การปลูกข้าวในประเทศไทย

9

Click here to load reader

Upload: mate-soul-all

Post on 29-May-2015

371 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การปลูกข้าวในประเทศไทย

การปลูกขาวในประเทศไทย

ขอมูลพันธุขาว

พันธุขาวที่ใชปลูกในประเทศไทยปจจุบันสามารถแบงไดตามลักษณะการเจริญเติบโตของพันธุ

และแบงไดตามลักษณะของชนดิเนื้อแปงของเมล็ดไดแกขาวเจาขาวเหนยีวปจจุบันการแบงตามลกัษณะ

ที่เกษตรกรคุนเคยเปน 2 ลักษณะดังนี้

1. ขาวนาป (พันธุขาวไวตอชวงแสง) เปนพันธุขาวที่ปลูกไดเฉพาะในฤดูฝน หรือที่เกษตรกร

เรียกวา ขาวนาป ขาวนาปนี้เปนพันธุขาวที่มีการออกดอกตรงตามฤดูกาลเพราะตองการชวงแสง

จําเพาะเพื่อการออกดอก ไมวาจะปลูกขาวพันธุนั้นเม่ือใด เชน พันธุขาวขาวดอกมะลิ 105 (ในภาค

อีสาน) จะออกดอกประมาณวันที่ 20 ตุลาคม ซ่ึงไมวาจะปลูกขาวพันธุนี้เม่ือใด ก็จะออกดอกในชวง

เดอืนตุลาคมเทานัน้

2. ขาวนาปรัง (พันธุขาวไมไวตอชวงแสง) เปนพันธุขาวที่มีอายุการเก็บเกี่ยวคอนขางแนนอน

เม่ือมีอายุครบถึงระยะเวลาออกดอกขาวพันธุนั้นจะออกดอกไดโดยไมจําเปนตองอาศัยชวงแสงเปน

ตัวกําหนดทําใหขาวชนดินี้สามารถปลูกไดตลอดปแตเกษตรกรมักจะเรยีกวาขาวนาปรังแมวาจะปลกูได

ทัง้ในฤดูนาปที่อาศัยน้ําฝนและในชวงฤดูแลงที่ตองอาศัยน้ําชลประทานพันธุขาวที่เกษตรกรใชปลูกใน

ขณะนี้มีทัง้ขาวพันธุพื้นเมืองทัง้ขาวเจาและขาวเหนียวที่ปลูกเพื่อใชบริโภคในครัวเรือนและพันธุขาวดี

ของทางราชการที่ไดรับการรับรองจากกรมวชิาการเกษตร และสงเสรมิใหเกษตรกรปลูกอยูทุกวันนี้

1. การจําแนกประเภทของพันธุขาว

1.1 แบงตามพื้นที่ปลูกได 3 ชนดิคอื

1.1.1 ขาวไร (Upland rice) เปนขาวที่ใชปลูกในพื้นที่ที่ไมมีน้ําขังมีสภาพเชนเดียวกับการ

ปลูกพชืไรซ่ึงไดแกที่เนนิสูงภูเขาเพราะขาวไรมีการแตกกอและใหผลผลติสูงในสภาพดังกลาวหรือปลูก

แซมในสวนยางที่ปลูกใหมในชวง 1-2 ปแรกขาวไรสวนใหญจะปลูกดวยวิธีหยอดผลผลิตเฉลี่ยไรละ

25-30 ถัง

1.1.2 ขาวนาสวน(Lowlandrice)เปนขาวที่ปลูกอยูในพื้นที่ที่ มีระดับน้ําตั้งแต 5-10

เซนตเิมตรจนถึงพื้นที่ที่มีระดับน้ําลึกไมเกิน 80 เซนติเมตรขาวนาสวนสวนใหญจะปลูกโดยวิธีปกดํา

ผลผลติเฉลี่ยขาวนาสวนตนสูงไรละ 30 ถังขาวนาสวนตนเตี้ยไรละ 50 ถัง

1.1.3 ขาวนาเมืองหรอืขาวข้ึนน้ําหรอืขาวฟางลอย(Deepwaterorfloatingrice) เปนขาวที่ปลูก

อยูในพื้นที่ที่มีระดับน้ําตั้งแต 50 เซนติเมตรข้ึนไปจนถึง 3-4 เมตรแตพื้นที่สวนใหญจะมีระดับน้ํา

ประมาณ 1-2 เมตรขาวนาเมืองสวนใหญจะปลูกโดยวิธีหวานขาวแหงหรือที่ชาวนาเรียกวาหวาน

สํารวยผลผลติเฉลี่ยไรละ20-30ถังคุณภาพขาวที่ไดจะต่ํากวาขาวนาสวนทําใหราคาขาวเปลือกต่ํากวา

ตันละ 100-200 บาทเพราะเมล็ดขาวมีทองไขมาก

Page 2: การปลูกข้าวในประเทศไทย

1.2 แบงตามฤดูแบงออกไดเปน 2 จําพวกคอื

1.2.1 ขาวนาปหรือขาวไวตอชวงแสง(Photoperiodsensitivevarieties)เปนพันธุขาวที่

ตองการชวงแสงสั้นตอวันในการที่จะเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตทางลําตนและใบมาเปนการ

เจรญิเตบิโตทางสบืพันธุกลาวคอืพันธุขาวดังกลาวจะออกดอกในระยะเวลาที่กลางวันสั้นกวากลางคืน

ซ่ึงขาวแตละพันธุจะตองการชวงแสงที่แตกตางกันโดยสวนใหญจะสัน้กวา 12 ช่ัวโมงจึงมีการแบงพันธุ

ขาวนาปออกเปนพันธุขาวเบาขาวกลางและขาวหนักขาวเบาคอืขาวที่ออกดอกระหวางเดือนกันยายน-

ตุลาคมขาวกลางออกดอกระหวางปลายเดอืนตุลาคม- พฤศจกิายนสวนขาวหนักออกดอกในระหวาง

เดอืนธันวาคม-มกราคม

1.2.2 ขาวนาปรังขาวนอกฤดูหรอืขาวไมไวตอชวงแสง (Photoperiod insensitive varieties)

เปนพันธุขาวที่สามารถปลูกไดตลอดปเม่ือมีอายุครบตามกําหนดก็จะออกดอกออกรวงและเก็บเกีย่วได

แตอายุของพันธุขาวเหลานี้จะสั้นหรือยาวข้ึนก็ไดตามชวงวันที่ปลูกถาปลูกในชวงวันสั้นจะอายุสั้นลง

และถาปลูกในชวงวันยาวจะมีอายุยาวข้ึน

1.3. แบงตามประเภทการบรโิภคหรอืประเภทของเนื้อแปงในเมล็ดขาวสาร

1.3.1 ขาวเหนียว (Glutinous rice or waxy rice) เปนขาวที่มีเมล็ดขาวสารสีขาวขุนเม่ือนึ่ง

แลวจะไดขาวสุกที่จับตัวติดกันเหนียวแนนและมีลักษณะใสนิยมบริโภคกันมากในภาคเหนือและภาค

ตะวันออกเฉยีงเหนอืประกอบดวยแปงชนดิอะไมโลเพ็คตนิ (Amylopectin) เปนสวนใหญมีแปงอะไมโลส

(Amylose) อยูเพียงเล็กนอยหรอืไมมีเลย

1.3.2 ขาวเจา (Nonglutinous rice) เปนขาวทีมีเมล็ดขาวสารใสขาวสุกมีสีขาวขุนและรวน

กวาขาวเหนยีวขาวเจาแตละพันธุเม่ือหุงสุกแลวมีความนุมเหนียวแตกตางกันซ่ึงนิยมบริโภคเปนสวน

ใหญในพื้นที่ภาคกลางและภาคใตขาวเจามีปริมาณแปงอะไมโลสประมาณ7-33 เปอรเซ็นตที่เหลือ

เปนอะไมโลเพ็คตนิ

2. การจําแนกประเภทของพันธุขาว(หนวยงานของกรมวชิาการเกษตร)

พันธุขาวที่ปลูกกันในประเทศไทยในอดีตมีความหลากหลายมากและแตกตางกันไปในแตละ

พื้นที่แตปจจุบันพันธุขาวที่ปลูกกันทั่วไปมีอยูไมกี่ชนดิพันธุขาวสวนหนึ่งที่เคยมีอยูแตเดิมไดสูญหายไป

ในหลายๆพื้นที่เนื่องจากสภาพการทํานาเพื่อตอบสนองตอตลาดทําใหเกษตรกรตองหันมาปลูกขาว

จํานวนไมกี่สายพันธุตามที่ตลาดตองการพันธุขาวที่มีการเก็บรวบรวมและจําแนกไวแลวโดยหนวยงาน

ของกรมวชิาการเกษตรมีประมาณ5,000กวาสายพันธุ(แสดงในตาราง 2) พันธุขาวมีการจําแนกออกใน

หลายลักษณะการจําแนกหลักๆที่สําคัญคอื

Page 3: การปลูกข้าวในประเทศไทย

2.1 จําแนกตามฤดูกาลปลูกขาวหรอืสภาพของแสงแดดแบงเปน

2.1.1 ขาวไวแสงหมายถงึขาวที่มีชวงเวลาของการออกดอกที่แนนอนเปนขาวที่ปลูกในฤดนูา

ปเทานัน้ขาวจะออกดอกในชวงที่เวลากลางวันสัน้กวากลางคนืจงึตองปลูกในฤดูฝนเพื่อใหออกดอกชวง

ฤดูหนาวที่มีชวงเวลากลางวันสัน้กวา 12 ช่ัวโมงอาจจะจําแนกแยก ออกไดเปนขาวที่ไวตอแสงมากขาว

ที่มีความไวตอแสงนอยซ่ึงจะมีชวงเก็บเกี่ยวที่ตางกันขาวพันธุพื้นเมืองสวนใหญจัดเปนขาวไวแสง

2.1.2 ขาวไมไวแสงหมายถงึขาวที่ออกดอกตามอายุเก็บเกี่ยวของขาวโดยไมข้ึนอยูกับชวง

แสงเปนขาวที่ปลูกในฤดูนาปรังสามารถปลูกไดตลอดปถามีน้ําเพียงพอและปลูกไดดใีนฤดูรอนเพราะมี

ชวงแสงมากกวาฤดูอ่ืนอายุการปลูกจนถงึเก็บเกี่ยวประมาณ 110-150 วัน

2.2 จําแนกตามสภาพการเก็บเกี่ยวแบงเปน

2.2.1 ขาวเบาเปนขาวที่ใชระยะเวลาปลูกจนถงึเก็บเกี่ยวสั้นถาเปนขาวไวแสงจะเก็บเกี่ยว

ไดในชวงเดือนกันยายน-ตุลาคมของทุกภาคยกเวนภาคใตและสามารถแบงยอยออกไดอีกเปนขาว

คอนขางเบาขาวเบาและขาวเบามาก

2.2.2 ขาวกลางเปนขาวที่ใชระยะเวลาปลูกปานกลางถาเปนขาวไวแสงจะเก็บเกี่ยว

ไดในชวงประมาณเดอืนตุลาคม-พฤศจกิายนของป

2.2.3 ขาวหนักเปนขาวที่ปลูกโดยใชเวลานานถาเปนขาวไวแสงจะเก็บเกี่ยวในชวง

ประมาณเดือนธันวาคม-มกราคมและยังแบงยอยออกไดอีกเปนขาวคอนขางหนักขาวหนักและขาว

หนักมาก

2.3 จําแนกตามสภาพพื้นที่ปลูกหรอืสภาพแวดลอมเปนเกณฑ

2.3.1 ขาวไรเปนขาวที่ปลูกโดยอาศัยสภาพน้ําฝนตามธรรมชาตใินพื้นที่ไรหรือพื้นที่ดอนไม

มีการเก็บกักน้ําในแปลงนาใชการปลูกโดยการหยอดหรือโรยเมล็ดขาวแหงพันธุขาวไรสวนมากจะทน

ตอความแหงแลงไดดี

2.3.2 ขาวนาสวนเปนขาวที่ปลูกกันทั่วไปในพื้นที่ที่มีน้ําขังมีการเก็บกักน้ําไวในแปลงนา

ปลูกไดที่ระดับน้ําลกึ 1 เซนตเิมตรแตไมเกนิ 50 เซนตเิมตรการปลูกขาวนาสวนแบงยอยได 3 แบบ

2.3.2.1 ขาวนาน้ําฝนเปนขาวที่ปลูกในฤดูนาปอาศัยน้ําฝนตามธรรมชาตพัินธุขาวที่ใช

สวนใหญเปนขาวพันธุพื้นเมืองหรือขาวที่มีการคัดพันธุมาจากขาวพันธุพื้นเมืองเปนขาวที่มีคุณภาพ

เมล็ดดแีตมักจะมีตนสูงลมงาย

2.3.2.2 ขาวนาชลประทานเปนขาวที่ปลูกในเขตนาชลประทานปลูกไดทัง้นาป

และนาปรังพันธุขาวที่ใชสวนมากเปนพันธุขาวที่พัฒนาข้ึนมาใหมใหผลผลิตสูงในระบบการทํานาที่ใช

ปุยเคมี

Page 4: การปลูกข้าวในประเทศไทย

2.3.2.3 ขาวนาเมืองขาวข้ึนน้ําหรือขาวฟางลอยเปนขาวที่ปลูกในฤดูนาปพันธุขาว

สวนมากเปนพันธุพื้นเมืองหรอืพันธุขาวที่คัดมาจากพันธุพื้นเมืองตัวอยาง เชนปนแกว 56 เจ็กเชย 159

เล็บมือนาง 111 พันธุขาวเหลานี้สามารถยืดปลองตามระดับน้ําไดมีการแตกแขนงและรากที่ขอทนตอ

สภาพน้ําทวมขังเปนเวลานานรวมทัง้สภาพแหงแลงไดดแีตผลผลติจะต่ํากวานาน้ําฝน (มูลนธิขิาวขวัญ,

2555)

3. การเจริญเตบิโตของตนขาว (Plant growth) แบงออกเปน 3 ระยะคอื

3.1 การเจรญิเตบิโตทางลําตนและใบ (Vegetative growth) การเจริญเติบโตในชวงนี้แบง 2

ระยะคอื

3.1.1 ระยะกลา(Seedlingstage)เริ่มตั้งแตตนขาวเริ่มงอกจากเมล็ดจนกระทั่งตนขาวเริ่ม

แตกกอระยะนี้ใชเวลาประมาณ 20 วันตนขาวจะมีใบ 5-6 ใบ

3.1.2 ระยะแตกกอ(Tilleringstage)เริ่มตัง้แตตนขาวเริ่มแตกกอจนกระทั่งเริ่มสรางดอกออน

ระยะนี้ใชเวลา 30- 50 วันทัง้นี้ข้ึนอยูกับพันธุขาว

3.2 การเจริญทางสืบพันธุ(Reproductivegrowth)เริ่มจากตนขาวสรางดอกออน(Panicle

initiation) ตั้งทอง (Booting) ออกดอก (Flowering) จนถึงการผสมพันธุ (Fertilization) เปนการสิ้นสุด

การเจรญิทางสบืพันธุกนิเวลาประมาณ 30-55 วัน

3.3 การเจรญิทางเมล็ด (Grain development) เริ่มจากการผสมพันธุของดอกขาวเมล็ดเปน

น้ํานม (Milky) เปนแปง (Dough) จนกระทั่งเมล็ดสุก (Ripening grain) จะใชเวลาทั้งหมดประมาณ 25-

30 วัน

ดังนัน้การเจรญิเตบิโตของตนขาวในการที่จะใหผลผลติถาเปนพันธุขาวนาปรังจะใชเวลาตั้งแต

งอกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวประมาณ 90-120 วันสวนพันธุขาวนาปจะใชเวลประมาณ 120-140 วัน (ศูนย

เมล็ดพันธุขาวนครสวรรค, 2555)

Page 5: การปลูกข้าวในประเทศไทย

ตารางท่ี 1 แสดงขอมูลพันธุขาวของประเทศไทย

ช่ือพันธุขาว ชนดิพันธุขาว แหลงปลูก ผลผลติ (กก./ไร)

ขาวดอกมะล ิ105 ขาวเจาไวตอชวงแสง ทุกภาคนิยมปลูกภาคอีสาน 515

กข15 ขาวเจาไวตอชวงแสง นยิมปลูกภาคอีสาน 560

กข6 ขาวเหนยีวไวตอชวงแสง ภาคเหนือภาคอีสาน 670

เหนยีวสันปาตอง ขาวเหนยีวไวตอชวงแสง ภาคเหนือภาคอีสาน 520

สันปาตอง ขาวเหนยีวไมไวตอชวงแสง ภาคเหนือตอนบน 630

สกลนคร ขาวเหนยีวไมไวตอชวงแสง ภาคอีสาน 467

สุรนิทร 1 ขาวเจาไมไวตอชวงแสง ภาคอีสาน 620

ชัยนาท 1 ขาวเจาไมไวตอชวงแสง ภาคกลางภาคเหนอืตอนลาง 670

สุพรรณบุร ี1 ขาวเจาไมไวตอชวงแสง เขตชลประทานทุกภาค 750

สุพรรณบุร ี2 ขาวเจาไมไวตอชวงแสง ภาคกลางตะวันออกตะวันตก 700

ปทุมธาน ี1 ขาวเจาไมไวตอชวงแสง เขตชลประทานภาคกลาง 712

พษิณุโลก 2 ขาวเจาไมไวตอชวงแสง ภาคเหนือตอนลาง 807

หันตรา 60 ขาวเจาไวตอชวงแสง ภาคกลางน้ําลกึไมเกนิ 1 เมตร 425

ปราจีนบุร ี1 ขาวเจาไวตอชวงแสง ภาคกลางภาคเหนอืตอนลาง

ภาคตะวันออก 500

ปราจีนบุร ี2 ขาวเจาไวตอชวงแสง ภาคกลางภาคตะวันออก 846

ท่ีมา:ศูนยเมลด็พันธุขาวชลบรุสีํานกัเมลด็พันธุขาวกรมการขาว, 2553

Page 6: การปลูกข้าวในประเทศไทย

ดิน

ดนิเกดิจากการสลายตัวของหนิและแรผสมรวมกับสารอินทรยีจากพชืและสัตวที่สลายตัวแลว

เกดิเปนช้ันบางๆหอหุมผิวโลกเม่ือมีน้ําและอากาศในปรมิาณพอเหมาะจะทําใหพชืสามารถเจรญิเตบิโต

ไดและเปนแหลงผลติอาหารจากพชืโดยเฉพาะดินที่มีความอุดมสมบูรณมากๆเปนสิ่งที่ทุกประเทศใน

โลกตองการเพื่อผลิตอาหารเลี้ยงประชากรในประเทศหรือใชเพื่อสงออกตางประเทศดังนั้นการ

วเิคราะหดนิเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณจึงนิยมทํากันมากการวิเคราะหเนื้อดิน (Soil texture) เปน

สวนหนึ่งของการวเิคราะหเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณของดนิ

เนื้อดนิ (Soil texture) เปนคุณสมบัติของดินที่เกิดจากสมบัติโดยรวมของอนุภาคทราย(Sand)

ซิลท(silt) และดนิเหนยีว(Clay) ซ่ึงแสดงถงึความหยาบความละเอียดของดินถาดินมีปริมาณกลุมขนาด

ทรายมากจะจัดเปนดินประเภทเนื้อหยาบ (Coarse texture class) แตถาดินมีปริมาณกลุมขนาดดิน

เหนยีวมากจะเปนประเภทเนื้อละเอียด (Fine textural class) และถาดินมีปริมาณกลุมขนาดดินเหนียว

กับปริมาณกลุมขนาดทรายในสัดสวนที่ไมแสดงสมบัติเดนชัดไปทางทรายหรือดินเหนียวจะจัดเปน

ประเภทเนื้อปานกลาง (Medium textural class) การแบงประเภทของเนื้อดนิจะใชพิจารณาจากปรมิาณ

ทราย ซิลทและดนิเหนยีวที่เปนองคประกอบของดินผง(Fineearth)ที่มีเสนผาศูนยกลางของอนุภาคไม

เกนิ2มิลลเิมตรการวเิคราะหเนื้อดนิมีหลายวธิไีดแกวธิสีัมผัสโดยใชความรูสึกจากการปนดินกับน้ําซ่ึง

จําเปนตองฝกฝนมากเพื่อใหเกดิความชํานาญและถูกตอง วิธีปเปตซ่ึงเปนวิธีที่ไดผลถูกตองแมนยําดี

มาก แตมีความยุงยากพอสมควรและวธิกีารวัดเชิงกลดวยไฮโดรมิเตอร ซ่ึงสามารถวเิคราะหไดครั้งละ

จํานวนมาก รวดเร็วไดผลการวิเคราะหที่นาเช่ือถือผลการทดสอบโดยใชวิธีไฮโดรมิเตอรสามารถ

จําแนกประเภทเนื้อดนิที่สําคัญออกไดเปน 4 ชนดิ คอื

1. ประเภทดนิเหนยีว (Clay texture) ไดแก ดนิเหนยีว (Clay) ดนิเหนยีวปนทราย(Sandy clay)

และดนิเหนยีวปนทรายแปง (Silty clay)

2. ประเภทดินรวนปนเหนียว (Clay loam texture) ไดแกดินรวนเหนียวปนทราย(Clay loam)

ดนิรวนเหนยีวปนทรายแปง (Silty clay loam) และดนิรวนปนเหนยีว (Clay loam)

3. ประเภทดินรวน (Loamy texture) ไดแก ดินรวน (Loam) ดินรวนปนทรายแปง(Silt loam)

ดนิรวนปนทราย (Sandy loam) และดนิทรายแปง (Silt)

4. ประเภทดินทราย (Sandy texture) ไดแก ดินทราย (Sand) และดินทรายปนรวน (Loamy

sand)

การจําแนกชนิดของเนื้อดิน ในการจําแนกเนื้อดินจะใชคาเปอรเซ็นตของ ทรายซิลทและดิน

เหนยีวมาเทยีบกับตารางสามเหลี่ยมแบงชนดิของเนื้อดนิมาตรฐานตัวอยางเชน ดินมีปริมาณทราย 40

เปอรเซ็นตซิลท40 เปอรเซ็นต และ ดนิเหนยีว 20 เปอรเซ็นตมีเนื้อดนิเปนดนิรวน (loam,L) หรือ ทราย

60 เปอรเซ็นตซิลท22 เปอรเซ็นต และ ดนิเหนยีว 18 เปอรเซ็นตมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย (sandy

Page 7: การปลูกข้าวในประเทศไทย

loam,SL+) หรอื ทราย 15 เปอรเซ็นตซิลท15 เปอรเซ็นต และดนิเหนยีว 70 เปอรเซ็นตมีเนื้อดินเปนดิน

เหนยีว (clay,C+) เปนตนดังแสดงในตารางสามเหลี่ยมตามภาพ 3ดานลางนี้

รูปท่ี 1 ตารางสามเหลี่ยมเพื่อหาประเภทของเนื้อดนิ

ท่ีมา: กจิการหนิ สวัสดกิารสัตหบี กองทัพเรอื, 2553

Page 8: การปลูกข้าวในประเทศไทย

การทํานาในประเทศไทย

สําหรับประเทศไทยพบวามีพื้นที่การทํานาในลักษณะที่แตกตางกัน หากแบงตามลักษณะภูมิ

ประเทศและวธิกีารทํานาแลวจะแบงไดดังนี้ (ชาตชิาย, 2545)

1. นาไร (Upland field) เปนการทํานาในพื้นที่ที่มีสภาพเปนที่ราบสูงลาดชัน ไมตองมีคันนา

สําหรับขังน้ําเพราะขาวที่ปลูกในบริเวณนี้ไมคอยชอบน้ํา ดินกอนปลูกตองแหงพอประมาณอาจปลูก

โดยการหวานหรอืหยอดหลุมได จะทําไดเฉพาะฤดูนาป (Wet season) เพราะตองอาศัยน้ําฝน พันธุขาว

ที่ปลูกไดแก ซิวแมจัน R258 และเจาฮอ เปนตน ในประเทศไทยพื้นที่นาไรสวนใหญทํากันตามไหลเขา

ทัง้ภาคเหนอืภาคใตภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉยีงเหนอืของประเทศ คิดเปนพื้นที่ในการทํานา

แบบนี้ประมาณ รอยละ 10 ของพื้นที่การทํานาทัง้ประเทศ

2. นาสวน (Lowland field) พื้นที่นาจะเปนพื้นที่ราบลุมทั่วไป มีคันนากักเก็บน้ําและรักษา

ระดับน้ําใหทวมขังตลอดฤดูปลูกสามารถทําไดทัง้ฤดูนาป(Wetseason)และนาปรัง(Dryseason)น้ําที่ใชใน

การทํานามาจากน้ําฝนหรอืน้ําชลประทานโดยนาที่รับน้ําฝนเพียงอยางเดยีวจะมีระดับน้ําในแปลงนาไม

สมํ่าเสมอหรือน้ําแหงไดเรียกวานาน้ําฝน (Rained field) สวนพื้นที่นาที่รับน้ําจากคลองสงน้ํา

ชลประทานระดับน้ําในแปลงจะมีเพียงพอตลอดฤดูปลูก เรียกวานาชลประทาน (Irrigated field) การ

ปลูกมีทัง้การหวานและการดํา พันธุขาวที่นิยมปลูกไดแก ชัยนาท 1 สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 และ

สุพรรณบุร ี90 เปนตน พื้นที่การทํานาแบบนี้พบมากในทุกภาคของประเทศไทย โดยคิดเปนรอยละ 80

ของพื้นที่การทํานาทัง้ประเทศ

3. นาน้ําลกึ (Deepwater field)เปนพื้นที่การทํานาที่ไมสามารถควบคุมระดับน้ําได เปนพื้นที่

นาน้ําทวมขังมากกวา50เซนตเิมตรพันธุขาวที่ใชปลุกจะเปนพันธุพิเศษที่เรียกวาขาวข้ึนน้ําขาวลอยหรือ

ขาวฟางลอย(Floatingrice)ซ่ึงมีคุณสมบัติพิเศษสามารถยืดลําตนหนีน้ําไดไดแกพันธุขาวหันตรา60

เล็บมือนาง111และปนแกว56เปนตนโดยนาน้ําลกึในประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกรอยละ 10 ของพื้นที่การทํา

นาทัง้ประเทศ

การปลูกขาว

การปลูกขาว ตัง้แตการซ้ือเมล็ดพันธุขาวเปลอืก การเตรยีมดนิเพื่อปลูกขาวโดยการไถกลบการ

ปลูกขาวการใสปุยในแปลงนาหลังจากออกเมล็ดและหลังขาวออกรวงการเก็บเกี่ยวขาวโดยใชรถเกี่ยว

ขาว และการจัดการฟางขาวหลังการเก็บเกี่ยวขาวแลว

Page 9: การปลูกข้าวในประเทศไทย