๑ ป ฺจสตภิกฺขุวตฺถุ ปทา ·...

7
1 ๒๐. มคฺควคฺค . ปฺจสตภิกฺขุวตฺถุ [๒๗๓] มคฺคานฏ งฺคิโก เสฏ สจฺจานํ จตุโร ปทา วิราโค เสฏ ธมฺมานํ ทิ ปทานฺจ จกฺขุมา. [๒๗๔] เอเสว 1 มคฺโค นตฺถฺโ ทสฺสนสฺส วิสุทฺธิยา เอตฺหิ ตุ มฺ ปฏิปชฺชถ มารสฺเสตํ ปโมหนํ . [๒๗๕] เอตฺหิ ตุ มฺ ปฏิปนฺ นา ทุกฺขสฺสนฺตํ กริสฺสถ อกฺขาโต โว 2 มยา มคฺโค อฺ าย สลฺลสตฺถนํ . 3 [๒๗๖] ตุเมฺหหิ กิจฺจํ าตปฺป อกฺขาตาโร ตถาคตา ปฏิปนฺนา ปโมกฺขนฺติ ฌายิโน มารพนฺธนา. . อนิจฺจลกฺขณวตฺถุ [๒๗๗] สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจาติ ยทา ปฺ าย ปสฺสติ อถ นิ พฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา. . ทุกฺขลกฺขณวตฺถุ [๒๗๘] สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขาติ ยทา ปฺ าย ปสฺสติ อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา. . อนตฺตลกฺขณวตฺถุ [๒๗๙] สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตาติ ยทา ปฺ าย ปสฺสติ อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา. . ปธานกมฺมิกติสฺสตฺเถรวตฺถุ [๒๘๐] อุฏ านกาลมฺหิ อนุฏ หาโน ยุวา พลี อาลสิยํ อุเปโต สํสนฺนสงฺกปฺปมโน 4 กุสีโต ปฺ าย มคฺคํ อลโส วินฺทติ . 1 สี.อิ. เอโสว 2 สี.อิ. อกฺขาโต เว 3 .. สลิลกนฺตนํ, สี.อิ. สลฺลสนฺถนํ 4 . อสมฺปนฺนสงฺกปฺปมโน

Upload: others

Post on 17-Oct-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ๑ ป ฺจสตภิกฺขุวตฺถุ ปทา · เรื่องพระโปฐิลเถระ (พระผู มีพระภาคตรัสพระคาถานี้แก

1

๒๐. มคฺควคฺค ๑. ปฺจสตภิกฺขุวตฺถุ

[๒๗๓] มคฺคานฏงฺคิโก เสฏโ สจฺจาน ํ จตุโร ปทา วิราโค เสฏโ ธมฺมาน ํ ทปิทานฺจ จกฺขุมา. [๒๗๔] เอเสว1 มคฺโค นตฺถฺโ ทสฺสนสฺส วิสุทฺธิยา เอตฺหิ ตมุเฺห ปฏิปชฺชถ มารสฺเสตํ ปโมหน.ํ [๒๗๕] เอตฺหิ ตมุเฺห ปฏิปนฺนา ทุกฺขสฺสนฺต ํ กริสฺสถ อกฺขาโต โว2 มยา มคฺโค อฺาย สลฺลสตฺถน.ํ3 [๒๗๖] ตุเมฺหห ิ กิจฺจ ํ อาตปฺป อกฺขาตาโร ตถาคตา ปฏิปนฺนา ปโมกฺขนฺติ ฌายิโน มารพนฺธนา.

๒. อนิจฺจลกฺขณวตฺถุ [๒๗๗] “สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา”ต ิ ยทา ปฺาย ปสฺสติ

อถ นพฺิพินฺทต ิ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา.

๓. ทุกฺขลกฺขณวตฺถุ [๒๗๘] “สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา”ต ิ ยทา ปฺาย ปสฺสติ

อถ นิพฺพินฺทต ิ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา.

๔. อนตฺตลกฺขณวตฺถุ [๒๗๙] “สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา”ต ิ ยทา ปฺาย ปสฺสติ อถ นิพฺพินฺทต ิ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา.

๕. ปธานกมฺมิกติสฺสตฺเถรวตฺถ ุ[๒๘๐] อุฏานกาลมฺห ิ อนุฏหาโน ยุวา พลี อาลสิยํ อุเปโต สํสนฺนสงฺกปฺปมโน4 กุสีโต ปฺาย มคฺค ํ อลโส น วินฺทต.ิ

1 สี.อิ. เอโสว 2 สี.อิ. อกฺขาโต เว 3 ฉ.ม. สลิลกนฺตนํ, สี.อิ. สลฺลสนฺถน ํ4 ม. อสมฺปนฺนสงฺกปฺปมโน

Page 2: ๑ ป ฺจสตภิกฺขุวตฺถุ ปทา · เรื่องพระโปฐิลเถระ (พระผู มีพระภาคตรัสพระคาถานี้แก

2

๖. สูกรเปตวตฺถ ุ[๒๘๑] วาจานุรกฺขี มนสา สุสํวุโต กาเยน จ อกุสลํ น กยิรา5 เอเต ตโย กมฺมปเถ วิโสธเย อาราธเย มคฺค ํ อิสิปฺปเวทิตํ.

๗. โปฏ ิลตฺเถรวตฺถ ุ[๒๘๒] โยคา เว ชายเต6 ภูริ อโยคา ภูริสงฺขโย เอตํ เทวฺธา ปถํ ตฺวา ภวาย วิภวาย จ ตถตฺตานํ7 นิเวเสยฺย ยถา ภูริ ปวฑฺฒติ.

๘. สมฺพหุลมหลฺลกภิกฺขุวตฺถุ [๒๘๓] วน ํ ฉินฺทถ มา รุกฺขํ วนโต ชายตี8 ภยํ เฉตฺวา วนฺจ วนถฺจ นิพฺพนา โหถ ภิกฺขโว. [๒๘๔] ยาว ห ิ วนโถ น ฉิชฺชต ิ อณุมตฺโตป นรสฺส นาริสุ ปฏิพทฺธมโน9 ว ตาว โส วจฺโฉ ขีรปโกว10 มาตริ.

๙. สารีปุตฺตตฺเถรสฺส สทฺธิวิหาริกวตฺถุ11 [๒๘๕] อุจฺฉินฺท สิเนหมตฺตโน กุมุท ํ สารทิกํว ปาณินา สนฺติมคฺคเมว พฺรูหย นิพฺพาน ํ สุคเตน เทสิต.ํ

5 ฉ.ม. นากุสลํ กยิรา 6 ฉ.ม. ชายตี 7 ฉ.ม. ตถาตฺตานํ 8 ฉ.ม. ชายเต 9 ม. ปฏิพนฺธมโน 10 อิ. ขีรปาโนว 11 ฉ.ม.สี.อิ. สุวณฺณการตฺเถรวตฺถ ุ

Page 3: ๑ ป ฺจสตภิกฺขุวตฺถุ ปทา · เรื่องพระโปฐิลเถระ (พระผู มีพระภาคตรัสพระคาถานี้แก

3

๑๐. มหาธนวาณิชวตฺถุ [๒๘๖] อิธ วสฺสํ วสิสฺสามิ อิธ เหมนฺตคิมฺหิส ุ อิติ พาโล วิจินฺเตต ิ อนฺตรายํ น พุชฺฌต.ิ

๑๑. กิสาโคตรมีวตฺถุ [๒๘๗] ต ํปุ ตฺตปสุสมฺมตฺตํ พฺยาสตฺตมนส ํ นร ํ สุตฺตํ คามํ มโหโฆว มจฺจ ุ อาทาย คจฺฉต.ิ

๑๒. ปฏาจาราวตฺถ ุ[๒๘๘] น สนฺต ิ ปุตฺตา ตาณาย น ปตา นป พนฺธวา อนฺตเกนาธิปนฺนสฺส นตฺถิ าตีสุ ตาณตา. [๒๘๙] เอตมตฺถวสํ ตฺวา ปณฺฑิโต สีลสํวุโต นิพฺพานคมน ํ มคฺค ํ ขิปฺปเมว วิโสธเย.

มคฺควคฺโค วีสติโม.

_______________________

๒๐. มัคควรรค หมวดวาดวยมรรค ๑. ปญจสตภิกขวุัตถุ เรื่องภิกษุ ๕๐๐ รูป

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานี้แกภิกษุ ๕๐๐ รูป ดังนี)้ [๒๗๓] บรรดามรรค มรรคมีองค ๘ ประเสริฐที่สุด

บรรดาสัจจะ อริยสัจ ๔ ประเสริฐที่สุด บรรดาธรรม วิราคธรรม12ประเสริฐที่สุด บรรดาสัตวสองเทา13 ตถาคตผูมีจักษุ14 ประเสริฐที่สุด15

[๒๗๔] ทางเพ่ือความหมดจดแหงทัสสนะ คือทางนี้เทานั้น มิใชทางอื่น (มีทาง16นี้เทานั้น เพ่ือความบริสุทธ์ิแหงทัสสนะ ไมมทีางอื่น)

12 วิราคธรรม หมายถึงนิพพาน (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๗๓/๒๙๘) 13 สัตวสองเทา ในที่นี้หมายถึงมนุษย (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๗๓/๒๙๘) 14 จักษุ ในที่นี้หมายถึงปญญาจักษุ (วิ.อ. (บาลี) ๓/๑๓/๑๗) 15 อภิ.ก. (ไทย) ๓๗/๘๗๒/๙๐๒

Page 4: ๑ ป ฺจสตภิกฺขุวตฺถุ ปทา · เรื่องพระโปฐิลเถระ (พระผู มีพระภาคตรัสพระคาถานี้แก

4

เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลายจงดําเนินไปตามทางนี้แล เพราะทางนี้เปนทางลวงมารใหหลง

[๒๗๕] ดวยวา เธอทั้งหลายดําเนินไปตามทางนี้แลว จักทําที่สุดแหงทุกขได เรารูวิธีถอนลูกศรคือกิเลสแลว จึงชี้บอกทางนี้แกเธอทั้งหลาย

[๒๗๖] เธอทั้งหลายควรทําความเพียรเองเถิด ตถาคตเปนเพียงผูชี้บอกเทานั้น ผูบําเพ็ญภาวนา ดําเนินตามทางนี้แลว เพงพินิจอยู จักพนจากเครื่องผูกแหงมารได17

๒. อนิจจลักขณวัตถุ เรื่องอนิจจลักษณะ

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานี้แกภิกษุทั้งหลาย ดังนี)้ [๒๗๗] เมื่อใด อริยสาวกพิจารณาเห็นดวยปญญา18วา

สังขารทั้งหลายทั้งปวงไมเที่ยง เมื่อนั้น ยอมหนายในทุกข นั่นเปนทางแหงความบริสุทธ์ิ

๓. ทุกขลักขณวัตถุ เรื่องทุกขลักษณะ

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานี้แกภิกษุทั้งหลาย ดังนี)้ [๒๗๘] เมื่อใด อริยสาวกพิจารณาเห็นดวยปญญาวา

สังขารทั้งหลายทั้งปวงเปนทุกข เมื่อนั้นยอมหนายในทุกข นั่นเปนทางแหงความบริสุทธ์ิ

๔. อนัตตลักขณวัตถุ เรื่องอนัตตลักษณะ

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานี้แกภิกษุทั้งหลาย ดังนี)้ [๒๗๙] เมื่อใด อริยสาวกพิจารณาเห็นดวยปญญาวา

16 ทาง ในที่นี้หมายถึงอริยมรรคมีองค ๘ (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๗๔/๒๙๘) 17 เครื่องผูกแหงมาร หมายถึงวัฏฏะอันเปนไปในภูมิ ๓ (กามาวจรภูมิ รูปาวจรภูมิ อรูปาวจรภูมิ) (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๗๖/๒๙๙) 18 เห็นดวยปญญา หมายถึงเห็นดวยวิปสสนาปญญา (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๗๗/๓๐๐)

Page 5: ๑ ป ฺจสตภิกฺขุวตฺถุ ปทา · เรื่องพระโปฐิลเถระ (พระผู มีพระภาคตรัสพระคาถานี้แก

5

ธรรมทั้งหลายทั้งปวงเปนอนัตตา เมื่อนั้น ยอมหนายในทุกข นั่นเปนทางแหงความบริสุทธ์ิ19

๕. ปธานกัมมิกติสสเถรวัตถุ เรื่องพระปธานกัมมิกติสสเถระ

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานี้แกภิกษุทั้งหลาย ดังนี)้ [๒๘๐] คนที่ไมขยันในเวลาที่ควรขยัน

ทั้งที่ยังหนุมยังสาว มีกําลัง แตกลับเกียจคราน มีความคิดใฝต่ํา20 ปราศจากความเพียร เกียจครานมาก ยอมไมประสบทาง21ดวยปญญา

๖. สูกรเปตวัตถุ เรื่องสูกรเปรต

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานี้แกภิกษุทั้งหลาย ดังนี)้ [๒๘๑] บุคคลพึงรักษาวาจา22 พึงสํารวมใจ23

และไมพึงทําความชั่วทางกาย24 พึงชําระกรรมบถทั้ง ๓ ประการนี้ใหหมดจด จะพึงพบทางที่พระพุทธเจาประกาศไว

๗. โปฐิลเถรวัตถุ เรื่องพระโปฐิลเถระ

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานี้แกโปฐิลเถระ ดังนี)้ [๒๘๒] ปญญา25เกิดเพราะการประกอบ26

และเสื่อมไปเพราะการไมประกอบ

19 ขอ ๒๗๗-๒๗๙ ดูเทียบ ขุ.เถร. (ไทย) ๒๖/๖๗๖-๖๗๘/๔๗๕-๔๗๖, อภิ.ก. (ไทย) ๓๗/๗๕๓/๗๙๘-๗๙๙ 20 มีความคิดใฝต่ํา หมายถึงหมกมุนในมจิฉาวิตก ๓ ประการ คือ กามวิตก พยาบาทวิตก และวิหิงสาวิตก (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๘๐/๓๐๓) 21 ทาง หมายถึงอริยมรรค (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๘๐/๓๐๓) 22 รักษาวาจา หมายถึงระมัดระวังวาจา โดยเวนจากวจีทุจริต ๔ อยาง (เวนจากการพูดเท็จ เวนจากการ พูดคําหยาบ เวนจากการพูดสอเสียด เวนจากการพูดเพอเจอ) (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๘๑/๓๐๗) 23 สํารวมใจ หมายถึงควบคุมใจ โดยไมใหมโนทุจริตเกิดขึ้น (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๘๑/๓๐๗) 24 ความชั่วทางกาย หมายถึงกายทุริต ๓ อยาง (ฆาสัตว ลักทรัพย ประพฤติผิดในกาม) (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๘๑/๓๐๗) 25 ปญญา แปลจากคําวา “ภูร”ิ ซึ่งเปนชื่ออีกชื่อหนึ่งของปญญา (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๘๒/๓๑๐, อภิธา.ฏีกา (บาลี) ๑๕๒-๑๕๔/๑๒๑) 26 การประกอบ หมายถึงมนสิการโดยแยบคายในอารมณธรรม ๓๘ ประการ (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๘๒/๓๑๐)

Page 6: ๑ ป ฺจสตภิกฺขุวตฺถุ ปทา · เรื่องพระโปฐิลเถระ (พระผู มีพระภาคตรัสพระคาถานี้แก

6

เมื่อรูทางเจริญและทางเสื่อมแหงปญญาทั้ง ๒ ทางนี้แลว บุคคลพึงตั้งตนโดยวิธีที่ปญญาจะเจริญย่ิงขึ้น

๘. สัมพหุลมหัลลกภิกขุวัตถุ เรื่องภิกษุแกหลายรูป

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานี้แกภิกษุทั้งหลาย ดังนี)้ [๒๘๓] ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงตัดปา27 แตอยาตัดตนไม

เพราะภัย28ยอมเกิดจากปา เธอทั้งหลายครั้นตัดปา และหมูไมในปาแลว29 จงเปนผูไมมีปาอยูเถิด

[๒๘๔] ตราบใด บุรุษยังไมตัดหมูไมในปา แมเพียงเล็กนอยในสตรีทั้งหลาย ตราบนั้น เขายอมมีใจผูกพัน เหมือนลูกโคที่ยังดื่มนมมีใจผูกพันในแมโค ฉะนั้น

๙. สารีปุตตเถรสัทธิวิหาริกวัตถุ เรื่องสัทธิวิหาริกของพระสารีบุตรเถระ

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานี้แกภิกษุผูเปนศิษยของพระสารีบุตร ดังนี)้ [๒๘๕] เธอจงตัดความรักของตน

เหมือนตัดดอกบัวที่เกิดในสารทกาล จงเพ่ิมพูนทางแหงสันติ30เทานั้น เพราะพระสุคตเจาแสดงนิพพานไวแลว

๑๐. มหาธนวาณิชวัตถุ เรื่องพอคามีทรัพยมาก

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานี้แกพอคาผาที่พักอยูริมฝงแมน้ํา ดังนี)้ [๒๘๖] คนพาลมักคิดเชนนี้วา “เราจักอยูที่นี่ตลอดฤดูฝน

เราจักอยูที่นี่ตลอดฤดูหนาวและฤดูรอน” ชื่อวายอมไมรูอันตราย31ที่จะมาถึงตน

27 ปา ในที่นี้หมายถึงกิเลสมีราคะ เปนตน (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๘๓/๓๑๒) 28 ภัย ในที่นี้หมายถึงภัยคือชาติ (การเกิด) เปนตน ที่เกิดจากปาคือกิเลส (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๘๓/๓๑๒) 29 หมูไมในปา หมายถึงกิเลสอื่น ๆ ที่ใหวิบาก หรือที่ใหเกิดในภพตอ ๆ ไป (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๘๓/๓๑๒) 30 ทางแหงสันติ หมายถึงมรรคมีองค ๘ ที่ยังสัตวใหถึงนิพพาน (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๘๕/๓๑๕) 31 อันตราย หมายถึงความตาย (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๘๖/๓๑๗)

Page 7: ๑ ป ฺจสตภิกฺขุวตฺถุ ปทา · เรื่องพระโปฐิลเถระ (พระผู มีพระภาคตรัสพระคาถานี้แก

7

๑๑. กิสาโคตมีวัตถุ เรื่องนางกิสาโคตมี

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานี้แกนางกิสาโคตมี ดังนี)้ [๒๘๗] นรชนผูมัวเมาในบุตรและปศุสัตว

มีใจเก่ียวของในอารมณตาง ๆ32 ยอมถูกมฤตยูคราไป เหมือนชาวบานผูหลับไหลถูกหวงน้ําพัดพาไป ฉะนั้น

๑๒. ปฏาจาราวัตถุ เรื่องนางปฏาจารา

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานี้แกนางปฏาจารา ดังนี)้ [๒๘๘] บุคคลเมื่อถึงคราวจะตาย

บุตรทั้งหลายก็ตานทานไวไมได บิดาก็ตานทานไวไมได พวกพองก็ตานทานไวไมได แมญาติพ่ีนองก็ตานทานไวไมได

[๒๘๙] บัณฑิตผูสํารวมในศีล รูความจริงนีแ้ลว พึงรีบเรงชําระทางอันจะนําไปสูนิพพาน

มัคควรรคท่ี ๒๐ จบ

_______________________

32 มีใจเกี่ยวของในอารมณตาง ๆ หมายถึงปรารถนาอยากไดทรัพยสมบัติเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ (ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๒/๒๘๗/๓๑๘)