ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

22
ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญป 2550 และป 2540 หมวดที3 เสรีภาพของชนชาวไทย รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 บุคคลสามารถใชสิทธิ์ทางศาลบังคับใหรัฐ ปฏิบัติตามสิทธิที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ เวนแต กรณีที่มีกฎหมายบัญญัติรายละเอียดแหงการ ใชสิทธิ์นั้น (. 28) (ไมมีบทบัญญัติลักษณะนีโดยบทบัญญัติทีเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพบุคคล จะมีคําวา ทั้งนี้ให เปนไปตามที่กฎมายบัญญัติกํากับไว ทําให สิทธิหลายประการไมถูกปฏิบัติเนื่องจากรัฐบาล ลาชา หรือไมออกกฎหมายรับรองสิทธิดังกลาว) ตัดคําวา โทษประหารออกจากการบัญญัติ ในรัฐธรรมนูญ ผลคือแมโทษประหารยังอาจมี ไดตามดุลยพินิจของศาล แตเปดทางใหยกเลิก โทษประหารในอนาคต (. 32) โทษประหารตามที่กฎหมายบัญญัติไมถือวา เปนการลงโทษที่ไรมนุษยธรรม บุคคลจะไดรับการคุมครองจากการนําขอมูล สวนบุคคลไปหาประโยชนโดยมิชอบ (.35) (ไมมีบทบัญญัตินี) เด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ ผูพิการมีสิทธิ์ไดรับ ความคุมครองในกระบวนการพิจารณาคดีอยาง เหมาะสม และการปฏิบัติที่เหมาะสมในคดี เกี่ยวกับความรุนแรงทางเพศ (.40) (ไมมีบทบัญญัตินี) บุคคลมีสิทธิ์ไดรับหลักประกันความปลอดภัย และสวัสดิภาพในการทํางาน รวมทั้ง หลักประกันในการดํารงชีพเมื่อพนภาวะการ ทํางาน (.44) (ไมมีบทบัญญัตินี) การสั่งปดกิจการหนังสือพิมพหรือสื่อมวลชนอื่น เพื่อลิดรอนสิทธิเสรีภาพจะกระทําไมได (.45) การสั่งปดโรงพิมพ สถานีวิทยุกระจายเสียง หรือ สถานีวิทยุโทรทัศน เพื่อลิดรอนสิทธิเสรีภาพจะ กระทําไมได หามผูดํารงตแหนงทางการเมือง เจาหนาที่รัฐ หรือเจาของกิจการขัดขวางแทรกแซงการเสนอ ขาราชการ ลูกจางของรัฐ พนักงานหรือลูกจาง เอกชนที่ประกอบกิจการหนังสือพิมพ วิทยุและ

Upload: luukmuu-lakkanacheewan

Post on 28-Jul-2015

973 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญป 2550 และป 2540 หมวดที่ 3 เสรีภาพของชนชาวไทย รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 บุคคลสามารถใชสิทธิท์างศาลบังคับใหรัฐปฏิบัติตามสิทธิที่รัฐธรรมนญูบัญญัติ เวนแตกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติรายละเอยีดแหงการใชสิทธิ์นัน้ (ม. 28)

(ไมมีบทบัญญัติลักษณะนี ้ โดยบทบัญญัติที่เกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพบุคคล จะมีคําวา “ทั้งนี้ใหเปนไปตามที่กฎมายบญัญัติ” กํากับไว ทาํใหสิทธหิลายประการไมถกูปฏิบัติเนื่องจากรฐับาลลาชา หรือไมออกกฎหมายรับรองสิทธิ์ดังกลาว)

ตัดคําวา “โทษประหาร” ออกจากการบญัญัติในรัฐธรรมนูญ ผลคือแมโทษประหารยังอาจมีไดตามดุลยพนิิจของศาล แตเปดทางใหยกเลิกโทษประหารในอนาคต (ม. 32)

โทษประหารตามทีก่ฎหมายบัญญัติไมถือวาเปนการลงโทษที่ไรมนษุยธรรม

บุคคลจะไดรับการคุมครองจากการนาํขอมูลสวนบุคคลไปหาประโยชนโดยมิชอบ (ม.35)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

เด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอาย ุผูพิการมีสิทธิ์ไดรับความคุมครองในกระบวนการพิจารณาคดอียางเหมาะสม และการปฏิบัติที่เหมาะสมในคดีเกี่ยวกับความรุนแรงทางเพศ (ม.40)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

บุคคลมีสิทธิ์ไดรับหลักประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพในการทาํงาน รวมทั้งหลักประกนัในการดํารงชีพเมื่อพนภาวะการทํางาน (ม.44)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

การสั่งปดกิจการหนงัสือพมิพหรือส่ือมวลชนอื่นเพื่อลิดรอนสทิธิเสรีภาพจะกระทาํไมได (ม.45)

การสั่งปดโรงพิมพ สถานวีทิยุกระจายเสยีง หรือสถานวีทิยุโทรทัศน เพื่อลิดรอนสิทธเิสรีภาพจะกระทาํไมได

หามผูดํารงตแหนงทางการเมือง เจาหนาที่รัฐ หรือเจาของกจิการขัดขวางแทรกแซงการเสนอ

ขาราชการ ลูกจางของรัฐ พนักงานหรือลูกจางเอกชนที่ประกอบกิจการหนงัสือพิมพ วิทยแุละ

Page 2: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

ขาวหรือความคิดเห็นในประเด็นสาธารณะ หากกระทาํใหถือเปนการกระทําโดยมิชอบ และไมมีผลใชบังคบั เวนแตกระทําตามกฎหมายหรือเพื่อจริยธรรมแหงการประกบอวิชาชีพ (ม.46)

โทรทัศน มีเสรีภาพในการเสนอขาวสรและแสดงความคิดเหน็ โดยไมตกอยูภายใตอาณัติของหนวยงานรัฐ หรือเจาของกจิการ

ใหองคกรทีท่าํหนาที่จัดสรรคลื่นความถี่กาํกับการประกอบกจิการสื่อสารมวลชนกําหนดมาตรการปองกันการควบรวมสื่อ ครองสิทธิขามส่ือ หรือการครอบงําสื่อ ระหวางสื่อมวลชนดวยกนั หรือบุคคลอื่น ซึ่งจะเปนการขัดขวางหรือปดกั้นเสรภีาพในการรับรูขอมูลขาวสารที่หลากหลาย (ม.47)

(บัญญัติใหมีองคกรจัดสรรคลื่นความถี่ และกํากับการประกอบกิจการสื่อสารมวลชน แตไมไดระบุเร่ืองอํานาจหนาที่ในการปกปองเสรีภาพในการรับรูขอมูลขาวสาร)

หามผูดํารงตําแหนงทางการเมืองหรือผูถือหุนแทนเขาเปนเจาของกิจการหรือถือหุนในกิจการหนงัสือพมิพ วิทยกุระจายเสียง โทรทัศน หรือโทรคมนาคม (ม.48)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

เพิ่มใหรัฐตองจัดใหมีการศึกษาใหกับผูยากไร ผูพิการ หรือทพุพลภาพ เสมอภาคกับบุคคลอื่นที่ตองไดรับการศึกษาฟรีไมนอยกวา 12 ป (ม.49)

รัฐตองจัดใหมกีารศึกษาฟรีไมนอยกวา 12 ป

เพิ่มการคุมครองแกเด็กเยาวชน และบุคคลในครอบครัวใหไดรับหลักประกันในการอยูรอด และหามแทรกแซงหรือจาํกดัสิทธิเพื่อใหสถาบนัครอบครัวไดรับการดูแลอยางอบอุน (ม.52)

เด็ก เยวชน และบุคคลในครอบครัวมีสิทธิไ์ดรับการคุมครองจากการใชความรุนแรงและการปฏิบัติที่ไมเปนธรรม

เพิ่มสิทธิของบคุคลในการไดรับความคุมครองการไมมีที่อยูอาศัย โดยรัฐจะตองชวยเหลือดูแล (ม.55)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

กําหนดใหรัฐตองจัดใหมีการรับฟงความเหน็กอนการวางแผนพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมืองแบะวัฒนธรรม การเวรคืนอสังหาริมทรัพย การวางผังเมือง การกาํหนด

บุคคลมีสิทธิ์ไดรับรูขอมูล คําชี้แจงและเหตุผลจากรัฐ กอนการดําเนนิโครงการหรือกิจกรรมที่อาจมีผลกระทบตอประชาชนหรือชุมชน และมีสิทธิ์แสดงความคิดเห็นตามกระบวนการรบัฟง

Page 3: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

เขตการใชประโยชนในที่ดิน รวมทัง้การออกกฎที่จะมีผลกระทบตอประชาชน (ม.57)

ความคิดเหน็

ใหมีองคกรอิสระเพื่อการคุมครองบริโภค โดยมีตัวแทนผูบริโภคใหความเหน็ประกอบในการออกกฎหมายและมาตราการในการคุมครองผูลริโภคโดนรัฐ (ม.60)

ใหมีกฎหมายตั้งองคกรเพื่อคุมครองผูบริโภค (ไมเกิดขึ้นในชวง 10 ป ที่บังคับใชรัฐธรรมนูญป 2540 เนื่องจากรัฐไมออกกฎหมายดังกลาว

เพิ่มเติมใหขาราชการ และเจาหนาที่รัฐ มีเสรีภาพในการรวมกลุมเพื่อใชเปนวถิีทางในการเจรจากับรัฐ แตตองไมเกิดผลกระทบกับงานของรัฐและการบริการสาธารณะ (ม.64)

(มีบทบัญญัติคุมครองการชมุนุมของประชาชน แตไมมีสวนของเจาหนาที่รัฐ)

พรรคการเมืองใดลมลางการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหาษกัตริยทรงเปนประมุข หรือเพื่อใหไดอํานาจมาโดยไมถูกวิถีทางของรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญอาจมีคําสั่งยุบพรรค ตองถูกยุบพรรค และเพิกถอนสิทธิเลือกตัง้ของหวัหนาพรรคและกรรมการบริหารพรรคที่ถูกยบุเปนเวลา 5 ป (ม.68)

พรรคการเมืองใดลมลางการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหาษกัตริยทรงเปนประมุข หรือเพื่อใหไดอํานาจมาโดยไมถูกวิถีทางของรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญอาจมีคําสั่งยุบพรรค ตองถูกยุบพรรค

หมวดที่ 4 หนาท่ีของชนชาวไทย รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 การเลือกตั้งเปนหนาที่ ผูไปใชสิทธิ์อาจไดรับสิทธิ์ ผูไมไปใชสิทธิ์อาจเสียสิทธิ์ตามที่กฎหมายบัญญัติ (ม.72)

การเลือกตั้งเปนหนาที่ ผูไมไปใชสิทธิ์อาจเสียสิทธิ์ตามที่กฎหมายบัญญัติ

ใหบทบัญญัติในหมวดนโยบายแหงรัฐ (ม.76 – 86) เปนเจตจาํนงเพื่อมีสภาพบังคับใหรัฐบาลตองดําเนนิการตรากฎหมาย หรือ กําหนดนโยบายใหเปนไปตามที่กําหนดไว (ม.75)

กําหนดหมวดแนวนโยบายแหงรัฐเปนเพียงแนวทางในการดําเนินการของรัฐบาล

Page 4: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

สาระสําคัญแหงหมวดที่ 5 แนวนโยบายแหงรัฐ ตามรัฐธรรมนูญ 2550 (หมวดนีใ้นรัฐธรรมนูญ 2540 เปนเพยีงแนวทางปฏิบัตดิานตาง ๆ ใหรัฐ) แนวนโยบายดานความมัน่คง (ม.76) - รัฐตองพทิักษสถาบนัพระมหากษัตริย เอกราช และบรูณภาพแหงเขตอํานาจรัฐ และตองจัดใหมีกําลังทหาร อาวทุธนุทโธปกรณ และเทคโนโลยทีี่ทนัสมยั จําเปน และเพียงพอ แนวนโยบายดานการบริหารราชการแผนดนิ (ม.78)

- รัฐตองสงเสรมิตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - จัดใหมีแผนพฒันาการเมือง รวมทั้งสภาพฒันาการเมืองที่มีความเปนอิสระ - ใหขาราชการและเจาหนาทีรั่ฐไดรับสิทธิประโยชนอยางเหมาะสม

แนวนโยบายดานศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม (ม.79 - 80)

- เพิ่มหลักประกันใหรัฐคุมครองพระพุทธศาสนามากขึ้น โดยระบุขอความเพิม่วา "ศาสนาพุทธเปนศาสนาที่คนไทยนบัถือมาชานาน”

- สงเสริมและสนับสนนุการกระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิน่ ชุมชน และองคกรทางศานา และเอกชนมีสวนรวมจดั และพัฒนามาตรฐานคุณภาพศึกษา

- สนับสนนุการศึกษาวจิัยในศิลปวิทยาการแขนงตาง ๆ นโยบายดานกฎหมายการยุติธรรม (ม.80)

- ใหมีกฎหมายเพื่อจัดตั้งองคกรเพื่อการปฏิรูปกฎหมายที่เปนอิสระเพื่อพัฒนากฎหมายของประเทศ และปรับปรุงกฎหมายใหเปนไปตามรัฐธรรมนญู

- ใหมีกฎหมายเพื่อจัดตั้งองคกรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมที่เปนอิสระเพื่อปรับปรุงหนวยงานทีเ่กีย่วของกับกระบวนการยุติธรรมทั้งหมด

นโยบายดานการตางประเทศ (ม.82)

Page 5: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

- รัฐตองปฏิบัติตามสนธิสัญญาดานสทิธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคี รวมทั้งตามพันธกรณีที่ทําไวกับนานาประเทศ นโยบายดานเศรษฐกิจ (ม.83 - 84)

- รัฐตองสนับสนุนตามแนวปรัชญาเศรษฐกจิพอเพยีง - รัฐตองสนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบเสรีและเปนธรรม โดยอาศัยกลไกตลาด - สนับสนนุใหใชหลักคุณธรรม จริยธรรม และหลักธรรมาภิบาลควบคูการประกอบกิจการ - ปรับปรุงระบบการจัดเก็บภาษีอากรใหเปนธรรม - คุมครองและรักษาผลประโยชนของเกษตรกร สงเสริมการรวมกลุมของเกษตรกรในรปูของ

สภาเกษตรกร - คุมครองระบบสหกรณใหเปนอิสระ และการรวมกลุมการประกอบอาชพีของประชาชนใน

ดานเศรษฐกจิ - จัดใหมีสาธารณปูโภคพื้นฐานตอการดํารงชีวิตของประชาชน และตองไมอยูในความ

ผูกขาดของเอกชนอนัอาจกออความเสียหายแกรัฐ - การดําเนินการใดที่เปนเหตุใหโครงสรางหรอืโครงขายพืน้ฐานของกิจการสาธารณูปโภค

ข้ันพืน้ฐานของรัฐ หรือเพื่อความมัน่คงของรัฐ จะตกไปเปนกรรมสิทธิ์ของเอกชนหรือทาํใหรัฐเปนเจาของนอยกวา 51% จะกระทํามิได

- สนับสนนุกิจการพาณิชยนาวี การขนสงทางราง และการจัดการขนสงทัง้ภายในและระหวางประเทศ

นโยบายดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม (ม.85)

- กําหนดหลักเกณฑการใชทีดิ่นใหครอบคลุมทั่วประเทศ และใหคํานงึถึงความสอดคลองดานตาง ๆ โดยตองใหประชาชนในพืน้ทีท่ีไ่ดรับผลกระทบจากหลักเกณฑการใชทดินนัน้มีสวนรวมตัดสินใจดวย

- กระจายการถอืครองที่ดินอยางเปนธรรม เพื่อใหเกษตรกรมีสิทธิในทีดิ่นอยางทัว่ถงึ โดยการปฏิรูปที่ดินหรือวธิีอ่ืน

- จัดใหมกีารวางผังเมืองเพื่อประโยชนในการดูแลทรัพยากรธรรมชาต ิ- จัดใหมีแผนการจัดการทรพัยากรน้ําและทรัพยากรธรรมชาติอยางเปนระบบ - ประชาชน ชุมชนทองถิน่ และองคกรทองถิน่ตองมีสวนรวมในการกําหนดแนวทางปองกัน

Page 6: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและการพฒันาอยางยั่งยืน นโยบายดานวทิยาศาสตร ทรัพยสินทางปญญา และพลังงาน (ม.86) - รัฐตองจัดใหมีกฎหมายเพื่อสนับสนุนดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยแีละนวัตกรรมดานตางๆ ตลอดจนตองสนับสนนุงานวิจัย และใชประโยชนจากพลังงานทดแทนและเปนมิตรตอส่ิงแวดลอมดวย นโยบายดานการมีสวนรวมของประชาชน (ม.87)

- สงเสริมใหประชาชนมีความเขมแข็งในทางการเมือง และจัดตั้งกองทนุพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองเพื่อชวยเหลือกจิกรรมสาธารณะ

- สนับสนนุใหประชาชนรวมกลุมในลักษณะเครือขายทุกรูปแบบใหสามารถแสดงความเหน็และเสนอความตองการของชุมชนในพืน้ที ่

- การมีสวนรวมของประชาชนตองคํานงึถงึสดัสวนของหญงิและชายที่ใกลเคียงกนั หมวดที่ 6 รัฐสภา รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 รัฐสภาประกอบดวยสภาผูแทน ฯ และวุฒสิภาประธานสภาผูแทน ฯ เปนประธานรัฐสภา (ม.88 – 89)

รัฐสภาประกอบดวยสภาผูแทน ฯ และวุฒสิภาประธานสภาผูแทน ฯ เปนประธานรัฐสภา

กกต. มีอํานาจสงเรื่องการขาดสมาชกิภาพของ ส.ส. หรือ สว. ผานประธานแตละสภาไปใหศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัย (ม.91)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

ส.ส. มีวาระ 4 ป มีจํานวน 480 คน มาจากแบบเลือกตั้งแบงเขตเรียงเบอร 400 คน และมาจากแบบบญัชีรายชื่อกลุมจังหวัด 8 กลุม ๆ ละ 10 คนรวม 80 คน (ม.93)

ส.ส. มีวาระ 4 ป มีจาํนวน 500 คน มาจากมาจากแบบเลือกตั้งเขตเดียวคนเดียว 400 คน และมาจากแบบบัญชีรายชือ่ระดับประเทศ 100 คน

หลังการเลือกตั้งแลวหากได ส.ส. ไมนอยกวา (ไมมีบทบัญญัติลักษณะนี ้ แตโดยผลการ

Page 7: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

95 % ใหถือวาเปนสภาผูแทน ฯ ได จากนัน้ดําเนนิการตอใหครบจํานวนใน 180 วนั (ม.93)

วินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญทําใหหลงัการเลือกตั้งตองม ีส.ส. ครบ 100 % จึงจะถือเปนองคประกอบของสภา)

ผูสมัคร ส.ส. ตองเปนสมาชกิพรรคเดียวไมนอยกวา 90 วนั นบัถึงวนัเลือกตั้ง เวนแตกรณยีุบสภาตองเปนไมนอยกวา 30 วนั (ม.101)

ผูสมัคร ส.ส. ตองเปนสมาชกิพรรคเดียวไมนอยกวา 90 วนั นบัถึงวนัลงสมคัร

บุคคลลมละลาย หรือเคยเปนบุคคลลมละลายทุจริตหามสมคัร ส.ส. (ม.102)

บุคคลลมละลายซึง่ศาลยงัไมส่ังใหพนคดหีามสมัคร ส.ส.

ผูเคยถูกวุฒิสภามีมติใหถอดถอนออกจากตําแหนงหามลงสมัคร ส.ส. ตลอดไป (ม.102)

ผูเคยถูกวุฒิสภามีมติใหถอดถอนออกจากตําแหนงหามลงสมัคร ส.ส. จนกวาจะพนกําหนด 5 ป

หามควบรวมพรรคการเมืองที่ม ีส.ส. ระหวางอายุของสภา (ม.104)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

ส.ส. ไปเปนรัฐมนตรี หรือนายกรัฐมนตรีไมตองพนจากการเปน ส.ส. (ม.106)

ส.ส. ไปเปนรัฐมนตรี หรือนายกรัฐมนตรีตองพนจากการเปน ส.ส.

ผูสมัคร ส.ส. ไมมีเกณฑข้ันต่ําเกี่ยวกับวฒุิการศึกษา ผูสมัคร สว. ตองมีวฒุิมากกวาหรือเทียบเทาปริญญาตรี (ม.101 ,115)

ผูสมัคร ส.ส. และ สว. ตองมีวุฒิมากกวาหรือเทียบเทาปริญญาตรี เวนแตเคยเปน ส.ส. หรือ สว.

ผูสมัคร ส.ส. และ สว. ตองเกิดในจังหวัดนั้น หรือมีชื่อในทะเบียนบานติดตอกันไมตํ่ากวา 5 ปนับถงึวนัสมคัร หรือเคยรับราชการหรือเคยมีชื่ออยูในทะเบยีนบานในจังหวัดที่ลงสมัครติดตอกันไมตํ่ากวา 5 ป หรือเคยศึกษาในจังหวัดนัน้ไมตํ่ากวา 5 ปการศึกษา อยางใดอยางหนึ่ง (ม.101 ,115)

ผูสมัคร ส.ส. และ สว. ตองเกิดในจังหวัดนั้น หรือมีชื่ออยูในทะเบยีนบานในเขตที่ลงสมัครติดตอกันไมตํ่ากวา 1 ปนับถึงวนัสมัคร เคยเปน ส.ส. หรือสมาชิกหรือผูบริหารทองถิน่ในเขตนั้น หรือเคยศึกษาในจังหวัดนั้นติดตอกันไมนอยกวา 2 ปการศึกษา หรือเคยรับราชการหรอืเคยมีชื่อในทะเบียนบานในจงัหวดัในจังหวัดนัน้ติดตอกันไมตํ่ากวา 2 ป อยางใดอยางหนึง่

สว. มีวาระ 6 ป มีจาํนวน 150 คน มาจากการเลือกตั้งจังหวดัละ 1 คน และมาจากการสรรหาจากกลุมสาขาอาชพี 74 คน (ม.111)

สว. มีวาระ 6 ป มีจํานวน 200 คน มาจาการเลือกตั้งตามสดัสวนประชากร โดยมีจงัหวดัเปนเขตเลือกตั้ง

ผูสมัคร สว. หาเสียงไดเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกบัการปฏิบัติหนาที่ของ สว. (ม.112)

ผูสมัคร สว. หามหาเสียง

Page 8: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

ผูมีสิทธิ์เลือกตั้งลงคะแนนเลือก สว. ได 1 เสียงเลือกได 1 คน (ม.112)

ผูมีสิทธิ์เลือกตั้งลงคะแนนเลือก สว. ได 1 เสียงเลือกได 1 คน

คณะกรรมการสรรหา สว. จาํนวน 7 คน ประกอบดวยประธานศาลรฐัธรรมนูญ ประธาน กกต. ประธานผูตรวจการแผนดิน ประธาน ปปช. ประธาน คตง. ผูพิพากษาศาลฎีกาทีท่ี่ประชุมใหญศาลฎีกาเลือกมา 1 คน ผูพพิากษาศาลปกครองสูงสุดทีท่ี่ประชุมใหญศาลปกครองสูงสุดเลือกมา 1 คน (ม.113)

(ไมมีระบบสรรหา สว.)

ผูสมัคร สว. ทีจ่ะไดรับการสรรหามี 5 กลุม ประกอบดวยกลุมภาควิชาการ ภาคองคกรเอกชน ภาครฐั และภาคอื่น ๆ ตามที่บัญญัติในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู (ม.114)

(ไมมีระบบสรรหา สว.)

ผูสมัคร สว. ตองไมเปนบพุการี คูสมรส หรือบุตรของ ส.ส. หรือผูดํารงตําแหนงทางการเมือง (ม.115)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

ผูสมัคร สว. ตองไมเปนสมาชิกหรือผูดํารงตําแหนงในพรรคการเมือง หรือ ส.ส. หรือรัฐมนตรี หรือพนมาแลวไมถึง 5 ป (ม.115)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

พนจาก สว. แลวยังไมเกิน 2 ปหามเปนรัฐมนตรีหรือขาราชการการเมือง (ม.116)

พนจาก สว. แลวไมเกนิ 1 ปหามเปนรัฐมนตรีหรือขาราชการการเมือง เวนแตจะเปนการพนเพราะหมดวาระ

วุฒิสภามีอาย ุ6 ป และหามเปน สว. ติดตอกันเกิน 1 วาระ (ม.117)

วุฒิสภามีอาย ุ6 ป และหามเปน สว. ติดตอกันเกิน 1 วาระ

สว.พนสภาพเมื่อตองคําพพิากษาใหจาํคุก แมจะรอลงอาญา (ม.119)

สว. พนสภาพเมื่อถูกคําพิพากษาถงึที่สุดใหจําคุก

ประธานและรองประธานสภาผูแทน ฯ เปนกรรมการบริหารหรือดํารงตาํแหนงใดในพรรคการเมืองไมได (ม.124)

(ไมมีบทบัญญัติหาม)

ให พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญมีศักดิ์เหนือกฎหมายทัว่ไป เสนอไดโดยคณะรัฐมนตรี ส.ส.

Page 9: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

หรือ สว. ไมตํ่ากวา 1 ใน 10 หรือศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา หรือองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญทีรั่กษาการตาม พรบ. นัน้ และกรรมวิธีการพจิารณา พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญแตกตางจาก พรบ.ทั่วไป (ม.139 ,140)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

กอนนําทูลเกลา พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญใหสงศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาความชอบดวยรัฐธรรมนูญทกุครั้ง โดยใหแลวเสร็จใน 30 วัน (ม.141)

สงราง พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญใหศาลรัฐธรรมนูญเพือ่พิจารณาความชอบดวยรัฐธรรมนูญ ตอเมื่อ ส.ส. หรือ สว. หรือนายก ฯ เห็นวามีขอความที่ขัดหรอืแยงกับรัฐธรรมนูญ

การเขาชื่อเสนอญัตติอภิปรายไมไววางใจนายกรัฐมนตรี ตองใช ส.ส. ไมนอยกวา 1 ใน 5 ของสมาชิกเทาที่มีอยู (ม.158)

การเขาชื่อเสนอญัตติอภิปรายไมไววางใจนายกรัฐมนตรี ตองใช ส.ส. ไมนอยกวา 2 ใน 5 ของสมาชิกเทาที่มีอยู

เมื่อญัตติอภิปรายรัฐมนตรีถกูเสนอแลว แมวารัฐมนตรีดังกลาวจะเปลี่ยนไปเปนรัฐมนตรีอ่ืน ก็ยังคงตองถกูอภิปรายไมไววางใจ (ม.159)

เมื่อญัตติอภิปรายรัฐมนตรีถกูเสนอแลว แตรัฐมนตรีดังกลาวเปลีย่นไปเปนรัฐมนตรีอ่ืน ญัตติอภิปรายไมไววางใจเปนอันตกไป

หากฝายคานมี ส.ส. ไมถงึ 1 ใน 5 กรณีญัตติอภิปรายไมไววางใจนายก ฯ หรือ 1 ใน 6 กรณีญัตติอภิปรายไมไววางใจรัฐมนตรี อาจเขาชื่อดวยจํานวนมากกวาครึ่งหนึง่ของจํานวนทัง้หมดที่มีอยู เพื่อยืน่ญัตติอภิปรายไมไววางใจไดเมื่อรัฐบาลบริหารเกินกวา 2 ปแลว (ม.160)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

หมวดที่ 7 การมีสวนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 ผูมีสิทธิ์เลือกตั้งไมนอยกวา 10,000 คนเขาชื่อเสนอรางกฎหมายในหมวดสิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวดแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐได (ม.163)

ผูมีสิทธิ์เลือกตั้งไมนอยกวา 50,000 คนเขาชื่อเสนอรางกฎหมายในหมวดสิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวดแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐได

Page 10: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

กรรมาธิการวสิามัญพิจารณารางกฎหมายที่ประชาชนเขาชื่อยื่นเสนอ จะตองมีผูแทนของประชาชนผูเขาชื่อไมนอยกวา 1 ใน 3 (ม.163)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

ประชาชนผูมสิีทธิ์เลือกตัง้ไมนอยกวา 20,000 คน เขาชื่อถอดถอนผูดํารงตําแหนงทางการเมืองที่กระทําผิด ทุจริตได (ม.164)

ประชาชนผูมสิีทธิ์เลือกตัง้ไมนอยกวา 50,000 คน เขาชื่อถอดถอนผูดํารงตําแหนงทางการเมืองที่กระทําผิด ทุจริตได

การออกเสียงประชามติ ดําเนินการได 2 ทางคือคณะรัฐมนตรีเสนอใหมกีารออกเสียงประชามติ หรือมีกฎหมายบัญญัติเร่ืองการออกเสียงประชามติ ทัง้นี้ผลประชามติใหมีผลเปนขอยุติ หรือแคการใหการปรึกษาก็ได (ม.165)

หากคณะรัฐมนตรีเหน็วากิจการใดกระทบประชาชนหรือประเทศ อาจปรึกษาประธานสภาผูแทนราษฎร หรือ ประธานวุฒิสภาเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหมีการออกเสียงประชามติได ทั้งนี้ผลประชามติใหมีผลแคการปรึกษาเทานั้น ไมไดบังคับรัฐบาลใหตองปฏิบัติ

หมวดที่ 8 การเงิน การคลัง และงบประมาณ (ม.166 – 170) สาระสําคัญแหงหมวด การเงิน การคลงั และงบประมาณ (มีเฉพาะรฐัธรรมนูญ 2550) - กาํหนดใหการเสนอราง พรบ.งบประมาณรายจายประจําปตองแสดงขอมูลรายรบัและสถานะทางการเงนิ การคลังที่ผานมา อันกระทบถึงการจายเงนิและภาระผูกพันทางทรพัยสิน - ใหมกีารตรากฎหมายการเงินการคลังของรัฐเพื่อเปนหลักเกณฑเกี่ยวกับกรอบการใชจาย การวางแผนการเงนิ การจัดหารายได การกอหนี ้ฯลฯ เพื่อกํากับการใชจายเงินใหมีเสถียรภาพ พัฒนาเศรษฐกิจอยางยั่งยืน และความเปนธรรมในสังคม - ใหมกีารชี้แจงเงนิรายได ที่ไมตองนาํสงคลังตอรัฐสภาเพื่อใหตรวจสอบได - ใหศาล องคกรตามรัฐธรรมนูญสามารถแปรญัตติตอคณะกรรมาธิการหากเหน็วา งบประมาณที่ไดรับจัดสรรนั้นไมเพยีงพอ หมวดที่ 9 คณะรัฐมนตร ี รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 นายกรัฐมนตรีตองมาจาก ส.ส. จะตองดาํรงตําแหนงติดตอกันเกนิกวา 8 ปไมได (ม.171)

นายกรัฐมนตรีตองมาจาก ส.ส. แตไมมีขอจํากัดวาระการดํารงตําแหนง

Page 11: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

รัฐมนตรีตองไมเคยตองคําพพิากษาใหจําคุกโดยไดพนโทษมายงัไมถึง 5 ป กอนไดรับแตงตั้ง เวนแตในความผิดอันไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (ม.174)

รัฐมนตรีตองไมเคยตองคําพพิากษาใหจําคุกต้ังแต 2 ปข้ึนไป โดยไดพนโทษมายงัไมถึง 5 ป กอนไดรับแตงตั้ง เวนแตความผิดอันไดกระทําโดยประมาท

ในการประชมุสภาผูแทนราษฎร ถารัฐมนตรีผูใดเปน ส.ส. ในขณะเดียวกนั หามมิใหรัฐมนตรีผูนั้นออกเสียงลงคะแนนใหเร่ืองที่เกี่ยวกับการดํารงตําแหนง การปฏิบัติหนาที่หรือการมีสวนไดเสียในเรื่องนั้น (ม.177)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

กําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่คณะรัฐมนตรีรักษาการณ เพื่อไมใหเกิดการใชประโยชนในการหาเสียงเลอืกตั้ง หรือใชอํานาจจนเกิดความเสยีหายตอการบริหารราชการแผนดนิ งบประมาณ การบริหารบุคคลของภาครัฐ การอนุมัติโครงการใหมที่สรางผลผูกพนัตอรัฐบาลใหม (ม.181)

คณะรัฐมนตรีรักษาการณจะใชอํานาจแตงตั้งโยกยาย หรือปลดขาราชการ พนักงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกจิไดตอเมื่อ กกต.เหน็ชอบ

ความเปนรัฐมนตรีส้ินสุดเมื่อตองคําพพิากษาใหจําคุก แมคดีนั้นจะยังไมถงึที่สุด หรือมีการรอลงโทษเวนแตเปนกรณีที่คดยีังไมถงึที่สุด หรือรอการลงโทษในความผิดอันไดกระทาํโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือ ความผิดฐานหมิ่นประมาท (ม.182)

ความเปนรัฐมนตรีส้ินสุดเมื่อตองคําพพิากษาใหจําคุก (เคยมีคําพพิากษาศาลรัฐธรรมนูญวาหมายถงึคดถีงึที่สุดและมกีารจําคุกจริงเทานัน้)

รัฐตองใหขอมลูแกประชาชน และจัดรับฟงความคิดเหน็กอนการทาํหนังสือสัญญาระหวางประเทศ หากการปฏิบัติตามหนงัสือสัญญานัน้มีผลกระทบตอประชาชนหรอืผูประกอบการ คณะรัฐมนตรีตองดําเนนิการแกไขเยียวยาผูไดรับผลกระทบอยางรวดเร็ว (ม.190)

หนงัสือสัญญาใดมีบทเปลีย่นแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตอาํนาจแหงรัฐ ตองออกเปนพระราชบัญญติัเพื่อเปนไปตามสัญญา และตองไดรับความเหน็ชอบของรัฐสภา

หมวดที1่0 ศาล

Page 12: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 ศาลรัฐธรรมนญูมีวาระ 9 ป ประกอบดวยตุลาการ 9 คน มาจาก 1. ผูพิพากษาในศาลฏีกาซึง่ไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญศาลฏีกา จํานวน 3 คน และตุลาการในศาลปกครองสูงสุดซึ่งไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด จํานวน 2 คน 2. คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทาํการสรรหา ผูทรงคุณวุฒสิาขานิติศาสตรซึ่งมีความรูความเชี่ยวชาญทางดานนิติศาสตร จํานวน 2 คน และผูทรงคุณวฒุิสาขารัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร หรือสังคมศาสตรอ่ืน ซึง่มีความรูความเชี่ยวชาญทางดานการบริหารราชการแผนดินจาํนวน 2 คน (ม.204)

ศาลรัฐธรรมนญูมีวาระ 9 ป ประกอบดวยตุลาการ 15 คน มาจาก 1.ผูพิพากษาในศาลฎีกาซึ่งไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญศาลฎีกา จํานวน 5 คน และตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ซึง่ไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญศาลปกครองสูงสุด จํานวน 2 คน 2. คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทาํการสรรหา ผูทรงคุณวุฒสิาขานิติศาสตรจํานวน 5 คน และผูทรงคุณวฒุิสาขารัฐศาสตร จํานวน 3 คน

คณะกรรมการสรรหาศาลรัฐธรรมนูญ จาํนวน 5 คน ประกอบดวย ประธานศาลฏีกา ประธานศาลปกครองสูงสุดประธานสภาผูแทนราษฎร ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร ประธานองคกรอิสระตามรัฐธรรมนญูซึ่งเลือกกนัเองใหเหลือ 1 คน (ม.206)

คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญประกอบดวย ประธานศาลฎีกา คณะบดคีณะนิติศาสตรของรัฐเลือกกันเอง 4 คน คณะบดีรัฐศาสตรของรัฐเลือกกันเอง 4 คน ผูแทนพรรคการเมืองในสภาพรรคละหนึ่งคนเลือกกนัเองเหลือ 4 คน

บุคคลที่ถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ มีสิทธิย์ื่นคํารองตอศาลรัฐธรรมนูญโดยตรง หากไมอาจเรยีกรองตามวิธอ่ืีน (ม.212)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

ใหศาลฎีกาวนิิจฉัยคดีเกีย่วกับการเลือกตัง้และเพิกถอนสทิธิเลือกตั้งระดับชาติ และศาลอุทธรณเปนผูมีอํานาจวนิิจฉัยคดีเกี่ยวกับการเลือกตั้งและเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งระดับทองถิน่ (ม.219)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

Page 13: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมประกอบดวย ประธานศาลฎีกาเปนประธานกรรมการ และกรรมผูทรงคณุวุฒิ 14 คนมาจากศาลฎกีา 6 คน ศาลอทุธรณ 4 คน ศาลชั้นตน 2 คน ซึง่เปนขาราชการตุลาการที่ไดรับเลือกจากขาราชการตุลาการแตละชั้นศาล และกรรมการผูทรงคุณวุฒิอีก 2 คน ซึง่ไดรับเลือกจากวุฒิสภา (ม.221)

คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมประกอบดวย ประธานศาลฎีกาเปนประธานกรรมการ และกรรมผูทรงคณุวุฒิ 14 คน ซึ่งเปนขาราชการตุลาการชัน้ศาลละ 4 คน ที่ไดรับเลือกจากขาราชการตุลาการในทกุชั้นศาล และกรรมการผูทรงคุณวุฒิอีก 2 คน ซึง่ไดรับเลือกจากวุฒิสภา

เพิ่มเติมองคกรตามรัฐธรรมนูญใหอยูใตเขตอํานาจของศาลปกครองใหชดัเจนขึ้น (ม.223)

(ไมมีบทบัญญัตินี้ เปนเหตุใหตองมีการตีความเขตอํานาจของศาลปกครองกรณีที่เปนคดีเกี่ยวกับองคกรตามรัฐธรรมนูญ)

หมวด 11 องคกรตามรัฐธรรมนูญ องคกรอิสระตามรัฐธรรมนญู รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 กกต. มีวาระ 7 ป มีจาํนวน 5 คน มาจากการสรรหาแบงเปน 2 สวนคือ สวนแรกใหคณะกรรมการสรรหาจํานวน 7 ทาํหนาทีส่รรหา กกต. 3 คน แลวเสนอตอประธานวุฒสิภา สวนที่สองใหที่ประชุมใหญศาลฎีกา พิจารณาสรรหา กกต. อีก 2 คน แลวเสนอตอประธานวุฒิสภา (ม.229 ,232)

กกต. มีวาระ 7 ป มีจาํนวน 5 คน มาจากการสรรหาแบงเปน 2 สวน สวนแรกใหคณะกรรมการสรรหาจํานวน 10 คนสรรหาผูสมควรเปน กกต. 5 คน และสวนที่สอง ใหที่ประชุมใหญศาลฎีกาสรรหาผูสมควรเปน กกต. จํานวน 5 คน เพื่อใหวุฒิสภาเลือกเหลือ 5 คน

ใหมีคณะกรรมการสรรหาองคกรอิสระชุด 7 คนประกอบดวยประธานศาลฏีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานสภาผูแทนราษฎร ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร และบุคคลซึ่งที่ประชุมใหญศาลฏีกา และที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครอง

คณะกรรมการสรรหา กกต.ในสวนแรก 10 คนประกอบดวย ประธานศาลรฐัธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อธิการบดีของสถาบนัอุดมการศึกษาของรฐัเลือกกนัเองใหเหลือส่ีคน ผูแทนพรรคการเมืองทีม่ี ส.ส.เลือกกันเองใหเหลอืส่ีคน

Page 14: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

สูงสุดคัดเลือกมาฝายละหนึง่คน โดยตองไมใชผูพิพากษา หรือกรรมการสรรหาองคกรอิสระอ่ืน (ม.231) เพิ่มเติมให กกต. มีอํานาจวางระเบียบเกีย่วกับการหาเสียงเลอืกตั้งของพรรคการเมือง และขอหามการปฏิบัติหนาที่ของคณะรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ขณะรักษาการณเพื่อปองกนัการใชอํานาจที่ไมชอบ หรือ เอาเปรยีบพรรคการเมืองคูแขง (ม.236)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

หากมีหลกัฐานพอเชื่อไดวาหัวหนาพรรคหรือกรรมการบริหารพรรคมีสวนรูเห็น หรือปลอยปละละเลยไมยับยั้งการที่ผูสมัครคนใดในพรรคทุจริตการเลือกตั้ง ส.ส. และ สว. ใหถือวาพรรคการเมืองนัน้มคีวามผิดฐานการไดมาซึ่งอาํนาจรัฐโดยมิชอบตามมาตรา 68 อันมีผลใหถูกศาลรัฐธรรมนูญสั่งยุบพรรค และตัดสิทธิ์เลือกตั้งของหัวหนารรคและกรรมการบริหารพรรคเปนเงลา 5 ป (ม.237)

(ไมมบีทบัญญัตินี้ และพรรคการเมือง หวัหนาพรรค กรรมการบริหารพรรคไมตองรับผิดเนื่องจากการทุจริตการเลือกตั้งของผูสมคัรของพรรค)

ในกรณีประกาศผลเลือกตั้งแลว ถา กกต. เห็นควรใหมีการเลือกตั้งใหม หรือเพิกถอนสิทธิ์เลือกตั้งผูเปน ส.ส. หรือ สว. ใหเสนอความเห็นตอศาลฎีกา หรือกรณีการเลือกตั้งทองถิน่ ใหเสนอความเหน็ตอศาลอุทธรณเพื่อวินจิฉัย (ม.239)

กกต. เปนผูวนิิจฉัยใหมีการเลือกตั้งใหม หรือเพิกถอนสทิธิ์เลือกตั้งผูเปน ส.ส. หรือ สว. หรือสมาชิกสภาทอนถิน่ ผูบริหารทองถิน่ตลอดขบวนการ จนหลังจากประกาศผลไปแลว 1 ป

ผูตรวจการแผนดินมีจาํนวน 3 คน เลือกกนัเองเปนประธาน 1 คน มวีาระ 6 ป มาจากการสรรหาของคณะกรรมการสรรหาองคกรอิสระชุด 7 คนตามมาตรา 231 (ม.242 ,243)

ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภามีจํานวนไมเกิน 3 คน ไมมปีระธาน มวีาระ 6 ป ใหวฒุิสภาเปนผูลงมติคัดเลือกแลวเสนอแตงตั้ง

เพิ่มอํานาจหนาที่ผูตรวจการแผนดินในการดําเนนิการในกระบวนการถอดถอนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง และเอาผิดวินยั

ผูตรวจการแผนดินมีอํานาจหนาที่รับเร่ืองรองเรียนและสอบสวนหาขอเท็จจริง เกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที ่การปฏิบัติตามกฎหมายของ

Page 15: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

ขาราชการที่ฝาฝนมาตรฐานในประมวลจริยธรรม และตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ขององคกรอื่นตามรัฐธรรมนูญ และองคกรในกระบวนการยติุธรรม (ม.244)

เจาหนาที่รัฐ พนกังานรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือราชการสวนทองถิ่น และจดัทํารายงานขอเสนอแนะตอรัฐสภา

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาต ิมีวาระ 9 ป มจีํานวน 9 คน สรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา 5 คน ประกอบดวย ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานสภาผูแทนราษฎร และผูนําฝายคานในสภาผูแทน ฯ (ม.246)

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ มีวาระ 9 ป มจีํานวน 9 คน สรรหาโดยคณะกรรมการสรรหาซึ่งประกอบดวย ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธาน กกต. ประธานกรรมการตรวจเงินแผนดิน ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา ส.ส.ฝายรัฐบาล 1 คน ส.ส.ฝายคาน 1 คน อธิการบดีสถาบันอุดมศึกษาของรัฐเลือกกันเองใหเหลอื 6 คน คณะกรรมการสรรหาจะสรรหารายชื่อ 2 เทาเพื่อใหวฒุิสภาเลือกเหลือ 9 คน

เพิ่มสิทธิ์ใหประชาชนไมนอยกวา 20,000 คน เขาชื่อรองขอใหวุฒิสภาถอดถอน ป.ป.ช. (ม.241)

กระบวนการถอดถอน ป.ป.ช. เร่ิมโดย ส.ส. ไมนอยกวา 1 ใน 4 ของทีม่ีอยูเทานั้น

เพิ่มประสทิธิภาพการทาํหนาที่ของ ป.ป.ช. โดยดําเนนิการกับผูดํารงตําแหนงทางการเมือง และเจาหนาทีรั่ฐต้ังแตผูอํานวยการกองหรอืเทียบเทาขึน้ไป รวมทัง้กํากบัดูแลจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง (ม.250)

ดําเนนิการกับผูดํารงตําแหนงทางการเมือง และเจาหนาทีรั่ฐทั้งหมดทกุระดับ

คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ม ี7 คน มีวาระ6ป สรรหาโดยคณะกรรมการสรรหาองคกรอิสระชุด 7 คนตามมาตรา 231 (ม.252)

คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ม ี10 คน มีวาระ6ป สรรหาตามที ่พรบ.ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาบัญญัติ

องคกรอื่นตามรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540

Page 16: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

ใหองคกรอัยการเปนองคกรตามรัฐธรรมนญู และมีหนวยธรุการที่เปนอิสระ เพื่อใหการปฏิบัติหนาที่ของอัยการเปนอิสระและเปนกลาง (ม.255)

(ไมมีบทบัญญัตินี้ โดยองคกรอัยการขึ้นตรงตอสํานักนายกรฐัมนตรี)

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติม ี7 คน มีวาระ 6 ป มาจากการสรรหาของคณะกรรมการสรรหาองคกรอิสระชุด 7 คนตามมาตรา 231 (ม.256)

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติม ี11 คน มีวาระ 6 ป มีที่มาตาม พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

เพิ่มอํานาจใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเสนอเรื่องตอศาลรัฐธรรมนูญกรณีมีผูรองวากฎหมายใดกระทบสทิธิมนุษยชนและขัดรัฐธรรมนูญ ยื่นเสนอเรื่องศาลปกครองกรณีมีผูรองวากฎ คําสั่งหรือการกระทําทางปกครองใดกระทบสทิธิมนุษยชนและขดัรัฐธรรมนูญ รวมทัง้ใหฟองคดีตอศาลยุติธรรมแทนผูเสยีหายจากการละเมดิสิทธิมนุษยชน (ม.257)

อํานาจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเดิมมเีพียงการเสนอแนะ ทํารายงานตอรัฐสภา ประสานรหวางองคกร และสงเสริมการศึกษาวิจยัในดานสทิธมินุษยชน

เพิ่มอํานาจสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติใหความเห็นเกี่ยวกบัการตรากฎหมายที่เกีย่วของกับเร่ืองเศรษฐกิจและสังคม (ม.258)

อํานาจเดิมของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาตคืิอใหคําปรึกษารัฐบาลในปญหาที่เกีย่วเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเห็นชอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติกอนประกาศใช

หมวดที่ 12 การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ การตรวจสอบทรัพยสิน รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ และผูไดรับมอบอํานาจไมวาทางตรงหรอืทางออม ตองยืน่แสดงรายการ

ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ตองยืน่แสดงรายการบัญชีทรัพยสินและหนี้สิน

Page 17: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

บัญชีทรัพยสินและหนี้สินเมื่อเขารับและพนจากตําแหนง (ม.259) บัญชีทรัพยสนิและหนี้สินของนายกรัฐมนตรีรัฐมนตรี ส.ส. และ สว. ตองถูกนาํออกเปดเผยตอสาธารณะภายใน 30 วนั (ม.261)

บัญชีทรัพยสนิและหนี้สินของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ตองถูกนําออกเปดเผยตอสาธารณะภายใน 30 วัน

ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองเปนผูวนิิจฉัยกรณียื่นบัญชีเทจ็ ทั้งนี้ผูกระทําผดิตองออกจากตําแหนงทางการเมืองและหามดาํรงตําแหนงเปนเวลา 5 ปนับแตวันที่ศาลฎีกาวนิิจฉัย (ม.263)

ศาลรัฐธรรมนญูเปนผูวนิิจฉัยกรณียื่นบัญชีเท็จ ทั้งนี้ผูกระทําผดิตองออกจากตําแหนงทางการเมืองและหามดาํรงตําแหนงเปนเวลา 5 ปนับแตวันที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

การกระทําที่เปนการขัดกันแหงผลประโยชน รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 หาม ส.ส. และ สว. เปนหุนสวนกิจการผูกขาด การแทรกแซง การเปนคูสัญญา รับสัมปทาน หรือการถือหุนในบริษัทที่รับสัมปทาน หรือเปนคูสัญญากับหนวยงานของรฐั รวมทั้งการรับเงินหรือผลประโยชนใด ๆ โดยรวมไปถึงคูสมรสและบุตร หรือผูไดรับมอบหมายกระทาํการแทน (ม.265)

หาม ส.ส. และ สว. เปนหุนสวนกิจการผูกขาด การเปนคูสัญญา รับสัมปทาน หรือการถือหุนในบริษัทที่รับสัมปทาน หรือเปนคูสัญญากับหนวยงานของรัฐ รวมทั้งการรับเงนิหรือผลประโยชนใด ๆ

นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี คูสมรส บุตรที่ยงัไมบรรลุนิตภาวะ รวมทั้งผูกระทําการแทน หามไมใหดํารงตําแหนงในหางหุนสวน หรือเปนหุนสวน หรือถือหุนเกินจาํนวนที่กฎหมายบัญญัติ หรือมีสวนในการบริหารใน หางหุนสวนบริษทั เวนแตแจงตอ ปปช. เพื่อโอนใหบริษัทนิติบุคคลจัดการทรัพยสินดําเนนิการแทน (ม.269)

รัฐมนตรีหามไมใหดํารงตาํแหนงในหางหุนสวน หรือเปนหุนสวน หรือถือหุนเกนิจํานวนที่กฎหมายบัญญัติ หรือมีสวนในการบรหิารใน หางหุนสวนบริษัท เวนแตแจงตอ ปปช. เพื่อโอนใหบริษทันิติบุคคลจัดการทรัพยสินดําเนนิการแทน

Page 18: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

การถอดถอนจากตําแหนง รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 วุฒิสภาเปนผูมีอํานาจถอดถอนผูดํารงตาํแหนงทางการเมือง (ม.270)

วุฒิสภาเปนผูมีอํานาจถอดถอนผูดํารงตาํแหนงทางการเมือง

การยืน่คํารองใหวุฒิสภาพิจารณาถอดถอนมีสามทาง คือ ส.ส. ไมตํ่ากวา 1 ใน 4 ของจํานวนที่มีอยู สว. ไมตํ่ากวา 1 ใน 4 ของจํานวนที่มีอยู หรือประชาชนผูมีสิทธิ์ออกเสียงไมตํ่ากวา 20,000 คน (ม.271)

การยืน่คํารองใหวุฒิสภาพิจารณาถอดถอนมีสามทาง คือ ส.ส. ไมตํ่ากวา 1 ใน 4 ของจํานวนที่มีอยู สว. ไมตํ่ากวา 1 ใน 4 ของจํานวนที่มีอยู หรือประชาชนผูมีสิทธิ์ออกเสียงไมตํ่ากวา 50,000 คน

หลังรับคํารองใหวุฒิสภาสงตอให ปปช. ดําเนนิการไตสวนใหเสร็จโดยเร็ว แลวรายงานตอวุฒิสภาวามีมูลหรือไม (ม.272)

หลังรับคํารองใหวุฒิสภาสงตอให ปปช. ดําเนนิการไตสวนใหเสร็จโดยเร็ว แลวรายงานตอวุฒิสภาวามีมูลหรือไม

กรณีที่ ปปช. มีมติไมนอยกวากึ่งหนึง่วาผูดํารงตําแหนงรายใดมีมูลความผดิ ผูนัน้ตองหยุดการปฏิบัติงาน (ม.272)

กรณีที่ ปปช. มีมติวาผูดํารงตําแหนงรายใดมีมูลความผิด ผูนั้นตองหยุดการปฏิบัติงาน

หากวุฒิสภามมีติไมนอยกวา 3 ใน 5 ใหผูดํารงตําแหนงนัน้ถกูถอดถอนออกจากตาํแหนง และหามดาํรงตําแหนงทางการเมืองและรับราชการเปนเวลา 5 ป (ม.274)

หากวุฒิสภามมีติไมนอยกวา 3 ใน 5 ใหผูดํารงตําแหนงนัน้ถกูถอดถอนออกจากตาํแหนง และหามดาํรงตําแหนงทางการเมืองและรับราชการเปนเวลา 5 ป

การดําเนินคดอีาญาผูดํารงตําแหนงทางการเมือง รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง และบุคคลอื่นที่เปนตัวการ ผูใช หรือผูสนบัสนุน หรือผูให ผูขอให หรือรับวาจะใหทรัพยสินผลประโยชนแกผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ตองถกูดําเนนิคดีโดยศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารง

ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง และบุคคลอื่นที่เปนตัวการ ผูใช หรือผูสนับสนนุ ตองถูกดําเนนิคดีโดยศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง

Page 19: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

ตําแหนงทางการเมือง (ม.275) หมวดที่ 13 จริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและเจาหนาท่ีของรัฐ รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 ใหมีประมวลจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและเจาหนาที่ของรัฐ (ม.279)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

ขาราชการและเจาหนาที่รัฐฝาฝนมีความผิดทางวนิัย (ม.279)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

หากผูดํารงตําแหนงฝาฝน และเปนความผิดรายแรงใหผูตรวจการแผนดนิสงเรื่องให ปปช. และถือเปนเหตุใหถูกถอดถอนออกจากตาํแหนงโดยมติวุฒิสภาได (ม.279)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

หมวดที่ 14 การปกครองสวนทองถิ่น รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 ใหมีมาตรฐานกลางเปนแนวทางใหองคกรปกครองสวนทองถิน่เลือกไปปฏิบัติได รวมทัง้มีกลไกตรวจสอบการดําเนินงานโดยประชาชนเปนหลกั (ม.282)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

ใหมีการจัดตั้งองคกรปกครองสวนทองถิน่รูปแบบพิเศษ ที่มโีครงสรางการบริหารที่แตกตางจากทีบั่ญญัติไวก็ได แตผูบริหารตองมาจากการเลือกตั้ง (ม.284)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

ประชาชนในทองถิ่นมีสิทธิมสีวนรวมในการบริหารกิจการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น การกระทําใดขององครปกครองสวนทองถิน่ที่มีผลกระทบตอประชาชนในทองถิ่น ตองมกีาร

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

Page 20: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

แจงขอมูลรายละเอียดใหทราบเปนเวลาพอสมควร และหากมีการรองขอตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นกอน หรือใหลงประชามติกอนดําเนินการ (ม.287) ใหพนักงานสวนทองถิ่นเปนขาราชการสวนทองถิน่ และมีองคกรพทิักษระบบคุณธรรมของขาราชการสวนทองถิน่ เพื่อสรางระบบคุมครองคุณธรรมและจริยธรรมในการบริหารบุคคล (ม.288)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

หมวดที่ 15 การแกไขเพิ่มเตมิรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญ 2550 รัฐธรรมนูญ 2540 ญัตติแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตองมาจากคณะรัฐมนตรี สภาผูแทน ฯ ไมนอยกวา 1 ใน 5 ของจํานวนทีม่ีอยู หรือ สภาผูแทน ฯ และวุฒิสภารวมกนัไมนอยกวา 1 ใน 5 ของจํานวนที่มีอยู หรือผูมีสิทธิ์เลือกตั้งเขาชื่อไมนอยกวา 50,000 คน (ม.291)

ญัตติแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตองมาจากคณะรัฐมนตรี สภาผูแทน ฯ ไมนอยกวา 1 ใน 5 ของจํานวนทีม่ีอยู หรือ สภาผูแทน ฯ และวุฒิสภารวมกนัไมนอยกวา 1 ใน 5 ของจํานวนที่มีอยู ในกรณีของสภาผูแทน ฯ ตองมีมติเห็นชอบของพรรคการเมืองที่สังกัดกําหนดดวย

กรณีที่เปนญตัติของประชาชนทีเ่ขาชื่อเสนอนัน้ ในวาระการพจิารณาที่สอง ตองจัดใหรับฟงความคิดเหน็ของประชาชนผูเขาชื่อดวย (ม.291)

(ไมมีบทบัญญัตินี้)

บทเฉพาะกาลสําหรับวาระเริ่มแรกของการประกาศใหรัฐธรรมนูญป 2550

- ใหสภานิติบัญญัติแหงชาตทิาํหนาที่รัฐสภา สภาผูแทน ฯ และวฒุสิภาจนกวาจะมีการประชุมรัฐสภาเปนครั้งแรก แตหากวันดงักลาวยงัไมมวีุฒิสภา กใ็หสภานิติบัญญัติแหงชาติทําหนาที่ตอไป ยกเวนการเหน็ชอบหรือถอดถอนผูดํารงตาํแหนงตามรัฐธรรมนูญนี ้(ม.293)

Page 21: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

- การสิ้นสุดของสภารางรัฐธรรมนูญ และคณะกรรมาธิการยกรางรฐัธรรมนูญเมือ่มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับนี้ และหามคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญลงสมัคร ส.ส. และ สว. ภายใน 2 ป (ม.294)

- ใหสภานิติบัญญัติแหงชาตทิาํหนาที่รางกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ 3 ฉบับไดแก พรบ.เลือกตั้ง ส.ส. และการไดมาซึ่ง สว. พรบ. พรรคการเมือง และ พรบ. กกต. ใหเสร็จตามกําหนดในรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2549 (ภายใน 45 วันหลังจากประกาศใชรัฐธรรมนูญ) (ม.295)

- ใหมีการเลือกตั้ง ส.ส. ภายใน 90 วนั และดําเนนิการไดมาซึ่ง สว. ภายใน 150 วนั นับแตวันที่ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญทัง้สามฉบบัมีผลบังคับใช (ม.296)

- ในการเลือกตัง้ครั้งแรก ผูสมัคร ส.ส. ตองเปนสมาชกิสังกัดพรรคการเมืองเดยีวไมนอยกวา 30 วนันบัถึงวนัเลือกตั้ง มชีื่อในทะเบียนบานในจงัหวัดที่ลงสมคัรมากกวา 1 ป และเคยศึกษา หรือรับราชการทีจ่ังหวัดที่ลงสมัครไมตํ่ากวา 2 ป (ม.296)

- หาม สว. ชุดทีรั่บเลือกตั้งเมือ่ป 2543 ลงสมัคร สว. (ม.296) - สว. ที่มาจากการสรรหาชุดแรกมีวาระเพยีงครึ่งหนึง่ หรือ 3 ป แตมีสิทธิ์ลงสมัครหรือไดรับ

การสรรหาตอเนื่องอกีครั้ง (ม.296) - ใหรัฐบาลนี้และ คมช. พนไปเมื่อมีรัฐบาลชดุใหม (ม.298) - ใหผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาเปนผูตรวจการแผนดินตามรัฐธรรมนญูนี้ และอยูใน

ตําแหนงจนหมดวาระ โดยนับวาระตั้งแตวันที่ทรงแตงตัง้ (ม.299) - ให กกต. ปปช. และสมาชกิสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจแหงชาติ คงดํารงตําแหนงไปจนสิ้น

วาระ โดยเริ่มนับวาระตั้วแตวันที่ทรงแตงตัง้ (ม.299) - ใหกรรมการสทิธิมนุษยชนดาํรงตําแหนงตอไปจนกวาจะมีการแตงตั้งชดุใหม ในกรณีที่ผูที่

ดํารงตําแหนงมาแลวไมเกนิ 1 ปใหมีสิทธิ์ไดรับเลือกโดยตอเนื่องได (ม.299) - ใหตุลาการรัฐธรรมนูญทาํหนาที่ตอ จนกวาจะมีศาลรัฐธรรมนูญชุดใหม ซึง่เกิดขึ้น

หลังจากการแตงตั้งประธานสภาผูแทนราษฎร และผูนําฝายคานไปแลวภายใน 150 วัน และใหโอนคดทีี่ยงัไมแลวเสร็จใหศาลรัฐธรรมนูญชุดใหมดําเนนิการตอ (ม.300)

- ใหสรรหาคณะกรรมการตรวจเงนิแผนดนิและผูวาการตรวจเงนิแผนดนิภายใน 120 วันนับแตมีการแตงตั้งประธานสภาผูแทน ฯ และผูนําฝายคาน (ม.301)

- รับรอง พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญที่ใชอยูเดิม 4 ฉบับคือ พรบ. ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา พรบ. ปปช. พรบ. การตรวจเงนิแผนดิน และ พรบ. วธิีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองมีผลใชตอไป และใหประธานแตละองคกรเดปนผูรักษาการตามกฎหมาย และดําเนนิการปรับปรุง พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวใหเปนไปตามที่

Page 22: ตารางเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ2550 กับ 2540

บัญญัติในรัฐธรรมนูญ รวมทั้งให กกต. เสนอราง พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติ ภายใน 1 ป นับแตประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ จากนัน้ใหสภาผูแทน ฯพิจารณาราง พรบ. ทัง้หมดที่เสนอมาใหเสร็จภายใน 120 วัน และใหวุฒิสภาพิจารณาตอใหเสร็จภายใน 90 วัน (ม.302)

- ใหรัฐบาลชุดกอนประกาศใชรัฐธรรมนูญแตงตั้งคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายที่เปนอิสระภายใน 90 วนั เพื่อศึกษาและเสนอแนะการจัดทาํกฎหมายที่จาํเปนเพื่ออนุวัติการตามรัฐธรรมนูญนี ้ และใหคณะกรรมการชุดนี้จัดตั้งองคกรเพื่อการปฏิรูปกฎหมายในเสร็จภายใน 1 ปนบัแตประกาศใชรัฐธรรมนูญนี้ (ม.308)

- บรรดาการใด ๆ ที่ไดรับรองไวในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว รวมทั้งการกระทาํที่เกีย่วเนื่องไมวากอนหรือหลังประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ 2549 ใหถือวาชอบดวยกฎหมายและรัฐธรรมนูญ (ม.309)

-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-/-

ท่ีมา : region2.prd.go.th/prdemoc4/ตารางเทียบ%20รธน%2050%20และ%2040.doc