตถุดิบไหมและผลิตภัณฑ์ไหมไปยังต่างประเทศ ประเทศคู่ค้าอันดับ 1 ของประเทศไทยมีลักษณะกระจายตัวในหลายประเทศ อาทิ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น อาหรับเอมิเรต ฟินแลนด์ และฝรั่งเศส โดยวัตถุดิบไหมจะมีตลาดการส่งออกหลักอยู่ที่ประเทศญี่ปุ่น ส่วนผลิตภัณฑ์ไหมจะมีตลาดการส่งออกหลักอยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผลิตผ้าไหมจังหวัดบุรีรัมย์มีการผลิตกระจายตัวในอ าเภอต่างๆ มากกว่า 20 อ าเภอ อ าเภอที่มีก าลังการผลิตมาก ได้แก่ อ าเภอนาโพธิ์ อ าเภอพุทไธสง อ าเภอนางรองอ าเภอละหานทราย อ าเภอกระสัง อ าเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ และอ าเภอหนองหงส์ มีกลุ่มผลิตผ้าไหมในรูปแบบต่างๆ จ านวน 96 กลุ่ม หรือมีจ านวนผู้ผลิต 5,861 ราย ครัวเรือนปลูกหม่อนเลี้ยงไหม จ านวน 18,086 ครัวเรือน และได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) จ านวน 291 ครัวเรือน

Page 18: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

16

แนวโน้มของเกษตรกรผู้เลี้ยงไหมของจังหวัดบุรีรัมย์ ในระยะเวลา 6 ปี มีแนวโน้ม ที่เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบตั้งแต่ปี 2551 มีจ านวนเกษตรกรผู้เลี้ยงไหม 5,425 ราย และในปี 2556 มีจ านวนเกษตรกรผู้เลี้ยงไหมเพิ่มขึ้นเป็น 11,950 ราย และแนวโน้มของผลผลิต รังไหมสด ในระยะเวลา 6 ปี มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นเป็นหลายเท่าตัวเมื่อเทียบระหว่างปี 2551 มีผลผลิตรังไหมสด 32,340 กิโลกรัม และในปี 2556 มีผลผลิตรังไหมสด 235,789 กิโลกรัม

แผนภูมทิี่ 7 จ านวนเกษตรกรผู้เลี้ยงไหม ระหว่างปี พ.ศ. 2551 - 2556

แผนภูมทิี่ 8 จ านวนผลผลิตรังไหมสด ระหว่างปี พ.ศ. 2551 - 2556

5,425

10,890 10,890 11,550 11,850 11,950

-

5,000

10,000

15,000

2551 2552 2553 2554 2555 2556

ราย

32,340 40,425

142,160 150,895

206,889 235,789

-

50,000

100,000

150,000

200,000

250,000

2551 2552 2553 2554 2555 2556

ผลผลิตรังไหมสด (ก.ก./ปี)

ท่ีมา : ศูนยห์ม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติจังหวัดบุรีรัมย์

ท่ีมา : ศูนยห์ม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติจังหวัดบุรีรัมย์

Page 19: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

17

แผนภาพท่ี 9 ผลผลติเส้นไหม ระหว่างปี พ.ศ. 2551 – 2556

ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เพื่อก าหนดห่วงโซ่คุณค่าและปัจจัยสู่ความส าเร็จ ที่ส าคัญ พบว่า ต้นทุนการผลิตไหม จ านวนเกษตรกรผู้เลี้ยงไหม จ านวนผลผลิตเส้นไหม ปริมาณผลิตภัณฑ์ไหมแปรรูปเพื่อการจ าหน่าย เป็นตัวแปรที่ส าคัญในการเลือกห่วงโซ่คุณค่า จึงมีการก าหนดสมการความสัมพันธ์ของรังไหม ดังน้ี

สมการความสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ : ไหม Y “ไหม” = X1 + X2 + X3 + X4

มูลคา่ผลิตภัณฑ์ไหม

ต้นทุนการผลิตไหม

จ านวนเกษตรกร ผู้เลีย้งไหม

จ านวนผลผลิต เส้นไหม

ปริมาณผลิตภัณฑ์ไหมแปรรูปเพื่อการจ าหน่าย

ท่ีมา : ศูนยห์ม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติจังหวัดบุรีรัมย์

25,872

32,340

22,788

30,829

36,123 37,892

-

5,000

10,000

15,000

20,000

25,000

30,000

35,000

40,000

2551 2552 2553 2554 2555 2556

ผลผลิตเส้นไหม (กก.)

Page 20: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

18

วิเคราะห์ข้อมูลความสัมพันธ์ของ ผลผลิตรังไหมสด (กิโลกรัม) และ ผลผลิตเส้นไหม (กิโลกรัม)

ด้วยปริมาณที่มีอยู่ สามารถก าหนดสมการความสัมพันธ์ของ ผลผลิตรังไหมสด ทั้งจังหวัด และสมการผลผลิตเส้นไหมทั้งจังหวัด โดยเป็นการอธิบายแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงตามกันระหว่างผลผลิตรังไหมสดและผลผลิตเส้นไหมที่มีแนวโน้มแปรผันตามกัน โดยสมการผลผลิตรวมของผลผลิตรังไหมสดทั้งจังหวัด y = 46,489x – 44,917 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการเป็นบวกที่ 46,489x และมีค่า R2 หรือความสามารถในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงผลผลิตด้วยสมการเชิงเส้นที่ 0.895 ในขณะที่สมการผลผลิตเส้นไหมทั้งจังหวัด y = 2,271x + 23,025 มีค่าสัมประสิทธิ์ของสมการเป็นบวกที่ 2,271x มีค่า R2 = 0.533

ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจหรือ R2 ในการศึกษาความสัมพันธ์ของผลผลิต รังไหมสดทั้งจังหวัด และสมการผลผลิตเส้นไหมทั้งจังหวัด แสดงดังแผนภูมิที่ 10 พบว่า R2 ของผลผลิตรังไหมสดทั้งจังหวัด เท่ากับ 0.895 และ R2 ของผลผลิตเส้นไหมทั้งจังหวัด เท่ากับ 0.533 นั่นคือ มูลค่าเศรษฐกิจทางด้านเกษตรของไหม (ตัวแปร Y) มีความสัมพันธ์กับผลผลิตเส้นไหมทั้งจังหวัด มากกว่า ผลผลิตรังไหมสดทั้งจังหวัด

แผนภูมทิี่ 10 การวิเคราะห์ความสมัพันธ์ของข้อมูลทีม่ีแนวโน้มแปรผันตามกัน : ผลผลิตรังไหมสดทั้งจังหวัด กบัผลผลิตเส้นไหมทั้งจังหวัด ระหว่างปี พ.ศ. 2551-2556

32,340 40,425 40,425

150,895 206,889

235,789

25,872

32,340

22,788

30,829

36,123 37,892

y = 46,489x - 44,917R² = 0.895

y = 2,271x + 23,025R² = 0.533

-

5,000

10,000

15,000

20,000

25,000

30,000

35,000

40,000

-

50,000

100,000

150,000

200,000

250,000

2551 2552 2553 2554 2555 2556

ผลผลิตรังไหมสด (กก.) ผลผลิตเส้นไหม (กก.)เชิงเส้น (ผลผลิตรังไหมสด (กก.)) เชิงเส้น (ผลผลิตเสน้ไหม (กก.))

ท่ีมา : ศูนยห์ม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติจังหวัดบุรีรัมย์

ผลผลิตเส้นไหม (กก.) ผลผลิตรังไหมสด (กก.)

Page 21: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน

19

การพัฒนาไหมพื้นบ้านสู่สากล มีการใช้รายงานสถิติทางการระดับจังหวัด ด้านเศรษฐกิจประกอบด้วย 2 สาขาที่ส าคัญ คือ สาขาบัญชีประชาชาติ และสาขาเกษตร สาขาการค้าและราคา มีข้อมูลที่ต้องจัดเก็บจ านวน 60 ชุด เป็นชุดข้อมูลที่มีการจัดเก็บ เป็นปกติจ านวน 17 ชุด เป็นชุดข้อมูลที่ต้องมีการพัฒนา 7 ชุด และยังต้องการชุดข้อมูลที่ไม่ได้มีการจัดเก็บในพื้นที่ 36 ชุด โดยมีหน่วยงานรับผิดชอบคือ ส านักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ศูนย์หม่อนไหมฯ จังหวัด

Page 22: ค ำน ำosthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file...น กท องเท ยวต างชาต 81,000 คน ต อมาในป พ.ศ. 2516 ม จ านวนน