2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/the_study_of... · 2018-11-01 ·...

36
บทที2 ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การวิจัย เรื่อง การศึกษาการบริหารจัดการระบบระบายน้ํา กรณีศึกษา : การปองกันน้ําทวม พื้นที่เทศบาลนครสมุทรสาคร ผูวิจัยไดกําหนดประเด็นศึกษา เพื่อใชเปนกรอบพื้นฐานและ ประกอบแนวทางการศึกษา โดยแบงออกเปนหัวขอดังนี1. สภาพพื้นที่เทศบาลนครสมุทรสาคร 2. แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา 3. แนวคิดเกี่ยวกับการปองกันน้ําทวมขัง 4 . งานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 สภาพพื้นที่เทศบาลนครสมุทรสาคร 2.1.1 ประวัติความเปนมา จังหวัดสมุทรสาคร หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปวา มหาชัยนั้น สมัยกรุงศรีอยุธยา เรียกวา บานทาจีนเพราะเปนจังหวัดชายทะเลใกลปากแมน้ําตั้งแตอดีตเคยมีเรือสําเภาจากจีนและแหลม มลายูเขามาทําการคาขายแลกเปลี่ยนสินคา ไดพักอาศัยอยูในยานนี้จนเกิดเปนชุมชนใหญเรียกวา บานทาจีน ตอมาในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแหงกรุงศรีอยุธยาไทยเกิดสงครามกับพมา ทําให ชาวเมืองพากันอพยพหนีภัยไปอยูตามปายากตอการรวบรวมกําลังพล จึงโปรดใหบานทาจีนซึ่งเปน ชุมชนใหญแหงหนึ่งเลื่อนฐานะขึ้นเปนเมืองใชชื่อวา เมืองสาครบุรี เมื่อป ..2099 เปนที่ระดม พลและเปนเมืองหนาดานปองกันศัตรูที่ยกมารุกรานทางทะเล สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ใน แผนดินสมเด็จพระสรรเพชญที8 หรือพระเจาเสือพระองคไดเสด็จมาประพาสที่ปากน้ําเมืองสาคร บุรี ขณะที่ผานคลองโคกขามที่คดเคี้ยวเรือพระที่นั่งเกิดชนกับกิ่งไมจนหัวเรือหัก ทําใหพันทายนร สิงหซึ่งทําหนาที่ถือทายเรือพระที่นั่งตองโทษถึงประหารชีวิต ลวงป ..2248 หลังจากเกิด โศกนาฎกรรม 1 สมเด็จพระสรรเพชญที8 จึงโปรดใหขุดคลองลัดจากเมืองธนบุรีเปนแนวตรง ไปออกปากน้ําเมืองสาครบุรีแทนคลองโคกขามที่คดเคี้ยว เรียกวา คลองพระพุทธเจาหลวง แตยังไม ทันเสร็จทรงสวรรคตเสียกอน ถึงสมัยสมเด็จพระสรรเพชญที9 (ขุนหลวงทายสระ) ไดโปรดใหขุด

Upload: others

Post on 25-Jan-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

บทท่ี 2

ทฤษฏีและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

การวิจัย เร่ือง “การศึกษาการบริหารจัดการระบบระบายนํ้า กรณีศึกษา : การปองกันน้ําทวม

พื้นท่ีเทศบาลนครสมุทรสาคร” ผูวิจัยไดกําหนดประเด็นศึกษา เพื่อใชเปนกรอบพื้นฐานและ

ประกอบแนวทางการศึกษา โดยแบงออกเปนหัวขอดังนี้

1. สภาพพื้นท่ีเทศบาลนครสมุทรสาคร

2. แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา

3. แนวคิดเกี่ยวกับการปองกันน้ําทวมขัง

4 . งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

2.1 สภาพพ้ืนท่ีเทศบาลนครสมุทรสาคร

2.1.1 ประวัติความเปนมา

จังหวัดสมุทรสาคร หรือท่ีนิยมเรียกกันท่ัวไปวา “มหาชัย” นั้น สมัยกรุงศรีอยุธยา เรียกวา

“บานทาจีน” เพราะเปนจังหวัดชายทะเลใกลปากแมน้ําต้ังแตอดีตเคยมีเรือสําเภาจากจีนและแหลม

มลายูเขามาทําการคาขายแลกเปล่ียนสินคา ไดพักอาศัยอยูในยานนี้จนเกิดเปนชุมชนใหญเรียกวา

บานทาจีน ตอมาในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแหงกรุงศรีอยุธยาไทยเกิดสงครามกับพมา ทําให

ชาวเมืองพากันอพยพหนีภัยไปอยูตามปายากตอการรวบรวมกําลังพล จึงโปรดใหบานทาจีนซ่ึงเปน

ชุมชนใหญแหงหนึ่งเล่ือนฐานะข้ึนเปนเมืองใชช่ือวา “เมืองสาครบุรี” เม่ือป พ.ศ.2099 เปนท่ีระดม

พลและเปนเมืองหนาดานปองกันศัตรูท่ียกมารุกรานทางทะเล สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ใน

แผนดินสมเด็จพระสรรเพชญที่ 8 หรือพระเจาเสือพระองคไดเสด็จมาประพาสที่ปากนํ้าเมืองสาคร

บุรี ขณะท่ีผานคลองโคกขามท่ีคดเค้ียวเรือพระท่ีนั่งเกิดชนกับกิ่งไมจนหัวเรือหัก ทําใหพันทายนร

สิงหซ่ึงทําหนาท่ีถือทายเรือพระท่ีนั่งตองโทษถึงประหารชีวิต ลวงป พ.ศ.2248 หลังจากเกิด

โศกนาฎกรรม 1 ป สมเด็จพระสรรเพชญที่ 8 จึงโปรดใหขุดคลองลัดจากเมืองธนบุรีเปนแนวตรง

ไปออกปากนํ้าเมืองสาครบุรีแทนคลองโคกขามท่ีคดเค้ียว เรียกวา คลองพระพุทธเจาหลวง แตยังไม

ทันเสร็จทรงสวรรคตเสียกอน ถึงสมัยสมเด็จพระสรรเพชญที่ 9 (ขุนหลวงทายสระ) ไดโปรดใหขุด

Page 2: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

6

ตอจนเสร็จไดพระราชทานนามวา “คลองมหาชัย” ตอมา ณ บริเวณฝงซายปากคลองเกิดชุมชนขยาย

เติบโตข้ึน ช่ือมหาชัย จึงเปนท่ีนิยมเรียกขานแตนั้นมา

ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 4 แหงกรุงรัตนโกสินทรได

โปรดใหเปล่ียนช่ือเมืองสาครบุรีเปนเมืองสมุทรสาคร ซ่ึงมีความหมายวา “เมืองแหงทะเลและ

แมน้ํา” ป พ.ศ.2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว โปรดใหเปล่ียนช่ือเมืองสมุทรสาคร

เปนจังหวัดสมุทรสาครและในป พ.ศ.2486 ไดลดฐานะเปนอําเภอไปข้ึนกับจังหวัดธนบุรี จนกระท่ัง

ป พ.ศ.2486 จึงแยกจังหวัดธนบุรีเปนจังหวัดสมุทรสาครตามเดิมประวัติความเปนมาในการจัดต้ัง

เทศบาลนครสมุทรสาคร ซ่ึงเปนลักษณะเดนของเทศบาลถือเปนเอกลักษณ และความภาคภูมิใจของ

ทองถ่ิน กลาวคือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว(รัชกาลท่ี 5) ไดเสด็จประพาสตนมาถึง

ตําบลทาฉลอมในปพ.ศ.2447 และปตอมาพระองคไดเสด็จตําบลทาฉลอมเพื่อเปดถนนถวายและมี

พระบรมราชโองการตั้งทาฉลอมใหเปนสุขาภิบาล ในวันท่ี 18 มีนาคม2448 (รศ.124) เรียกวา

สุขาภิบาลตําบลทาฉลอม ทรงประกาศพระราชทานเงินภาษีท่ีจัดเก็บไดในตําบลทาฉลอมนํามา

บํารุงรักษาตําบลทาฉลอม และต้ังคณะกรรมการสุขาภิบาลจากประชาชนใหไดปกครองกันเอง นับ

ไดวาตําบลทาฉลอมเปนตนแบบการปกครองทองถ่ินในระบอบประชาธิปไตยโดยประชาชนมีสวน

รวมอยางแทจริง คร้ันตอมาสุขาภิบาลทาฉลอมไดขยายเขตเปนสุขาภิบาลเมืองสมุทรสาคร เม่ือวันท่ี

9 ธันวาคม 2459โดยไดรวมตําบลมหาชัย ทาจีน บางหญาแพรก โกรกกราก และทาฉลอมเขา

ดวยกันในป พ.ศ.2478 ไดมีพระราชกฤษฎีกา จัดต้ังเทศบาลเมืองสมุทรสาคร ข้ึนแทนสุขาภิบาลทา

ฉลอม โดยมีพื้นท่ี 5.93 ตารางกิโลเมตร (ราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี 52 หนา 1740 วันท่ี 10 ธันวาคม

2479) ในป พ.ศ.2530 มีพระราชกฤษฎีกาขยายเขตเทศบาล โดยรวมพื้นท่ีตําบลมหาชัย โกรกกราก

ทาฉลอม ทาทราย (บางสวน) โคกขาม (บางสวน) บางหญาแพรก (บางสวน) และทาจีน (บางสวน)

เขาดวยกัน รวมพื้นท่ีทั้งหมด 10.33 ตารางกิโลเมตร (ราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี 104 ตอนท่ี 145 วันท่ี

29กรกฎาคม 2530)

ปจจุบันชุมชนเมืองไดขยายเขตเจริญเติบโตข้ึน ความตองการดานการบริการสาธารณะเพ่ิม

มากข้ึนประกอบกับทองถ่ินมีรายไดเพิ่มมากข้ึน กระทรวงมหาดไทยจึงเห็นชอบใหมีการเปล่ียน

ฐานะเทศบาลจากเทศบาลเมืองสมุทรสาครเปนเทศบาลนครสมุทรสาคร ท้ังนี้ เพื่อประโยชนในการ

บริหารกิจการและทํานุบํารุงทองถ่ิน โดยตราพระราชกฤษฎีกา จัดต้ังเทศบาลนครสมุทรสาคร

Page 3: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

7

จังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ.2542 ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฏีกา เลมท่ี 116 ตอนท่ี

110 ก ลงวันท่ี 10 พฤศจิกายน 2542และมีผลบังคับใชต้ังแตวันท่ี 11 พฤศจิกายน 2542 เปนตนไป

2.1.2 การเมือง การปกครอง

เทศบาลนครสมุทรสาครเปนหนวยงานการบริหารราชการสวนทองถ่ินรูปแบบเทศบาล

ประกอบดวยสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี โดยท่ีสภาเทศบาลประกอบดวยสมาชิกซ่ึงประชาชน

เลือกต้ังข้ึนตามกฎหมายวาดวยการเลือกต้ังสมาชิกทองถ่ินหรือผูบริหารทองถ่ิน พ.ศ.2545 จํานวน

24 คนจาก 4 เขตหนวยเลือกต้ัง อยูในตําแหนงคราวละ 4 ปและมีนายกเทศมนตรีซ่ึงประชาชนเลือก

ต้ังข้ึนตามกฎหมายและมีรองนายกเทศมนตรี ซ่ึงมิใชสมาชิกเทศบาลโดยนายกเทศมนตรีแตงต้ังข้ึน

อีก 4 คน เปนผูชวยเหลือในการบริหารราชการ

2.1.3 ลักษณะท่ีเลือกตั้ง

เทศบาลนครสมุทรสาครต้ังอยูบริเวณริมฝงแมน้ําทาจีนใกลปากอาวไทยหางจากชายฝงทะเล

ประมาณ 5 กิโลเมตร อยูภาคกลางตอนลางทางทิศตะวันตกของประเทศไทย ระหวางเสนรุงท่ี 13

องศา 25 ลิปดา ถึง 39 ลิปดาเหนือ และเสนแวงท่ี 100 องศา 0.5 ลิปดาถึง 100 องศา 25 ลิปดา

ตะวันออก สภาพโดยท่ัวไปเปนชุมชนเมืองมีบานเรือนโรงงานอุตสาหกรรม และประชากร

หนาแนน สภาพพื้นท่ีเปนราบลุมชายฝงทะเลสูงกวาระดับน้ําทะเลปานกลางประมาณ 1-2 เมตร ไม

มีเกาะ ภูเขาและแรธาตุ มีแมน้ําทาจีนและคลองมหาชัยไหลผานลงสูอาวไทยท่ีตําบลบางหญาแพรก

2.1.4 ลักษณะภูมิอากาศ

ในเขตเทศบาลนครสมุทรสาครนั้นเปนแบบฝนเมืองรอน ความช้ืนในอากาศสูง ปริมาณฝน

ปานกลาง ฤดูรอนเร่ิมต้ังแตเดือนกุมภาพันธถึงกลางเดือนพฤษภาคม เปนชวงท่ีอากาศรอนจัด

โดยเฉพาะอยางยิ่งเดือนเมษายน ซ่ึงอุณหภูมิสูงสุดโดยเฉล่ียถึง 35.1 องศาเซลเซียส ฤดูฝน เร่ิมตน

กลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม เปนชวงท่ีไดรับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต ซ่ึงพัดพา

ความชุมช้ืนมาจากมหาสมุทรอินเดีย เดือนกันยายนเปนเดือนท่ีมีฝนตกชุก มีลมบกลมทะเลเปนลม

เฉพาะถ่ิน ซ่ึงพัดในเวลากลางวันและกลางคืน

Page 4: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

8

2.1.5 อาณาเขตและพื้นท่ีติดตอใกลเคียง

ทิศเหนือ ติดกับตําบลทาทราย

ทิศใต ติดกับตําบลบางหญาแพรก

ทิศตะวันออก ติดกับตําบลโคกขามและตําบลนาดี

ทิศตะวันตก ติดกับตําบลทาทรายและตําบลทาจีน

โดยมีพื้นท่ีท้ังหมด 10.33 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นท่ี 3 ตําบล มีตําบล มหาชัย

โกรกกราก ทาฉลอม จังหวัดสมุทรสาครมีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดใกลเคียง คือ กรุงเทพฯ

นครปฐม ราชบุรีและสมุทรสงคราม โดยมีระยะหางกัน ดังนี้ (ขอมูลกรมทางหลวง)

สมุทรสาคร – กรุงเทพมหานคร 36 กม.

สมุทรสาคร – นครปฐม 48 กม.

สมุทรสาคร – ราชบุรี 78 กม.

สมุทรสาคร – สมุทรสงคราม 37 กม. 

ภาพท่ี 2.1 แผนท่ีเทศบาลนครสมุทรสาคร

Page 5: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

9

2.1.6 ดานประชากร

จากขอมูลตามทะเบียนราษฎรเทศบาลนครสมุทรสาคร จํานวนประชากรในเขตเทศบาลป

พ.ศ.2554 ประชากรชาย 26,134 คน,ประชากรหญิง 28,042 คน รวมท้ังส้ิน 54,176 คน จํานวน

ครัวเรือนในเขตเทศบาล มีท้ังส้ิน 17,156 ครัวเรือน

2.1.7 ลักษณะการใชท่ีดิน

ตามผังเมืองรวมเมืองสมุทรสาคร เฉพาะในเขตเทศบาลนครสมุทรสาคร ทายกฎกระทรวง

ฉบับท่ี 420 (พ.ศ.2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติผังเมือง พ.ศ.2518 โดยประกาศใหมีผล

บังคับใชต้ังแตวันท่ี 10 กันยายน พ.ศ.2542 เพื่อจัดระบบการใชประโยชนท่ีดินใหมีประสิทธิภาพ

สามารถรองรับและสอดคลองกับการขยายตัวของชุมชนในอนาคต โดยในปจจุบันลักษณะการใช

ท่ีดินจะเปนประเภทที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม กระจายตัวหนาแนนบริเวณริมถนนและสองฝงแม

น้ําทาจีน

2.1.8 สถานะการเงินการคลัง

ในป 2553 เทศบาลนครสมุทรสาครมียอดเงินจากการจัดเก็บรายไดเปนเงิน 442,854,932.67

บาท แบงเปน รายไดท่ีเทศบาลจัดเก็บเอง 53,005,476.56 บาท รายไดจากภาษีจัดสรร

159,001,156.63 บาท รายไดจากเงินอุดหนุนท่ัวไป + เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 230,848,299.48 บาท

รายจายประจํา 347,310,699.29 บาท รายจายเพื่อการลงทุน 56,951,189.50 บาท มีเงินสะสม

38,593,043.88 บาท

2.1.9 ดานการศึกษา

ในเขตเทศบาลนครสมุทรสาครมีสถานศึกษาต้ังแตระดับอนุบาลประถมศึกษามัธยมศึกษา

ตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย และในปพ.ศ.2552 ไดมีการจัดต้ังโรงเรียนตนแบบจัดการศึกษาสู

ระบบโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหงเต็มรูปแบบ ณ โรงเรียนเทศบาลบานมหาชัย

สถานศึกษาท่ีอยูในความรับผิดชอบของเทศบาลมี 6 แหง คือ

- โรงเรียนเทศบาลบานมหาชัย

- โรงเรียนเทศบาลวัดชองลม

- โรงเรียนเทศบาลวัดแหลมฯ

Page 6: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

10

- โรงเรียนเทศบาลวัดตึกฯ

- โรงเรียนเทศบาลวัดเจษฎาราม

- โรงเรียนเทศบาลวัดโกรกกราก

2.1.10 ดานสาธารณสุข

กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมของเทศบาลนครสมุทรสาคร มีศูนยบริการสาธารณสุข4

แหง ไดแกศูนยบริการสาธารณสุขตําบลมหาชัย,ศูนยบริการสาธารณสุขตําบลทาฉลอมศูนยบริการ

สาธารณสุขตําบลโกรกกราก,ศูนยบริการสาธารณสุขเจษฎารามกองสาธารณสุขฯ จะเนนกาปองกัน

มากกวาการรักษาการใหบริการของเทศบาล ไดแก การสงเสริมสุขภาพอนามัยแมและเด็ก การ

ปองกันโรค การสัตวแพทยการควบคุมโรคติดตอ การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน การวางแผนครอบครัว

การประกันสุขภาพ

2.1.11 การกําจัดขยะมูลฝอย

เทศบาลนครสมุทรสาครมีหนาท่ีในการรักษาความสะอาดในเขตเทศบาลปริมาณขยะมูลฝอย

ท่ีจัดเก็บในแตละวัน จํานวน 100 ตัน/วัน จํานวนรถยนตเก็บขยะท่ีใชงานมีท้ังหมด 18 คัน มีปญหา

ท่ีเกิดข้ึนในปจจุบัน คือ ปญหาขยะท่ีปริมาณเพิ่มข้ึนเนื่องจากการเพ่ิมข้ึนของจํานวนประชากร พื้นท่ี

กําจัดขยะและเคร่ืองมือในการจัดการกําจัดขยะยังไมเพียงพอ รวมถึงการพัฒนาระบบกําจัดขยะมูล

ฝอยมีขอจํากัด

2.1.12 ดานพัฒนาชุมชน

ในเขตเทศบาลนครสมุทรสาคร แบงเปน 32 ชุมชน โดยมีการเลือกคณะกรรมการชุมชนๆละ

9 – 15 คน เพื่อประสานงานการดําเนินกิจกรรมตางๆรวมกับเทศบาลชุมชนยอย จํานวน 32 แหง คือ

1. ชุมชนเจษฎาวิถี 1 ตําบลมหาชัย

2. ชุมชนเจษฎาวิถี 2 ตําบลมหาชัย

3. ชุมชนเจษฎาวิถี 3 ตําบลมหาชัย

4. ชุมชนเดิมบาง 1 ตําบลมหาชัย

5. ชุมชนเดิมบาง 2 ตําบลมหาชัย

6. ชุมชนเดิมบาง 3 ตําบลมหาชัย

Page 7: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

11

7. ชุมชนเดิมบาง 4 ตําบลมหาชัย

8. ชุมชนน่ําเกก ตําบลมหาชัย

9. ชุมชนนรราชอุทิศ ตําบลมหาชัย

10. ชุมชนบานมหาชัย ตําบลมหาชัย

11. ชุมชนคายลูกเสือ ตําบลมหาชัย

12. ชุมชนทาปรง ตําบลมหาชัย

13. ชุมชนเศรษฐกิจ 1 ตําบลมหาชัย

14. ชุมชนเศรษฐกิจ 2 ตําบลมหาชัย

15. ชุมชนเกาะสมุทร ตําบลมหาชัย

16. ชุมชนซอยเจียม ตําบลมหาชัย

17. ชุมชนวัดปอม ตําบลมหาชัย

18. ชุมชนโรงไฟฟา ตําบลมหาชัย

19. ชุมชนคลองบางหญา 1 ตําบลมหาชัย

20. ชุมชนคลองบางหญา 2 ตําบลมหาชัย

21. ชุมชนตลาดมหาชัย ตําบลมหาชัย

22. ชุมชนทายตลาด ตําบลมหาชัย

23. ชุมชนนรสิงห ตําบลมหาชัย

24. ชุมชนบานทองคุง ตําบลทาฉลอม

25. ชุมชนรถไฟวัดแหลม ตําบลทาฉลอม

26. ชุมชนวัดแหลมสุวรรณราม ตําบลทาฉลอม

27. ชุมชนศาลเจาแมจุยบุยเนี้ย ตําบลทาฉลอม

28. ชุมชนศาลเจากลาง ตําบลทาฉลอม

29. ชุมชนทายบาน ตําบลทาฉลอม

30. ชุมชนคลองกระโจน ตําบลโกรกกราก

31. ชุมชนโกรกกราก ตําบลโกรกกราก

32. ชุมชนเรือนจํา ตําบลโกรกกราก

Page 8: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

12

2.1.13 ดานการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย

สาธารณภัย ไดแก อุทกภัย อัคคีภัย วาตาภัย อุบัติภัย ฯลฯ ท่ีเกิดข้ึนโดยฉับพลันท้ังจาก

ธรรมชาติ และการกระทําของมนุษย เทศบาลนครสมุทรสาคร มีศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณ

ภัย 4 สถานี ไดแก ศูนยเทศบาล (มหาชัย) ศูนยยอยโกรกกราก ศูนยยอยทาฉลอม หนวยรถยนต

ดับเพลิงและเรือยนตดับเพลิง พรอมบุคลากร จํานวน 70 คน ปฏิบัติหนาท่ีตลอด 24 ชม. ทุกสถานี

ดับเพลิง

2.1.14 การประปา

การประปาของทางราชการท่ีบริการประชาชน มีอยู 2 แหง คือการประปาเทศบาลนคร

สมุทรสาคร ใหบริการประปาแกประชาชนในพื้นท่ีเขตเทศบาลฯจํานวน 2 ตําบล ไดแก ตําบล

มหาชัยและตําบลโกรกกราก และในพื้นท่ี อ.บ.ต. ขางเคียงในรัศมี 1 กม.ปริมาณนํ้าประปาท่ีผลิตได

38,000 – 40,000 ลูกบาศกเมตรตอวัน มีผูใชน้ํา 11,231 ราย การจายน้ําไมเพียงพอกับความตองการ

การประปาสวนภูมิภาคสมุทรสาคร ดําเนินการจายน้ําในเขตตําบลทาฉลอม และรอบนอกเขต

เทศบาลฯ ผลิตน้ําได 15,000 ลูกบาศกเมตรตอวัน มีผูใชน้ํา 23,425 ราย การจายน้ําไมเพียงพอ

เชนเดียวกันต้ังแต 1 ตุลาคม 2552 เปนตนมาเทศบาลนครสมุทรสาครกําลังดําเนินโครงการ

เปล่ียนแปลงระบบผลิตน้ําประปาจากระบบเดิมแบบบาดาลเปล่ียนใหเปนแบบผิวดิน โดยกอสราง

ระบบผลิตน้ําประปาในท่ีดินจํานวน 53 ไร ของเทศบาลคากอสราง 548,000,000 บาท และ

กําหนดใหงานกอสรางแลวเสร็จภายในวันท่ี 23 พฤษภาคม 2554 (ขอขยายเวลาออกไป) ขณะน้ีผล

ความกาวหนาของงานท่ีกอสรางดําเนินการแลวเทากับรอยละ 85 ของปริมาณงานท้ังหมด

2.1.15 ลักษณะทางเศรษฐกิจ

ประกอบดวยสาขาการผลิต 3 สาขา คือ อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและเกษตรกรรมโดย

ไมไดพึ่งพาสาขาใดสาขาหนึ่งโดยเฉพาะ จึงทําใหระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ ชวยสงเสริมและ

ทดแทนมูลคาการผลิตท่ีลดลงในแตละสาขา อยางไรก็ดีอาชีพการประมง เปนอาชีพเดน มีการ

พัฒนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัย และกอใหเกิดอุตสาหกรรมตอเนื่อง เชน อุตสาหกรรมหองเย็น อาหาร

กระปอง อาหารสัตว ฯลฯซ่ึงทําใหเปนแหลงจําหนายอาหารทะเลที่มีความสําคัญลําดับตนๆของ

ประเทศไทย

Page 9: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

13

2.2 แนวคิดเก่ียวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา

2.2.1 ความหมายการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา

ไดมีการศึกษาและใหความหมายของการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําไว ดังนี้

เกษม จันทรแกว (2530 อางถึงใน ไกรสร เพ็งสกุล, 2551) ใหความหมายของการบริหาร

จัดการทรัพยากรน้ํา หมายถึง วิธีการดําเนินการในพ้ืนท่ีรับประโยชนจากน้ําอยางมีประสิทธิภาพ ท้ัง

ในดานการจัดหา การพัฒนา การเก็บรักษาซอมแซมส่ิงสึกหรอใหคืนสูสภาพ การฟนฟูแหลงเส่ือม

โทรม ใหใช ประโยชนไดตอไป เพื่อใหส่ิงท่ีดําเนินการนั้นบังเกิดผลอยางยั่งยืนตอมวลมนุษยและ

ธรรมชาติ

ปธาน สุวรรณมงคล (2540 อางถึงใน ไกรสร เพ็งสกุล, 2551) ใหความหมายการบริหาร

จัดการทรัพยากรน้ํา เปนวิธีการหรือกิจกรรมดําเนินการท่ีเกี่ยวของกับการพัฒนาแหลงน้ํา การ

จัดสรรน้ํา การปองกัน และแกไขภัยธรรมชาติดานน้ํา และการปองกัน แกไขมลพิษทางน้ํา เพื่อให

สามารถใชน้ําใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด

กฤตเมธ สุทธิหาญ (2545 : 17 อางถึงใน ไกรสร เพ็งสกุล, 2551) ใหความหมายการบริหาร

จัดการทรัพยากรน้ํา เปนการปฏิบัติเกี่ยวกับกิจกรรมการจัดหา การพัฒนา การจัดสรรและ

ใชประโยชน การปองกัน และการฟนฟูภาวะทางน้ํา เพื่อใหไดรับประโยชนอยางเสมอภาคและ

ยั่งยืน

กรมทรัพยากรน้ํา (2546 : 27 อางถึงใน ไกรสร เพ็งสกุล, 255) ใหความหมายการบริหาร

จัดการทรัพยากรน้ํา เปนกระบวนการในการจัดหาน้ํา จัดสรร อนุรักษ ฟนฟูและใชประโยชนจาก

ทรัพยากรน้ํา อยางยั่งยืน ตลอดจนการแกไขปญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ําในทุกพื้นท่ี

ความหมายโดยรวมของการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา หมายถึง มาตรการ วิธีการหรือ

กระบวนการตาง ๆ ไมวาจะเปนการศึกษาปญหา การวางแผน การกําหนดนโยบาย การพิจารณา

ตัดสินใจในการดําเนินการจัดหา จัดสรร อนุรักษฟนฟู ใชประโยชนจากทรัพยากรน้ํา และแกไข

ปญหาทรัพยากรน้ําอยางมีประสิทธิภาพ เสมอภาค เปนธรรมและย่ังยืน

2.2.2 หลักการจัดการทรัพยากรน้ํา

ทรัพยากรน้ํามีความสัมพันธเกี่ยวของกับทรัพยากรธรรมชาติอ่ืนๆ เชน ดิน ปาไม สัตวปา

เปนตน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา มีขอบเขตของการจัดการท่ีเกี่ยวของเช่ือมโยงกันในดานการ

Page 10: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

14

พัฒนาและอนุรักษแหลงน้ํา การจัดสรรน้ํา การปองกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ การปองกันมลพิษทาง

น้ํา และการบําบัดน้ําเสีย ซ่ึงมีผลตอการกําหนดนโยบาย และแนวทางในการดําเนินการจัดการ

ทรัพยากรน้ําใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืนหลักการจัดการทรัพยากรน้ําตองคํานึงถึงหลักการ

ดังตอไปนี้ (ปธาน สุวรรณมงคล 2540 อางถึงใน ไกรสร เพ็งสกุล, 2551)

1) การพัฒนาอยางองครวม (holistic approach) น้ําเปนทรัพยากรธรรมชาติ ประเภทหนึ่งท่ีมี

ความสัมพันธเกี่ยวของกับทรัพยากรธรรมชาติอยางใกลชิด เชน ดิน ปาไม สัตวปา ท้ังในดาน

เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ฯลฯ

2) มีลักษณะของสหวิทยาการ (interdisciplinary) การจัดการทรัพยากรน้ําเปนการนําความรู

จากหลายหลายวิธีมาใชในการจัดการทรัพยากรน้ํา เชน ดานวิศวกรรมศาสตร ดานเศรษฐศาสตร

นิติศาสตร รัฐศาสตร และดานสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา ครอบคลุมต้ังแตการออกกฎระเบียบ

เกี่ยวกับการใชประโยชนจากน้ํา เทคโนโลยีการกอสรางเพ่ือนําน้ํามาใช ประโยชนการบริหาร

จัดการเพ่ือใหเกิดประโยชนตามนโยบายผูบริหารประเทศ รวมถึงการแกไขปญหาความขัดแยงใน

การใชน้ําระหวางกลุมคนในสังคม เปนตน

3) อยูภายใตกรอบการพัฒนาท่ียั่งยืน (sustainable development) เปนการผสมผสาน การนํา

ทรัพยากรธรรมชาติท้ังหลายมาใชใหเกิดประโยชนกับสังคม ซ่ึงในขณะเดียวกันก็มีการอนุรักษ

ทรัพยากรธรรมชาติใหเหมาะสมกับของทรัพยากรตาง ๆ

4) มีความเปนเอกภาพ(unity)การจัดการทรัพยากรธรรมชาติท้ังหลายจะตองมีความเช่ือมโยง

เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อใหสอดคลองกับระบบนิเวศตามธรรมชาติ

5) มีความเปนเครือขาย (network) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติจะตองเนน เครือขาย เชน เครือขายของทรัพยากรธรรมชาติ และเครือขายของผูท่ีมีสวนเกี่ยวของกับทรัพยากรธรรมชาติเหลานั้น อันไดแก รัฐบาล เอกชน และประชาชน

6) การมีสวนรวมของประชาชน (people participation) น้ําจัดเปนสมบัติสาธารณะท่ีทุกฝาย

ในสังคมตองมีสวนรวมในการจัดการ เพื่อจัดหาน้ําท่ีมีคุณภาพและตอบสนอง วัตถุประสงคของการ

ใชน้ําได นับต้ังแตการจัดหานํ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค อุตสาหกรรม รวมถึงการธํารงรักษาวงจร

ชีวิตของส่ิงมีชีวิตในน้ําดวย

 

Page 11: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

15

2.2.3 องคประกอบการจัดการทรัพยากรน้าํ

Canada Water Resources Association (CWRA) (1997 สถาบันดํารงราชานุภาพ, 2543

อางถึงใน ไกรสร เพ็งสกุล, 2551) เปนองคกรจัดการทรัพยากรน้ําประเทศแคนาดา ไดใชหลักการ

จัดการ ทรัพยากรน้ําใหประสบความสําเร็จ และเกิดความยั่งยืนวาตองคํานึงถึงดุลยภาพของระบบ

นิเวศ และ ความเทาเทียมกันของคนในสังคมสําหรับคนรุนปจจุบันและอนาคต มีองคประกอบการ

จัดการทรัพยากรน้ํา ดังนี้

1) การจัดการทรัพยากรนํ้าอยางผสมผสาน โดยการเช่ือมโยงคุณภาพและปริมาณน้ํากับ

การจัดการทรัพยากรประเภทอื่น ๆ ความตระหนักถึงความสัมพันธระหวางระบบ

2) สนับสนุนการอนุรักษ และคุมครองคุณภาพน้ํา โดยตระหนักถึงคุณคาของปริมาณนํ้าท่ีมี

อยูจํากัด รวมท้ังคาใชจายในการจัดการท้ังปริมาณและคุณภาพ สรางความสมดุลในดานการศึกษา

การใชน้ํา กลไกตลาดและกฎเกณฑเพื่อสนับสนุนทางเลือกใหกับผูใช และตระหนักถึงความ

รับผิดชอบและประโยชนท่ีผูใชตองรับผิดชอบจากการใชทรัพยากรน้ํา

3) การแกไขปญหาดานทรัพยากรน้ํา โดยนําเอาระบบการวางแผน ติดตาม ประเมินผลและ

การวิจัยมาใช นําเอาระบบขอมูลทุกดานมาประกอบการตัดสินใจ สนับสนุนใหมี การปรึกษาหารือ

และการมีสวนรวมจากสาธารณชน มีการนํากลยุทธการเจรจาตอรอง และการไกลเกล่ียมาใชเพื่อหา

ฉันทามติ รวมท้ังสนับสนุนใหสาธารณชนรับทราบถึงขอมูลขาวสาร อยางโปรงใส และให

การศึกษากับประชาชน

2.2.4 ปจจัยท่ีเก่ียวของกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา

1) การจัดองคกร ไดแก การจัดรูปแบบโครงสรางขององคการบริหารในรูปของหนวยงาน

ภาครัฐบาล ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา จําเปนตองสอดคลอง

กับลักษณะของทรัพยากรธรรมชาติอ่ืนท่ีเช่ือมโยงกันเปนเครือขาย และพึ่งพาซ่ึงกันและกัน ไดแก

ทรัพยากรดิน ทรัพยากรปาไม เปนตน ซ่ึงการจัดองคกรท่ีดีตองจัดใหเหมาะสมกับความเช่ือมโยง

ของทรัพยากรธรรมชาติในลักษณะเครือขาย โดยจัดใหมีระบบการประสานงานระหวางองคกร

ภาครัฐบาล ภาคเอกชน และภาคประชาชนประกอบดวย

2) งบประมาณในการบริหารงานท่ัวไปเปนปจจัยสําคัญหนึ่งท่ีทําใหการดําเนินงานเกิดการ

ขับเคล่ือนของทรัพยากรการบริหารไปสูเปาหมายท่ีวางไว งบประมาณท่ี จัดสรรในแตละดาน จึง

Page 12: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

16

เปนตัวช้ีวัดทิศทางการพัฒนาขององคกรวาใหความสําคัญกับงานดานใดและการพัฒนาเปนไปตาม

แนวทางใด

2.2.5 ปญหาการจัดการทรัพยากรน้ํา

มนุษยมีการจัดการทรัพยากรน้ํามาต้ังแต 6,000 ปกอนคริสตกาล ในแหลงอารยธรรมสําคัญ

2 แหลง ไดแก เมโสโปเตเมีย และอียิปต ในชวงระยะแรกท่ีประชากรยังมีไมมาก ทรัพยากรน้ํายังไม

ขาดแคลน การพัฒนาเศรษฐกิจเปนแบบคอยเปนคอยไป กิจกรรมการเกษตรเปนแบบยังชีพมากกวา

มุงเนนเพื่อสงออก การจัดการทรัพยากรน้ําจึงยังไมซํ้าซอน โดยเปนการจัดการดวยวิธีการใช

ส่ิงกอสราง ไดแกการสรางเข่ือนและอางเก็บน้ํา รวมทั้งการวางระบบชลประทานเปนหลัก ตอมา

ภายหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรมซ่ึงสงผลตอระบบและรูปแบบการผลิต ประกอบกับจํานวน

ประชากรท่ีเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็ว สงผลตอความตองการใชทรัพยากรน้ําท่ีเพิ่มมากข้ึน อีกท้ังการ

จัดการทรัพยากรและปญหาส่ิงแวดลอมท่ีมีความซับซอนมากข้ึน นับต้ังแตทศวรรษท่ี 1970 เปนตน

มา นักวิชาการหลากหลายสาขาจึงรวมกันวิเคราะหปญหาทรัพยากรน้ําในภาพรวมของลุมน้ําลงมา

ครอบคลุมถึงสาระตาง ๆ ของการใชและการแบงปนทรัพยากรน้ํา การควบคุมและรักษาคุณภาพน้ํา

การควบคุมปริมาณและการระบายนํ้า หลักการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําถูกพิจารณาควบคูกับ

เทคนิคดานวิศวกรรมและผลประโยชนเชิงเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอม จึงเร่ิมมีการจัดการ

ทรัพยากรน้ําดวยวิธีการไมใชส่ิงกอสราง โดยกระบวนการการจัดการทรัพยากรนํ้า (เสาวนีย วิจิตร

โกสุม 2551 อางถึงใน จรรยาภรณ พรหมคุณ, 2554)

ปญหาการจัดการทรัพยากรน้ําจึงสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเด็นหลัก คือ ปญหาทาง

กายภาพ และปญหาดานการจัดการ ซ่ึงทั้งสองประเด็นมีโครงสรางและสาเหตุท่ีมีความสัมพันธ

เช่ือมโยงกัน โดยท่ีปญหาการขาดแคลนน้ําท่ีเกิดข้ึนสงผลกระทบตอการพัฒนาประเทศและเปน

ปญหาความเหล่ือมลํ้าทางเศรษฐกิจ และความขัดแยงทางสังคมไทยในอีกหลายประเทศ สภาพแหง

แลงของลุมน้ําตาง ๆ จะสงผลตอสภาวะเศรษฐกิจเมืองและชุมชน จึงจําเปนตองหาทางออกในการ

แกไขปญหาท่ีวิกฤตินี้อยางเรงดวน ดังนั้น ประเทศตางๆ จึงพยายามแกไขปญหาการขาดแคลนนํ้า

โดยการปรับเปล่ียนรูปแบบและระบบในการจัดการทรัพยากรน้ําใหมีประสิทธิภาพ การจัดการ

ทรัพยากรน้ํา จึงไดพัฒนาตอเนื่องเร่ือยมาตามบริบทของสภาพปญหา สภาพการณและวัตถุประสงค

Page 13: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

17

ในการจัดการทรัพยากรน้ํา ซ่ึงแนวคิดการจัดการทรัพยากรน้ํา สามารถจําแนกออกไดเปน 3 แนวคิด

ดังนี้

1) แนวคิดการจัดการทรัพยากรน้ําดานอุปทาน (Supply Side Management: SSM)

การจัดการทรัพยากรน้ําดานอุปทานสมัยใหม เกิดข้ึนเม่ือประมาณ ป พ.ศ. 2478 ภายหลังการ

สรางเข่ือนฮูเวอร ประเทศสหรัฐอเมริกา การจัดการน้ําโดยการสรางเข่ือนและอางเก็บน้ําจึงได

เกิดข้ึนท่ัวโลก สําหรับประเทศไทย กลาวไดวาการจัดการน้ําหรือการพัฒนาแหลงน้ําเปนแนวคิด

หลักของหนวยงานภาครัฐบาล โดยเฉพาะกรมชลประทานซ่ึงเปนหนวยงานท่ีสําคัญในการจัดการ

น้ํายึดเปนแนวทางหลักในการบริหารจัดการน้ําตลอดระยะเวลาท่ีผานมา โดยเนนเฉพาะการจัดหา

(provision) มากกวาการจัดการ (management) ภายใตการวิเคราะหปญหาท่ีวา การขาดแคลนนํ้า

หรือปญหาภัยแลงและปญหาน้ําทวม เปนผลเนื่องมาจากการมีแหลงกักเก็บน้ําไมเพียงพอ สําหรับ

เก็บกักน้ําฝนท่ีตกลงมามากในชวงฤดูฝนไวใชประโยชนในชวงฤดู ปจจุบันการจัดหาน้ํายังคงเปน

แนวทางหลักในการจัดการทรัพยากรน้ําของประเทศไทย ดังจะเห็นไดจากยุทธศาสตรและโครงการ

ตางๆ ของภาครัฐ ไดแก ยุทธศาสตรการชลประทาน พ.ศ. 2546 - 2550 กําหนดใหมีการเพิ่มพื้นท่ี

ชลประทานข้ึนอีก 4.12 ลานไร และเพิ่มการกักเก็บน้ําอีก 3,803 ลานลูกบาศกเมตร โดยใช

งบประมาณเพ่ือการดําเนินการดังกลาวสูงถึง 196,700 ลานบาท นอกจากนั้นยังมีโครงการ

ชลประทานขนาดใหญท่ีอยูระหวางการดําเนินการศึกษาจํานวน 221 โครงการ และสํานักงาน

ทรัพยากรน้ําแหงชาติท่ีเสนอใหมีการสรางเข่ือน อางเก็บน้ําและโครงการผันน้ําขามลุมน้ําจาก

ภายนอกประเทศ รวมท้ังภายในประเทศเปนจํานวนมาก เชน โครงการผันน้ําขามลุมน้ําจาก

ภายนอกประเทศไดแก น้ํางึม-ชี เซบังเหงียน-มูล สาละวิน-ภูมิพล เปนตน และโครงการผันน้ําขาม

ลุมจากลุมน้ําภายในประเทศ ไดแก ประแส-หนองปลาไหล กก-ปง แมแตง- แมกวง-แมงัด บางปะ

กง-บางพระ ปาสัก-ลําตะคอง เปนตน (สํานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2547 อาง

ถึงใน จรรยาภรณ พรหมคุณ, 2554)

2) แนวคิดการจัดการทรัพยากรน้ําดานอุปสงค (Demand Side Management: DSM)

การจัดการความตองการใชน้ํา หรือการจัดการดานอุปสงคเปนแนวคิดท่ีเปนผลสืบ

เนื่องมาจากปญหาการจัดหาแหลงน้ําท่ีทําไดยากมากข้ึน เพราะขอจํากัดดานสภาพแวดลอม และการ

ตอตานของประชาชน ประกอบกับปริมาณน้ําตนทุนท่ีมีแนวโนมลดนอยลง แนวคิดการจัดการดาน

Page 14: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

18

อุปสงค เปนแนวคิดท่ีตองการควบคุมความตองการใชน้ําโดยเปนการตอบสนองเปาหมายในการ

จัดการน้ําดานประสิทธิภาพ ซ่ึงทําไดหลายแนวทางกลาวคือ การใชมาตรการทางเศรษฐศาสตร

(economic tool) ซ่ึงเปนแนวคิดท่ีปฏิเสธการเขาถึงทรัพยากรน้ําโดยเสรี จากความเช่ือท่ีวา การเขาถึง

ทรัพยากรน้ําโดยเสรี เปนสาเหตุของการใชน้ําในรูปแบบของใครท่ีมีความสามารถในการเขาถึง

มากกวา ท้ังในเร่ืองของความรู เทคโนโลยี อํานาจและกําลังเงิน จะมีความไดเปรียบในการใชน้ําได

มากกวา ซ่ึงกอใหเกิดปญหาความขัดแยง การแยงชิงน้ํา และความไมยุติธรรมในการใชน้ํา ตลอดจน

เปนปจจัยหลักท่ีกอใหเกิดความเส่ือมโทรมของแหลงน้ํา การใชเคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตรในการ

จัดการทรัพยากรน้ํา ไดแก การตั้งราคาคาน้ํา การเรียกเก็บคาน้ําจากผูใชตามปริมาณนํ้าท่ีใช หรือ

ตามประเภทพืชท่ีเพาะปลูกในอัตราท่ีสะทอนถึงตนทุนคาเสียโอกาสในการจัดหาน้ํา อีกท้ังการ

กําหนดสิทธิในน้ํา ซ่ึงอาจกระทําโดยการออกโฉนดน้ํา การกําหนดการจัดเก็บคาน้ํา เพื่อคืนเงิน

ลงทุน (cost recovery) ภายใตกลไกตลาดเสรี ท้ังนี้ เพื่อใหสิทธิการใชน้ําสามารถจําหนาย หรือถาย

โอน เปล่ียนเจาของไดเหมือนกับโฉนดที่ดิน เพื่อใหเกิดการใชน้ําท่ีคุมคา นอกจากน้ันยังมีการ

จัดสรรน้ําตามสิทธิของผลตอบแทนของกลุมผูใชน้ํา โดยจัดลําดับกิจกรรมการใชน้ําตามลําดับท่ีให

ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และจัดสรรน้ําใหแกกลุมผูใชน้ําท่ีใหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงท่ีสุด

กอน (ธนาคารโลก 2542 อางถึงใน จรรยาภรณ พรหมคุณ, 2554)

3) แนวคิดการจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการ (Integrated Water Resource

Management: IWRM)

การจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการ เปนแนวคิดท่ีริเร่ิมจากการประชุมเร่ืองน้ําและการ

พัฒนาท่ียั่งยืนท่ีกรุงดับบลิน (1992) และถูกนํามาศึกษาเพื่อขยายผลตอเนื่องเร่ือยมาในการประชุม

ส่ิงแวดลอมโลกท่ีกรุงริโอเดอ จา เนโร (1992) การประชุมน้ําโลกคร้ังท่ี 1 ท่ีกรุงโมรอคโค (1997)

การประชุมน้ําโลกคร้ังท่ี 2 ท่ีกรุงเฮก (2000) และการประชุมน้ําโลกคร้ังที่ 3 ท่ีกรุงโตเกียว (2003)

โดยไดรับการผลักดันจากองคกรระดับโลกท่ีเกี่ยวของเร่ืองน้ํา ไดแก World Water Council (WWC)

และ Global Water Partnership (GWP) แนวคิดการจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการ เปนแนวคิด

ท่ีพิจารณาการจัดการน้ําในแงท่ีเกี่ยวพันกับทรัพยากรอ่ืนๆในลุมน้ํา เชนเดียวกับแนวคิดเร่ืองการ

จัดการลุมน้ํา ท้ังนี้เพื่อใหการใชน้ําเกิดประโยชนและมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยคํานึงถึงปจจัยทาง

ส่ิงแวดลอมและมีเปาหมาย เพื่อใหไดรับผลตอบแทนทางเศรษฐกิจและสังคม กลาวโดยสรุปคือ

Page 15: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

19

การจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการ เปนกระบวนการในการสงเสริมการประสานการพัฒนาและ

จัดการทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรดิน และทรัพยากรอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของ เพื่อนํามาซ่ึงประโยชนสูงสุดทาง

เศรษฐกิจและความเปนอยูท่ีดีของสังคมอยางเทาเทียมกัน โดยไมสงผลกระทบตอความยั่งยืนของ

ระบบนิเวศน การจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการ มีแนวคิดข้ันพื้นฐานท่ีแตกตางจากแนวคิด

การจัดการทรัพยากรน้ําแบบดั้งเดิม ท่ีการจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการนั้นคํานึงถึงการจัดการ

ท้ังดานอุปสงคและอุปทาน ดังนั้น การบูรณาการจึงสามารถพิจารณาไดภายใตสองระบบหลัก คือ

ระบบทางธรรมชาติ ซ่ึงมีความสําคัญเกี่ยวกับปริมาณและคุณภาพของทรัพยากรที่มีอยูและระบบ

ทางมนุษย ซ่ึงเปนผูกําหนดหรือทําใหเกิดความตองการในการใช การผลิตของเสียรวมท้ังการ

ปนเปอนของทรัพยากรน้ํา อีกท้ังยังเปนผูกําหนดลําดับความสําคัญในการพัฒนา ซ่ึงมีผลตอความ

ตองการใชน้ําการจัดการทรัพยากรน้ําโดยไมพิจารณาเพียงสวนใดสวนหนึ่งของพื้นท่ีลุมน้ํา จะทํา

ใหการใชน้ําเกิดประโยชนและมีประสิทธิภาพสูงสุด จึงตองมีการบูรณาการท้ังพื้นท่ี ความรูศาสตร

ตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ รวมท้ังทรัพยากรท่ีเกี่ยวของในพื้นท่ี ซ่ึงการบูรณาการเชิงพื้นท่ีเปนส่ิงสําคัญใน

การจัดการทรัพยากรน้ํา การใชขอบเขตพื้นท่ีทางการปกครอง (political boundary) ไมสามารถใช

ในการจัดการและช้ีผลกระทบ หรืออธิบายถึงความเส่ือมโทรมของระบบนิเวศนไดชัดเจนเทากับ

การใชพื้นท่ีลุมน้ําเปนขอบเขต

การจัดการทรัพยากรน้ําของประเทศไทยในชวงกวา 40 ปท่ีผานมานั้น เปนการจัดการ

ทรัพยากรน้ําแบบเปนภาคสวน (Sectoral Water Management) กลาวคือ เปนการจัดการปญหา

เฉพาะหนาเปนเร่ือง ๆ และเปนการจัดการเฉพาะในสวนของน้ําตนทุน (Supply Side Management)

โดยใหความสําคัญกับการจัดหาน้ํา การพัฒนาแหลงน้ํา และการจัดสงน้ํา เพื่อสนองความตองการ

ใชน้ํา ในบริเวณตาง ๆ โดยมิไดจัดการดานความตองการใชน้ําในกิจกรรมตาง ๆ (Demand Side

Management) ซ่ึงแตเดิมประเทศไทยมีปริมาณนํ้าตนทุนท่ีมากเกินความตองการของผูบริโภค

การจัดสรรทรัพยากรน้ําในรูปแบบดังกลาวจึงมีความเปนไปไดและเหมาะสม แตเม่ือความตองการ

ใชน้ําเพิ่มมากข้ึนท้ังในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และชุมชน รูปแบบความตองการใชน้ํา

เปล่ียนแปลงไปมาก ประกอบกับสภาวะฝนแลง ทําใหปริมาณน้ําเก็บกักในเข่ือนตาง ๆ ลดนอยลง

จึงสงผลใหเกิดปญหาการขาดแคลนนํ้า ท้ังในภาคเมืองและชนบท การกอสรางเข่ือนและอางเก็บ

น้ําขนาดใหญประสบปญหาท้ังในดานของการหาพื้นท่ี การตอตานของประชาชน และความ

Page 16: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

20

เสียหายตอระบบนิเวศน รวมท้ังปริมาณน้ําฝนท่ีลดลงประกอบกับการจัดการทรัพยากรน้ําท่ีให

ความสําคัญกับเมืองและภาคการผลิต จึงสงผลใหเกิดความขัดแยงกันอยูเนือง ๆ ในกลุมผูใชน้ํา อีก

ท้ังการจัดการทรัพยากรที่ผานมาเปนไปตามขอบเขตท่ีการปกครองเปนหลัก มิไดพิจารณาเปนพื้นท่ี

ลุมน้ํา สาเหตุของปญหาทรัพยากรน้ําขาดแคลนนั้นจึงมิใชเกิดจากสภาพทางกายภาพของพื้นท่ี หรือ

การจัดสรรน้ํา (allocation) เทานั้น แตเกิดจากการจัดการทรัพยากรน้ําท่ีไมมีประสิทธิภาพ ขาด

การบูรณาการองคความรู และการวิเคราะหเชิงพื้นท่ี (Integrated Area Approach) ซ่ึงการวาง

แผนการจัดการลุมน้ําเปนการจัดวางระบบการจัดการทรัพยากรน้ําและส่ิงแวดลอม หมายถึง การใช

ประโยชนและการควบคุมสภาวะแวดลอมเก่ียวกับทรัพยากรน้ําบนแมน้ําสายประธาน และลําน้ํา

สาขารวมท้ังลุมน้ําใกลเคียงเพื่อใหเกิดความสมดุลและสามารถใชประโยชนสูงสุดท้ัง Tangible และ

Intangible คุมคากับเงินท่ีลงทุนท้ังทางตรงและทางออม โดยหลักปฏิบัติในการจัดการลุมน้ํา

สามารถแบงออกเปน 3 หลักการ ตามลําดับข้ันตอนดังนี้

1. การวางแผนการใชท่ีดิน (Land Use Planning)

2. กําหนดแผนการใชทรัพยากรลุมน้ํา (Resources Utilization and Conservation)

3. แผนการควบคุมมลพิษส่ิงแวดลอม (Pollution Control)

2.2.6 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแบบผสมผสาน (Integrated Water Resources

Management : IWRM)

การบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแบบผสมผสาน (Integrated Water Resources Management :

IWRM) หมายถึง กระบวนการที่สนับสนุนสงเสริมเพื่อใหเกิดการมีสวนรวมจากผูท่ีมีสวนเกีย่วของ

และผูท่ีมีสวนไดเสีย ในการรวมกันจัดสรรและจัดการทรัพยากรน้ํา รวมถึงทรัพยากรอ่ืนๆ อยางเปน

ธรรม ซ่ึงมีความเหมาะสมกบับริบทของพื้นท่ีและสังคมนั้นๆ เพื่อตอบสนองตอความตองการที่

กอใหเกิดประโยชนทางดานเศรษฐกิจ สังคมสูงสุด โดยคํานึงถึงความเหมาะสมกับบริบทของสังคม

เพื่อทรัพยากรและระบบนเิวศของน้ําเปนสําคัญ ท้ังนี้หากพิจารณาในเชิงบริหารจัดการ จะพบวามี

ปจจัยท่ีเกี่ยวของท่ีสําคัญดวยกัน คือ ปจจัยนําเขาท่ีเอ้ือตอการบริหารจัดการต้ังแตระดบันโยบาย

กฎหมาย และงบประมาณของภาคสวนตางๆ โดยเฉพาะผูท่ีมีผลไดเสียคือภาครัฐบาล และการเขา

มามีสวนรวมของภาคประชาชนอยางเสมอภาค เพื่อใหสามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่องและ

สอดคลองกับบริบทของสังคมโดยมีองคประกอบสําคัญคือ

Page 17: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

21

1) องคกรตองมีบทบาทภาระหนาท่ีในการบริหารจัดการหรือเปนองคกรหลักนั้น จะตองมี

การจัดรูปแบบองคกรท่ีเปดโอกาสใหผูคนเขามามีสวนรวม และครอบคลุมพื้นท่ีการจัดการลุมน้ํา

2) เคร่ืองมือสําหรับชวยในการบริหารจัดการอันไดแกการประเมินความตองการ ความเขาใจ

แผนในการจัดการ รวมถึงระบบขอมูลท่ีจะมีสวนชวยในการบริหาร และจัดสรรน้ําอยางเปนระบบ

เพื่อไมใหเกิดความขัดแยง อีกท้ังตองสงเสริมใหสังคม มีความตระหนัก และมีจิตสํานึก ตลอดจน

การแลกเปล่ียนเรียนรู เพื่อใหเกิดการจัดการทรัพยากรน้ําแบบองครวมที่มีประสิทธิภาพ และระบบ

นิเวศนท่ียั่งยืน (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2554)

2.2.7 ยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําของประเทศ

1) วิสัยทัศนน้ําแหงชาติ

ภายในป พ.ศ. 2568 ประเทศไทยจะมีน้ําใชอยางเพียงพอและมีคุณภาพโดยมี ระบบการ

บริหารจัดการ องคกรระบบกฎหมายในการใชทรัพยากรน้ําท่ีเปนธรรมยั่งยืน โดยคํานึงถึงคุณภาพ

ชีวิตและการมีสวนรวมในทุกระดับ

2) นโยบายน้ําแหงชาติ

- เรงรัดใหมีพระราชบัญญัติทรัพยากรนํ้าเปนกฎหมายหลักในการบริหารจัดการทรัพยากร

น้ําของประเทศ โดยทบทวนและปรับปรุงพระราชบัญญัติท่ีมีอยู และเรงดําเนินการตามข้ันตอน

เพื่อใหสามารถนําไปสูการมีผลบังคับใช รวมท้ังจะตองพิจารณาปรับปรุงแกไขกฎหมาย และ

ระเบียบอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของใหสอดคลองกัน

- จัดใหมีองคการเพื่อบริหารจัดการทรัพยากรน้ําท้ังในระดับชาติ ระดับลุมน้ํา และระดับ

ทองถ่ิน ท่ีมีกฎหมายรองรับ โดยใหองคกรระดับชาติมีหนาท่ีในการกําหนดนโยบาย กํากับและ

ประสานงานเพ่ือใหเกิดการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ และใหองคกรระดับลุมน้ําและระดับทองถ่ิน

มีหนาท่ีในการจัดทําแผนการบริหารจัดการน้ําในลุมน้ํา โดยใหผูมีสวนเกี่ยวของไดมีสวนรวม

- เนนการจัดสรรน้ําท่ีเหมาะสมและเปนธรรมสําหรับการใชน้ําดานตาง ๆ ท้ังเพื่อตอบสนอง

ตามความจําเปนพื้นฐานดานเกษตรกรรมและอุปโภคบริโภค โดยจัดลําดับความสําคัญของประเภท

การใชน้ําในแตละพื้นท่ี เพื่อใหมีการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ภายใตกติกาการจัดสรร

น้ําท่ีชัดเจนและใหผูใชน้ํามีสวนรับผิดชอบในการไดรับบริการ ท้ังนี้ข้ึนอยูกับความสามารถในการ

มีสวนรวมของผูรับบริการและระดับการใหบริการ

Page 18: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

22

- กําหนดทิศทางท่ีชัดเจนในการจัดหาทรัพยากรน้ําและพัฒนาแหลงน้ํา เพื่อจัดหาน้ําตนทุนท่ี

สอดคลองกับศักยภาพและความตองการ มีคุณภาพเหมาะสมสําหรับทุกกิจกรรม โดยคํานึงถึงการ

อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติอ่ืน ๆ และส่ิงแวดลอมท่ีเกี่ยวของเปนสําคัญ

- จัดหาน้ําและพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการเกษตรใหแกเกษตรกรอยางท่ัวถึงและเปนธรรม

เพื่อตอบสนองความตองการพ้ืนฐานในการทําการเกษตร และอุปโภคบริโภค เชนเดียวกับการ

ใหบริการข้ันพื้นฐานของรัฐบาลดานอ่ืนๆ

- พัฒนาและบรรจุความรูเร่ืองน้ํา ในหลักสูตรของทุกระดับการศึกษา เพื่อปลูกฝงสราง

จิตสํานึกใหประชาชนตระหนักถึงคุณคาของน้ํา เขาใจความสําคัญของการใชน้ํ า อยางมี

ประสิทธิภาพ ความจําเปนและหนาท่ีในการรักษาสภาพแวดลอมของแหลงน้ําธรรมชาติและ

แหลงน้ําท่ีสรางข้ึน

- สนับสนุนและสงเสริมการมีสวนรวม พรอมท้ังกําหนดรูปแบบการมีสวนรวม สิทธิและ

หนาท่ีอยางชัดเจนของประชาชน องคกรเอกชนและหนวยงานของรัฐบาลในการบริหารจัดการ

ทรัพยากรน้ําอยางชัดเจน ท้ังในการใชน้ํา การดูแลรับผิดชอบ การอนุรักษแหลงน้ํา และ การ

ตรวจสอบดูแลคุณภาพน้ํา เพื่อใหเกิดการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําอยางมีประสิทธิภาพ

- เรงรัดใหมีการวางแผนการบรรเทาและแกไขปญหาอุทกภัยและภัยแลง ท้ังการเตือนภัย

การกําหนดแนวทางการบรรเทาและการฟนฟูบูรณะภายหลังการเกิดภัย อยางมีประสิทธิภาพและ

เปนธรรม โดยคํานึงถึงการใชท่ีดินและทรัพยากรธรรมชาติท่ีเกี่ยวของ

- สนับสนุนงบประมาณในการดําเนินการสําหรับแผนปฏิบัติการตามนโยบายรวมท้ังการวิจัย

การประชาสัมพันธ การรวบรวมขอมูลขาวสาร และการถายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับเร่ืองน้ําตอ

สาธารณชนอยางเพียงพอและตอเนื่อง (มติ ครม. 31 ตุลาคม 2543 อางถึงใน ไกรสร เพ็งสกุล, 2551)

2.3 แนวคิดเก่ียวกับการปองกันน้ําทวมขัง

2.3.1 ปญหานํ้าทวมขังกับการแกไขปญหาอยางยั่งยืน

ในชวง 30 ปท่ีผานมา พื้นท่ีชุมชนของไทยมักจะประสบกับปญหาอุทกภัยบอยคร้ัง โดยสวน

ใหญจะเกิดในเขตชุมชนท่ีต้ังอยูในพื้นท่ีเส่ียงตอการเกิดอุทกภัย โดยเฉพาะแถบชายฝงดาน

ตะวันออกและทางใตของประเทศ ซ่ึงต้ังอยูใกลมหาสมุทร ในเขตเมืองใหญอยางกรุงเทพมหานคร

อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา และจังหวัดเชียงใหม ตางก็ประสบปญหาน้ําทวมเชนกัน โดยเฉพาะ

Page 19: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

23

ชวงหนาฝน ท้ังนี้ก็เนื่องจากปริมาณน้ํามีมากกวาท่ีกักขังและระบบระบายน้ํายังไมมีประสิทธิภาพ

มากพอ ซ่ึงอุทกภัย หมายถึงภัยท่ีเกิดอันเนื่องจากมีน้ําเปนสาเหตุ อาจจะเปนน้ําทวมขัง น้ําปา หรือ

อ่ืน ๆ โดยปกติ อุทกภัยเกิดจากฝนตกหนักตอเนื่องกันเปนเวลานานบางคร้ังทําใหเกิดแผนดินถลม

อาจมีสาเหตุจากพายุหมุนเขตรอนลมมรสุมมีกําลังแรง รองความกดอากาศต่ํามีกําลังแรง อากาศ

แปรปรวน น้ําทะเลหนุน แผนดินไหว เข่ือนพัง ก็สามารถเปนสาเหตุใหเกิดอุทกภัยได สําหรับชนิด

ของอุทกภัยนั้น สามารถแบงออกเปน ๓ ชนิดดังนี้

1) น้ําปาไหลหลากเกิดจากฝนตกหนักบนภูเขา หรือตนน้ําลําธารและไหลบาลงท่ีราบอยาง

รวดเร็ว เพราะไมมีตนไมชวยดูดซับ ชะลอกระแสน้ํา น้ําจะรวมตัวไหลสูท่ีตํ่าอยางรวดเร็วยิ่งข้ึนและ

มีพื้นท่ีรับน้ํามาก ก็ยิ่งมีความเร็วและพลังท่ีรุนแรงมากขึ้น ผลท่ีตามมาคือการเพ่ิมระดับน้ําตามทาง

น้ําอยางรวดเร็วนับเปนวินาทีจนอพยพหนีไมทัน

2) น้ําทวมขัง น้ําเออนอง เกิดจากน้ําลนตล่ิงมีระดับสูงกวาปกติทวมแชขัง ทําใหการคมนาคม

หยุดชะงัก

3) คล่ืนซัดฝง เปนคล่ืนซัดชายฝงขนาดใหญอันเนื่องมาจากความแรงของลม ท่ีเกิดจากพายุ

หมุนเขตรอนท่ีเคล่ือนตัวเขาหาฝง ซ่ึงคล่ืนพายุซัดฝง เกิดจากพายุหมุนเขตรอนท่ีมีความแรงใน

ระดับพายุโซนรอนข้ึนไป ทําใหเกิดคล่ืนขนาดใหญซัดเขาหาฝง โดยบริเวณท่ีมีความเส่ียงและมี

โอกาสเกิดคล่ืนพายุซัดฝงมาก ไดแก บริเวณชายฝงภาคใตฝงตะวันออก ต้ังแตจังหวัดเพชรบุรีจนถึง

จังหวัดสงขลา รวมท้ังภาคตะวันออกตั้งแตจังหวัดชลบุรีจนถึงจังหวัดตราด (ปรียวรรณ สุวรรณ

สูนย, 2554, 31-37)

2.3.2 สถิติเหตุการณน้ําทวมคร้ังใหญในประเทศไทย สําหรับเหตุการณภัยพิบัติน้ําทวมท่ีไดสรางความเสียหายแกประเทศไทย นับต้ังแต พ.ศ.

2526นั้น สามารถสรุปเหตุการณสําคัญไดดังนี้

- พ.ศ. 2526 เกิดเหตุการณน้ําทวมท่ีกรุงเทพมหานครอยางหนัก โดยมีสาเหตุมาจากพายุท่ีพัด

ผานภาคเหนือและภาคกลาง ประกอบกับพายุหลายลูกพัดผานกรุงเทพฯ ในชวงเดือนตุลาคมนาน

กวา 4 เดือนจึงสงผลกระทบเกิดปญหาวิกฤตน้ําทวม โดยรถยนตไมสามารถใชในบางเสนทาง

จึงตองใชเรือแทน

Page 20: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

24

- พ.ศ. 2531 เม่ือเวลาโดยประมาณ 02.00 น. วันท่ี 22 พฤศจิกายน 2531 ชาวบาน ตําบลกะทูน

อําเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช ตองประสบชะตากรรมที่เลวราย เม่ือน้ําปาจากภูเขาเหนือ

หมูบานไดซัดเอาดินโคลน หินและทอนซุงขนาดใหญเขาถลมบานเรือนจนราพณาสูร เพียงขามคืน

หมูบานแหงนี้ไดกลายเปนทะเลโคลน ซากปรักหักพังของบานเรือนนับพันหลังถูกทับถมอยูใตทอน

ซุงจํานวนมาก จากเหตุการณดังกลาว ไดมีผูเสียชีวิตมากกวา 700 คน

- พ.ศ. 2538 นับเปนอีกคร้ังหนึ่งท่ีกรุงเทพมหานคร ไดประสบกับภาวะน้ําทวม เหตุการณ

คร้ังนี้เกิดจากน้ําท่ีไหลลงมาจากภาคเหนือไดเขาทวมพื้นท่ีจังหวัดปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร

กอน ไดแก พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี จากนั้นจึงไดไหลเขาทวมกรุงเทพ โดยเหตุการณ

คร้ังนี้กรุงเทพไดประสบอยูในภาวะน้ําทวมเปนเวลากวา 2 เดือน

- พ.ศ. 2543 เม่ือวันท่ี 21-23 พฤศจิกายน 2543 อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ไดเกิดฝนตก

หนัก 3 วัน 3 คืน สงผลใหน้ําปาจากเขตเทือกเขาสันกาลาคีรี บริเวณพรมแดนระหวางประเทศไทย

และประเทศมาเลเซียไดไหลบาเขาทวมตัวเมืองหาดใหญช้ันใน ซ่ึงมีลักษณะเปนแองกระทะอยาง

รวดเร็ว ถือเปนเหตุการณน้ําทวมเมืองหาดใหญ คร้ังท่ีรุนแรงท่ีสุดคร้ังหนึ่งในประวัติศาสตร ได

สรางความเสียหายเปนมูลคามากกวา 10,000 ลานบาท จํานวนผูเสียชีวิตตามประกาศจากทาง

ราชการ 35 คน แตจํานวนผูเสียชีวิตจริงซ่ึงเปนขอมูลอยางไมเปนทางการสูงถึง 233 คน ท้ังนี้ ยัง

ไมไดนับรวมชาวตางประเทศ

- พ.ศ. 2544 เม่ือกลางดึกของวันท่ี 4 พฤษภาคม 2544 จากเหตุฝนตกหนักติดตอกันเปนเวลา

3 วัน ทําใหเกิดน้ําปาจากอุทยานแหงชาติเวียงโกศัยไดไหลทะลักเขาถลมในหมูบาน อําเภอวังช้ิน

จังหวัดแพรซ่ึงไดไหลทวมเขามาในพื้นท่ีอยางรุนแรงจนถนนและสะพานถูกตัดขาด บานเรือนได

ถูกน้ําพัดหายไป 45 หลังคาเรือน จากเหตุการณดังกลาว มีผูเสียชีวิต 23 ราย สูญหาย 16 คน บาดเจ็บ

58 คน ถือเปนเหตุการณน้ําทวมรุนแรงท่ีสุดในรอบ 100 ป ของจังหวัดแพร

ตอมาในวันท่ี 11 สิงหาคม 2544 ณ บานน้ํากอ ตําบลน้ํากอ อําเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ

ไดเกิดน้ําปาบนภูเขาไหลเขาสูหมูบานท่ีอยูในรัศมีทางน้ําอยางรวดเร็ว โดยนํ้าปาไดหอบเอาท้ังดิน

โคลนและตนไม ซัดบานเรือนหลายสิบหลังเสียหายไปอยางฉับพลัน โดยมีผูเสียชีวิตจากเหตุการณ

ดังกลาวท้ังส้ิน 147 คน

Page 21: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

25

- พ.ศ. 2547 วันท่ี 22 พฤษภาคม 2547 จากเหตุการณฝนท่ีไดตกกระหน่ําลงมาอยางหนัก

สงผลใหภูเขาไมสามารถอุมน้ําจํานวนปริมาณมหาศาลได เกิดน้ําปาไหลเขาทวมหมูบานในเขต

เทศบาลแมระมาด จังหวัดตาก โดยไดพัดเอาโคลนและทอนซุงท่ีมีคนไดลักลอบตัดไว ไหลทับ

บานเรือนนับรอยหลังคาเรือนจมอยูใตทะเลโคลน โดยเหตุการณนี้ไดมีผูเสียชีวิต 4 ราย สูญหายกวา

10 คน ชาวบานจํานวน 6,019 คนจาก 2,113 ครอบครัว ไดรับความเดือดรอนอยางหนัก

- พ.ศ. 2548 วันท่ี 14 สิงหาคม 2548 ภายหลังฝนตกอยางหนักในภาคเหนือตอนบน ทําให

หลายจังหวัดในภาคเหนือถูกน้ําทวมอยางฉับพลัน โดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม กระแสน้ําไดไหลลง

สูแมน้ําปงอยางรวดเร็ว ทําใหไหลทะลักเขาทวมตัวเมืองเชียงใหม นับเปนเหตุการณน้ําทวมท่ีได

สรางความเสียหายอยางหนักในรอบ 50 ป บานเรือนราษฎรในเขตเทศบาลนครเชียงใหม นับพัน

หลังถูกน้ําทวมรวมถึงในเขตตลาดวโรรส ตลาดตนลําไย ตลาดไนทบาซาร ซ่ึงมีระดับน้ําทวมสูงถึง

70 เซนติเมตร ถึง 2 เมตร ประมาณความเสียหายในครั้งนั้นไมตํ่ากวา 800 ลานบาท

ตอมา ปลาย พ.ศ. 2548 ไดเกิดเหตุการณน้ําทวมคร้ังใหญท่ีภาคใต เนื่องจากเหตุการณฝนตกอยางหนักในระหวางวันท่ี 14-24 ธันวาคม 2548 มีจังหวัดท่ีไดรับความเสียหายท้ังส้ิน 8 จังหวัด ไดแก สงขลา นครศรีธรรมราช ปตตานี นราธิวาส พัทลุง ตรัง ยะลา และสตูล มีประชาชนไดรับความเดือดรอนท้ังส้ิน 1.6 ลานคน มีผูเสียชีวิตท้ังส้ิน 25 ราย และสูญหาย 1 ราย มูลคาความเสียหายประมาณ 600 ลานบาท

- พ.ศ. 2549 เหตุการณอุทกภัยและโคลนถลมในจังหวัดบริเวณภาคเหนือตอนลางในชวง

ปลายเดือนพฤษภาคม 2549 เปนเหตุการณท่ีฝนตกผิดปกติคงท่ีในพื้นท่ีเดิมเปนเวลาหลายวัน ทําให

ดินบนภูเขาไมสามารถอุมน้ําฝนท่ีตกลงมาได จึงสงผลใหเกิดภาวะน้ําทวม และภาวะดินถลม

ในชวงกลางคืนวันท่ี 22พฤษภาคม ตอเนื่องถึงเชามืดของวันท่ี 23 พฤษภาคม 2549 ท้ังท่ีกรม

อุตุนิยมวิทยาไดออกประกาศเตือนประชาชนหลายฉบับวา ลักษณะฝนตกตอเนื่องกันเชนนี้ อาจทํา

ใหเกิดภาวะน้ําทวม ดินถลมและน้ําปาไหลหลาก แตไมไดรับความสนใจมากนัก เนื่องจาก

ประชาชนเห็นวาสภาพพื้นท่ีของภาคเหนือตอนลางต้ังอยูในหุบเขาหรืออยูในท่ีดอน ดังนั้น น้ําจาก

แมน้ํามักทวมไมถึงโดยธรรมชาติอยูแลว โดยผลจากอุทกภัยและโคลนถลมมีพื้นท่ีประสบภัย รวม 5

จังหวัด 26 อําเภอ 1 กิ่งอําเภอ 171 ตําบล 1,200 หมูบาน ไดแก จังหวัดสุโขทัยอุตรดิตถ แพร ลําปาง

และนาน มีผูเสียชีวิตท้ังส้ิน 87 คน สูญหาย 29 คน บานเรือนเสียหายท้ังหลัง 697หลัง เสียหาย

บางสวน 2,970 หลัง ราษฎรไดรับความเดือดรอน 352,016 คน 108,762 ครัวเรือน

Page 22: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

26

ตอมา ในเดือนสิงหาคม 2549 จังหวัดนานตองประสบกับภาวะน้ําทวมอีกคร้ังหนึ่ง เม่ือ

อิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใตกําลังปานกลางท่ีพัดปกคลุมทะเลอันดามัน และประเทศไทย

ตอนบน ประกอบกับรองความกดอากาศตํ่ากําลังแรงพาดผานภาคเหนือตอนบน สงผลใหบริเวณ

ภาคเหนือตอนบนมีฝนตกหนักถึงหนักมากในหลายพื้นท่ี โดยเฉพาะจังหวัดนาน เกิดน้ําทวมหนัก

จนสถานการณเขาสูข้ันวิกฤต โดยนํ้าในแมน้ํานานมีระดับเพิ่มสูงข้ึนอยางรวดเร็ว จนเออลนเขาทวม

หนักทําใหสถานการณเขาสูข้ันวิกฤติโดยนํ้าในแมน้ํานานมีระดับเพิ่มสูงข้ึนอยางรวดเร็ว จนเออลน

เขาทวมพื้นท่ีริมตล่ิง โดยเฉพาะพื้นท่ีอําเภอทาวังผา ไดรับผลกระทบมากท่ีสุด จากการวัดปริมาณ

น้ําในแมน้ํานานท่ีจุดอําเภอทาวังผา เม่ือวันท่ี 20 สิงหาคม 2549 พบวา ปริมาณน้ําข้ึนสูงถึง 9.30

เมตร ซ่ึงเลยจุดวิกฤตที่ 7 เมตร ทําใหน้ําไหลทะลักเขาทวมในพ้ืนท่ีลุมและพื้นท่ีริมฝง 2 ตําบล รวม

6 หมูบาน คือ ตําบลปาดา และตําบลศรีภูมิ บานเรือนกวา 3,000 หลังคาเรือนจมอยูใตน้ํา ซ่ึงระดับ

น้ําสูงถึง 3 เมตร ทําใหชาวบานตองอพยพข้ึนไปอยูบนท่ีสูง สําหรับเขตเทศบาลเมืองนาน ระดับน้ํา

ในแมน้ํานานไดทะลักเขาทวมบานเรือนท่ีอยูริมแมน้ํานานอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะบานทาลี บาน

พวงพยอม และบานดอนศรีเสริม ระดับน้ําท่ีวัดไดบริเวณสะพานผาขวาง อําเภอทาวังผา สูงถึง

13.50 เมตร จากปกติ 6.50 เมตร และนํ้าทวมคร้ังนี้มีความรุนแรงในรอบ 43 ป

- พ.ศ. 2553 เหตุการณอุทกภัยใน พ.ศ. 2553 นับเปนเหตุการณน้ําทวมในประเทศไทยหนัก

ท่ีสุดในรอบหลายสิบป เนื่องจากมีฝนตกหนักในหลายพ้ืนท่ี ชวงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน สาเหตุ

เกิดจากอิทธิพลของรองความกดอากาศตํ่าพาดผานภาคใตตอนบน ภาคกลาง และภาคตะวันออก

และมรสุมตะวันตกเฉียงใต ทําใหประเทศไทยมีฝนตกชุกหนาแนน หลายพื้นท่ีเกิดน้ําทวม

เฉียบพลัน น้ําปาไหลหลากเขาทวมบานเรือนราษฎรและพื้นท่ีการเกษตร รองมรสุมกําลังแรง

ดังกลาวมีสาเหตุจากปรากฏการณลานิญาท่ีมาเร็วกวาปกติสงผลใหฝนตกลงมาในพ้ืนท่ีหลังเขาเปน

เวลาหลายวัน เฉล่ียมากกวา 100 มิลลิเมตรตอวัน ประกอบกับความแปรปรวนของรองฝน ทําให

ปริมาณนํ้าในอางเก็บน้ําหลายแหงมีปริมาณน้ําเกินกวาระดับกักเก็บโดยเฉพาะเข่ือนลําพระเพลิง

เข่ือนลําตะคอง เข่ือนปาสักชลสิทธ์ิ จนตองเรงระบายน้ําออกสูพื้นท่ีทายเข่ือน ซ่ึงทําใหหลายพื้นท่ี

เกิดอุทกภัยอยางหนัก สําหรับสาเหตุของอุทกภัยในภาคใต เกิดจากอิทธิพลของพายุดีเปรสช่ัน

บริเวณอาวไทยตอนลางเคล่ือนตัวผานภาคใต ทําใหภาคใตมีฝนตกชุกหนาแนน เกิดน้ําทวม

เฉียบพลัน อีกท้ังอิทธิพลจากพายุไซโคลนจาล ทําใหผลกระทบจากอุทกภัยเพิ่มมากข้ึนดวย โดยมี

Page 23: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

27

จังหวัดท่ีประสบภัยท้ังส้ิน 39 จังหวัด 425 อําเภอ 3,098 ตําบล 26,226 หมูบาน ราษฎรไดรับความ

เดือดรอน 2,002,961 ครัวเรือน 7,038,248 คน พื้นท่ีการเกษตรคาดวาจะไดรับความเสียหาย

7,784,368 ไร มีผูเสียชีวิตจากอุทกภัยแลวท้ังหมด 180 ราย ไดสรางความเสียหายตอทรัพยสินของ

ประชาชนและทางราชการราว 8,000 –10,000 ลานบาท

- พ.ศ. 2554 จากหยอมความกดอากาศตํ่าไดเคล่ือนท่ีเขาสูภาคเหนือ นับแตเดือนมีนาคมเปน

ตนมาสงผลใหเกิดฝนตกชุกหนาแนน ทําใหเกิดสภาวะน้ําทวมฉับพลันและน้ําปาไหลหลาก โดย

จังหวัดท่ีไดรับความเดือดรอนมากท่ีสุดในภาคเหนือ คือ จังหวัดสุโขทัย พิจิตร และอุตรดิตถ ซ่ึงมี

น้ําทวมสูงถึงระดับ 2.50-3.0 เมตร สวนภาคใตนั้นจากหยอมความกดอากาศต่ํา และอิทธิพลมรสุม

ตะวันตกเฉียงใตไดพัดปกคลุมทะเลอันดามันและอาวไทย สงผลใหเกิดฝนตกชุก โดยเฉพาะบริเวณ

จังหวัดชุมพร สุราษฎรธานี สงขลา นครศรีธรรมราช พัทลุง ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบ่ี ตรัง และ

สตูล โดยเฉพาะจังหวัดตรัง สงขลา พัทลุงไดรับภัยจากน้ําทวมหนักท่ีสุด(ปรียวรรณ สุวรรณสูนย,

2554, 31-37)

ซ่ึงจากสถิติสถานการณท่ีประเทศไทยไดประสบมานั้นจะเห็นไดวาภัยจากน้ําทวม เร่ิมมี

ความถ่ีและความรุนแรงมากข้ึนเร่ือย ๆ ประเทศไทยต้ังอยูในเขตมรสุม มีฝนตกชุกและปริมาณ

น้ําฝนสูงจึงเกิดปญหาน้ําทวมอยูในหลายพื้นท่ีเกือบทุกภาค การที่จะหาแนวทางในการแกไขปญหา

นับวามีความสําคัญยิ่งซ่ึงตองอาศัยความรวมมือจากทุกภาคสวนท้ังจากภาครัฐบาล เอกชน และ

ประชาชนในการแกไขปญหาอยางยั่งยืนตอไป

2.3.3 วิธีการตาง ๆ ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานพระราชดําริในการแกไข

ปญหานํ้าทวม

1) การกอสรางคันกั้นน้ําเพื่อปองกันน้ําทวมขัง ซ่ึงเปนวิธีการดั้งเดิมแตคร้ังโบราณโดยการ

กอสรางคันดินกั้นน้ําขนาดท่ีเหมาะสม ขนานไปตามลําน้ําหางจากขอบตล่ิงพอสมควร เพื่อปองกัน

มิใหน้ําลนตล่ิงไปทวมในพื้นท่ีตาง ๆ ดานใน เชน คันกั้นน้ําโครงการมูโนะ และโครงการปเหล็งอัน

เนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดนราธิวาส เปนตน

2) การกอสรางทางผันน้ํา เพื่อผันน้ําท้ังหมดหรือบางสวนท่ีลนตล่ิงทวมทนใหออกไป โดย

การกอสรางทางผันน้ําหรือขุดคลองสายใหมเช่ือมตอกับลําน้ําท่ีมีปญหาน้ําทวมโดยใหน้ําไหลไป

ตามทางผันน้ําท่ีขุดข้ึนใหมไปลงลําน้ําสายอ่ืน หรือระบายออกสูทะเลตามความเหมาะสม ซ่ึงการ

Page 24: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

28

ดําเนินการสนองพระราชดําริวิธีนี้ดําเนินการโดยกรมชลประทาน ในการแกไขปญหาจากแมน้ําโก-

ลก เขามาทวมไรนาของราษฎรเสียหายหลายหม่ืนไรทุกป การขุดคลองมูโนะไดชวยบรรเทาลงได

เปนอยางดี

3) การปรับปรุงและตกแตงสภาพลําน้ําสาธารณะ เพื่อใหน้ําทวมทะลักสามารถไหลไปตาม

ลําน้ําไดสะดวกหรือชวยใหกระแสน้ําไหลรวดเร็วยิ่งข้ึน อันเปนการบรรเทาความเสียหายจากนํ้า

ทวมขังได โดยใชวิธีการดังนี้

- ขุดลอกลําน้ําต้ืนเขินใหน้ําไหลสะดวกข้ึน - ตกแตงดินตามลาดตล่ิงใหเรียบมิใหเปนอุปสรรคตอทางเดินของน้ํา - กําจัดวัชพืช ผักตบชวา และร้ือทําลายส่ิงกีดขวางทางน้ําไหลใหออกไปจนหมดส้ิน - หากลําน้ําคดโคงมาก ใหหาแนวทางขุดคลองใหมเปนลําน้ําสายตรงใหน้ําไหลสะดวก 4) การกอสรางเข่ือนเก็บกักน้ําเปนมาตรการปองกันน้ําทวมท่ีสําคัญประการหนึ่งในการกัก

เก็บน้ําท่ีไหลทวมลนในฤดูน้ําหลาก โดยเก็บไวทางดานเหนือเข่ือนในลักษณะอางเก็บน้ําซ่ึงปจจุบัน

มีการดําเนินการตามพระราชดําริมากมายหลายแหงในประเทศไทย และการปองกันน้ําทวมใหญใน

ระดับประเทศนั้น เชน

- โครงการพัฒนาลุมน้ําปาสักอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

- โครงการพัฒนาพื้นท่ีลุมน้ําปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

- โครงการพัฒนาลุมน้ํานครนายกตอนบนจังหวัดนครนายก

5) การแกไขปญหาน้ําทวมพื้นท่ีในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลตามพระราชดําริ แกมลิง

จากสภาพธรรมชาติดั้งเดิมของกรุงเทพมหานครมีลักษณะลุมตํ่า ทําใหมีการระบายนํ้ายามเกิดภาวะ

น้ําทวมใหออกจากพื้นท่ีเปนไปอยางลาชา คูคลองจํานวนมากมีความลาดเทนอยอีกท้ังมีจํานวน

หลายคลองท่ีลําน้ําต้ืนเขินมีวัชพืชปกคลุมกีดขวางทางน้ําไหล ทําใหเกิดเปนสาเหตุในหลายปจจัย

ของการเกิดน้ํ าทวมขังในกรุง เทพมหานครและเขตปริมณฑลเปนระยะเวลายาวนาน

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานแนวพระราชดําริใหมีระบบการบริหารจัดการดานน้ํา

ทวม ในวิธีการที่ตรัสวา แกมลิง ซ่ึงไดพระราชทานอรรถาธิบายวา

...ลิง โดยท่ัวไปถาเราสงกลวยให ลิงจะรีบปอกแลวเอาเขาปากเค้ียวแลวเอาไปเก็บไวท่ีแกม ลิง

จะเอากลวยเขาไปไวท่ีกระพุงแกมไดเกือบท้ังหวี โดยเอาไปไวท่ีแกมกอนแลวจึงนํามาเค้ียวบริโภค

และกลืนกินเขาไปภายหลัง...

Page 25: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

29

เปรียบเทียบไดกับเม่ือเกิดน้ําทวมก็ขุดคลองตาง ๆ เพื่อชักน้ําใหรวมกันแลวนํามาเก็บไวเปนบอ

พักน้ําอันเปรียบไดกับแกมลิงแลวจึงระบายน้ําลงทะเลเม่ือปริมาณนํ้าทะเลลดลง (ปรียวรรณ

สุวรรณสูนย, 2554, 31-37)

2.3.4 ลักษณะและวิธีการของโครงการแกมลิง 1) ดําเนินการระบายนํ้าออกจากพ้ืนท่ีตอนบนใหไหลไปตามคลองในแนวเหนือ-ใตลงคลอง

พักน้ําขนาดใหญท่ีบริเวณชายทะเล เชน คลองชายทะเลของฝงตะวันออก ซ่ึงจะทําหนาท่ีเปนบอเก็บ

น้ําขนาดใหญคือ แกมลิง ตอไป

2) เม่ือระดับน้ําทะเลลดตํ่าลงกวาระดับน้ําในคลอง ก็ทําการระบายนํ้าจากคลองดังกลาวออก

ทางประตูระบายนํ้า โดยใชหลักการทฤษฎีแรงโนมถวงของโลก (Gravity Flow) ตามธรรมชาติ

3) สูบน้ําออกจากคลองท่ีทําหนาท่ีแกมลิงนี้ ใหระบายออกในระดับตํ่าที่สุดออกสูทะเล เพื่อจะไดทําใหน้ําตอนบนคอย ๆ ไหลมาเองตลอดเวลาสงผลใหปริมาณนํ้าทวมพื้นท่ีลดนอยลง

4) เม่ือระดับน้ําทะเลสูงกวาระดับในลําคลองใหทําการปดประตูระบายนํ้า เพื่อปองกันมิให

น้ํายอนกลับ โดยยึดหลักน้ําไหลทางเดียว (One Way Flow)

หลักการ 3 ประเด็น ท่ีโครงการแกมลิงจะสามารถมีประสิทธิภาพบรรลุผลสําเร็จตามแนว

พระราชดําริ คือ

- การพิจารณาสถานท่ีท่ีจะทําหนาท่ีเปนบอพักและวิธีการชักน้ําทวมไหลเขาสูบอพักน้ํา

- เสนทางน้ําไหลท่ีสะดวกตอการระบายนํ้าเขาสูแหลงท่ีทําหนาท่ีบอพักน้ํา

- การระบายนํ้าออกจากบอพักน้ําอยางตอเนื่อง

จากหลักการขางตน การสนองพระราชดําริจึงดําเนินการพิจารณาจากการใชลําคลองหนอง

บึงธรรมชาติ หรือพื้นท่ีวางเปลา นํามาใชเปนบอพักน้ําแหลงน้ําท่ีจะนําน้ําเขาบอพักและระบายน้ํา

ออกจากบอพักน้ําตามความเหมาะสมของแตละพื้นท่ี ซ่ึงผลการดําเนินการศึกษาและพิจารณา

กําหนดรูปแบบของโครงการแลวสามารถแบงออกไดเปน 2 สวนคือ

1. โครงการแกมลิงฝงตะวันออกของแมน้ําเจาพระยา ทําการรับน้ําในพืน้ท่ีฝงตะวนัออกของ

แมน้ําเจาพระยานับต้ังแตจังหวัดสระบุรี พระนครศรีอยธุยา ปทุมธานี นนทบุรีและกรุงเทพมหานคร

มาตามคลองสายตาง ๆ โดยใชคลองชายทะเลที่ต้ังอยูริมทะเลดานจังหวดัสมุทรปราการ ทําหนาท่ี

Page 26: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

30

เปนบอพักน้ําหรือรับน้ําและพิจารณาหนองบึงหรือพื้นท่ีวางเปลาตามความเหมาะสม เปนบอพักน้าํ

เพิ่มเติมโดยใชคลองธรรมชาติในแนวเหนือ-ใต เชน คลองพระองคไชยนุชิต คลองบางปลา

คลองดาน คลองบางปง คลองตําหรุ คลองชายทะเลเปนแหลงระบายน้าํเขาและออกจากบอพัก

2. โครงการแกมลิงในพ้ืนท่ีฝงตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา ทําหนาท่ีรับน้ําในพ้ืนท่ีฝง

ตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา ต้ังแตจังหวัดอางทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นครปฐม

กรุงเทพมหานคร และสมุทรสาคร ไปคลองมหาชัย-สนามชัยและแมน้ําทาจีน เพื่อระบายออกสู

ทะเลดานจังหวัดสมุทรสาคร

สําหรับในสวนภาครัฐพบวา ประเทศไทยยังขาดกฎหมายควบคุมการใชท่ีดินและนโยบาย

การตั้งถ่ินฐานท่ีชัดเจนและมีประสิทธิภาพ ยังไมมีเคยมีขอบัญญัติวาดวยการควบคุมการใชท่ีดินใน

เขตนํ้าทวมยิ่งเปนพื้นท่ีนอกเขตเมือง เชน ตามเชิงเขาดวยแลวยิ่งไมมีมาตรการท่ีไดผลใด ๆ ใช

บังคับ เพื่อปองกันความเสียหายจากน้ําปาไหลหลาก นอกจากน้ําปาแลวการเกิดแผนดินถลม

(Landslide) ยังเปนปรากฏการณควบคูกันโดยธรรมชาติอีกดวย สงผลใหเกิดอุทกภัยท่ีรุนแรงและ

ทําความเสียหายแกชีวิตและทรัพยสินเปนอยางมาก ดังนั้น จึงควรมีการจัดทําแผนท่ีพื้นท่ีเส่ียงตอภัย

พิบัติดินถลม การตรากฎหมายและนโยบายการต้ังถ่ินฐานระดับชาติท่ีเนนสรางความสมดุลกับพื้นที่

นั้น ๆ ซ่ึงจะเปนการชวยลดระดับความรุนแรงของปรากฏการณธรรมชาติไดในระดับหนึ่งดวย

(ปรียวรรณ สุวรรณสูนย, 2554, 31-37)

2.3.5 วิธีการปองกันและบรรเทาปญหานํ้าทวมขัง โดย นายปราโมทย ไมกลัด

วิธีการปองกันและบรรเทาน้ําทวมขังมีอยูหลายวิธีโดยแตละวิธีจะมีความเหมาะสมกับ

สภาพแวดลอมและสภาพพื้นท่ีท่ีแตกตางกัน ความสามารถในการปองกันหรือบรรเทาปญหาน้ํา

ทวมขัง การสงผลกระทบตอสภาวะแวดลอมและธรรมชาติ ตลอดจนคาลงทุนและผลประโยชนท่ี

แตกตางกันไป ดังนั้น กอนท่ีจะตัดสินใจดําเนินการดวยวิธีใดวิธีหนึ่ง จึงจําเปนตองมีการพิจารณา

และศึกษารายละเอียดตางๆ ดังกลาวกอนการดําเนินการทุกคร้ัง

วิธีการปองกันและบรรเทาน้ําทวมขังท่ีสําคัญมีดังตอไปนี้

1) การกอสรางคันกั้นน้ําเลียบลําน้ํา

เปนวิธีการปองกันน้ําทวมท่ีนิยมทํากันมาต้ังแตสมัยโบราณ โดยการกอสรางคันดินกั้นน้ํา

ขนาดเล็กซ่ึงมีขนาดความสูงไมมากนัก ใหมีแนวขนานกับลําน้ําและอยูหางจากขอบตล่ิงเขาไป

Page 27: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

31

เปนระยะพอประมาณ เพื่อกั้นน้ําท่ีมีระดับสูงกวาตล่ิงไมใหไหลบาเขาไปทวมพื้นท่ีตางๆ ตามท่ี

ตองการการปองกันน้ําทวมโดยวิธีการกอสรางคันกั้นน้ําเลียบลําน้ํา จึงนับเปนวิธีการปองกันน้ํามิให

ไหลลนตล่ิงออกไปทวมพื้นท่ีใหไดรับความเสียหายโดยตรง เหมือนกับการเสริมสรางขอบตล่ิง

ของลําน้ําในบริเวณนั้นใหมีระดับความสูงมากข้ึนกวาเดิม เพื่อเพิ่มเนื้อท่ีหนาตัดของลําน้ําใหมี

ขนาดใหญพอท่ีจะระบายนํ้าไหลหลากจํานวนมาก ใหไหลผานพื้นท่ีบริเวณนั้นไปโดยไมทวมพื้นท่ี

ดังกลาวใหไดรับความเสียหายเชนแตกอน ในการวางโครงการกอสรางคันกั้นน้ํามีหลักเกณฑทาง

วิชาการที่สมควรพิจารณาดําเนินการใหเหมาะสมดังนี้

- ความสูงของคันกั้นน้ํา คันกั้นน้ําท่ีสรางจะตองมีระดับหลังคันสูงพนระดับน้ําทวม

สูงสุด ซ่ึงคาดวาจะเกิดข้ึนตามรอบปท่ีกําหนดในการออกแบบเสมอ สําหรับในกรณีท่ีมีการ

กอสรางคันกั้นน้ําเลียบตามแนวสองฝงลําน้ํา ขนาดความสูงและระยะหางของคันกั้นน้ําท่ีบริเวณ

สองฝงลําน้ําจะตองมีการพิจารณารวมกัน ใหมีความเหมาะสมในดานตางๆ กลาวคือ ในกรณี

กอสรางคันกั้นน้ําเลียบไปตามแนวสองฝงลําน้ํา คันกั้นน้ําท่ีมีขนาดความสูงไมมาก จะตองสราง

ใหมีแนวท่ีหางจากตัวตล่ิงของลําน้ําเขาไปมากๆ โดยใหมีพื้นท่ีท่ีจะถูกน้ําทวมตามบริเวณสองฝงลํา

น้ําเปนบริเวณกวางมากกวาการกอสรางคันกั้นน้ําท่ี มีขนาดความสูงมากซ่ึงสรางอยูตามแนวใกล

ขอบตล่ิง สวนคาใชจายในการกอสรางและคาดูแลรักษา คันกั้นน้ําท่ีมีขนาดความสูงมากยอมจะ

เสียคาใชจายในการกอสรางรวมทั้งคาดูแลรักษามากกวาคันกั้นน้ําท่ีมีขนาดความสูงไมมากนัก

ดังนั้นในการวางโครงการจึงตองมีการพิจารณาทางดานเศรษฐกิจศาสตรรวมกับทางดานวิศวกรรม

เพื่อเปรียบเทียบถึงคาลงทุนในการกอสราง กับประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการปองกันพื้นท่ี

ขอบตล่ิงในกรณีกอสรางคันกั้นน้ําซ่ึงมีขนาดความสูงแตกตางกันดวย เพื่อพิจารณากําหนดขนาด

ความสูงและแนวคันกั้นน้ําไดอยางเหมาะสม

- ขนาดของคันกั้นน้ํา คันกั้นน้ําสวนใหญจะกอสรางดวยดินถมบดอัดแนน โดย มีรูปราง

ลักษณะเหมือนกับเข่ือนดิน แตคันกั้นน้ําจะทําหนาท่ีกักกั้นน้ําอยูเปนคร้ังคราว จึงมีความแตกตาง

ไปจากเข่ือนดินท่ีตองกักกั้นน้ําไวตลอดเวลา ดวยเหตุนี้ คันกั้นน้ําจึงมีลักษณะคลายกับคันดินถนน

ท่ัวไปที่ทําหนาท่ีกักกั้นน้ําไวดวยเปนคร้ังคราวน่ันเอง ในการออกแบบเพ่ือกําหนดขนาดและรูปราง

ของคันกั้นน้ํา มีหลักเกณฑโดยท่ัวไปวาจะตองคํานึงถึงความแข็งแรงของตัวคันกั้นน้ําเพื่อใหมี

สภาพคงทนใชงานไดนานป ตัวคันกั้นน้ําจะตองมีขนาดและความเอียงลาดของคันดินท้ังสองดาน

Page 28: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

32

ท่ีมีสภาพม่ันคงแข็งแรงในการทรงตัวอยูไดเสมอ โดยไมเล่ือนทลายท้ังในชวงเวลาท่ีทําการกักกั้น

น้ําและในขณะที่น้ํามีระดับลดตํ่าลงอยางรวดเร็ว ขนาดของคันกั้นน้ําท่ีมีความม่ันคงแข็งแรง

เพียงพอนั้น โดยท่ัวไปควรมีความลาดเทในอัตราสวน ต้ัง:ราบ = 1:3 สําหรับลาดคันดานท่ีกั้นน้ํา

และต้ัง:ราบ = 1:2.5 สําหรับลาดคันอีกดานหนึ่ง สวนความกวางของหลัง คันกั้นน้ําในกรณีให

รถยนตวิ่งไดควรมีขนาดกวางไมนอยกวา 4.00 เมตร แตสามารถลดขนาดความกวางใหเหลือ

เพียง 2.5 เมตร ได เม่ือไมตองการใชหลังคันเปนทางรถวิ่ง

- ระบบระบายนํ้าภายในพื้นท่ีหลังคันกั้นน้าํ เนื่องดวยคันกั้นน้ําท่ีกอสรางมักจะตัดผานรอง

น้ําและทางน้าํตางๆ ซ่ึงจะตองมีการกอสรางทอระบายน้าํหรือประตูระบายนํ้าเพื่อการระบายนํ้าออก

จากพื้นท่ีใหสะดวก พรอมกบัติดต้ังบานประตูบังคับน้ําไวทุกแหง เพื่อปองกันน้ําจากภายนอกเขา

ไปทวมพืน้ท่ีดานในอีกดวย

2) การกอสรางทางผันน้ํา

โดยการกอสรางทางผันน้ําหรือขุดคลองสายใหมเช่ือมตอกับลําน้ําท่ีมีปญหาน้ําทวม เพื่อผัน

น้ําท้ังหมดหรือน้ําเฉพาะบางสวนท่ีจะลนตล่ิงแลวทําใหเกิดน้ําทวม ออกไปจากลําน้ําใหไหลไปตาม

ทางผันน้ําท่ีขุดข้ึนใหม ไปลงลําน้ําสายอ่ืน หรือระบายออกสูทะเลตามความเหมาะสม มีหลักการ

ดังนี้

- โดยท่ัวไป นิยมการผันน้ําเฉพาะสวนท่ีจะไหลลนตล่ิงซ่ึงทําใหเกิดน้ําทวมออกไปจากลํา

น้ํา โดยท่ีน้ําสวนใหญซ่ึงมีระดับไมลนตล่ิงนั้นยังคงปลอยใหไหลอยูในลําน้ําเดิมตามปกติสําหรับ

วิธีการผันน้ําในรูปแบบนี้ ท่ีบริเวณปากทางแยกเขาลําน้ําสายใหมจะตองสรางอาคารเพื่อควบคุม

บังคับน้ําใหไหลเขาสูลําน้ําสายใหมในปริมาณท่ีพอเหมาะ โดยอาคารควบคุมบังคับน้ําดังกลาวอาจ

สรางเปนแบบฝาย ซ่ึงสามารถควบคุมน้ําใหไหลเขาลําน้ําสายใหมไดโดยอัตโนมัติหรือสรางประตู

ระบายนํ้าท่ีควบคุมบังคับน้ําโดยบานประตูซ่ึงเปดและปดไดตามความเหมาะสม

- ในกรณีท่ีตองการผันน้ําท้ังหมดใหไหลไปตามทางนํ้าท่ีขุดใหม ควรขุดลําน้ําสายใหมแยก

ออกจากลําน้ําสายเดิมตรงบริเวณที่ลําน้ําเปนแนวโคง โดยกําหนดใหทองลําน้ําท่ีขุดมีระดับเสมอกับ

ทองลําน้ําเดิมเปนอยางนอย หลังจากนั้น จึงนําดินท่ีขุดจากลําน้ําใหม ไปถมปดลําน้ําสายเดิมพรอม

กับเกล่ียและบดอัดดินใหแนนจนเต็มโดยตลอด เพื่อท่ีจะไดนําพื้นท่ีไปใชประโยชนใน

Page 29: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

33

ดานอ่ืนตอไป ดวยเหตุนี้ การพิจารณาวางโครงการสําหรับกรณีใดกรณีหนึ่งดังกลาวขางตน จึงมี

เกณฑทางดานวิศวกรรม ท่ีจะตองมีการศึกษา และวิเคราะหในทุกดานอยางละเอียดรอบคอบให

เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ วัตถุประสงคประโยชน และคาลงทุน กอนท่ีจะมีการตัดสินใจ

ดําเนินการอยางใด อยางหนึ่งตอไป จนถึงข้ันการกอสราง

3) การปรับปรุงสภาพลําน้ํา

โดยการปรับปรุงและตกแตงลําน้ํา เพื่อชวยใหน้ําสามารถไหลไปตามลําน้ําไดสะดวก หรือมี

ความเร็วของกระแสน้ําท่ีไหลเพิ่มมากข้ึน เพื่อท่ีในฤดูน้ําหลากนํ้าจํานวนมากท่ีไหลตามลําน้ําจะได

มีระดับลดตํ่าไปจากเดิม เปนการชวยบรรเทาความเสียหายอันอาจจะเกิดเนื่องมาจากนํ้าทวมไดเปน

อยางดี โดยท่ัวไป ในการเพิ่มความสามารถของลําน้ําเพื่อใหน้ําจํานวนมากไหลไปไดอยางสะดวก

หรือน้ําไหลดวยความเร็วท่ีเพิ่มมากข้ึนกวาเดิมนั้นเราจะตองปรับปรุงสภาพลําน้ําดวยวิธีการอยางใด

อยางหนึ่ง เชน ทําการตกแตงลาดตล่ิงและทองลําน้ําใหมีความขรุขระนอยกวาเดิม เพิ่มเนื้อที่หนาตัด

ของลําน้ําโดยการขุดและขยายใหลําน้ํามีขนาดโตข้ึน รวมท้ังการปรับปรุงลําน้ําใหมีความลาดชัน

โดยการขุดทางน้ําใหมท่ีมีความยาวนอยลงดังวิธีการตอไปนี้

- โดยการขุดลอกลําน้ําในบริเวณท่ีต้ืนเขิน ตกแตงดนิตามลาดตล่ิงท่ีถูกน้ํากดัเซาะ

พังทลาย กําจดัวัชพืชและร้ือทําลายส่ิงกีดขวางทางนํ้าไหลออกไปจนหมด ซ่ึงเปนวธีิการอยางหนึง่

ท่ีชวยใหน้ําไหลผานตามลําน้ําไดสะดวก และสามารถระบายนํ้าจํานวนมากใหผานไปไดอยางมี

ประสิทธิภาพ

- ในกรณีท่ีลําน้ํามีแนวโคงมากเปนระยะทางไกล อาจพิจารณาขุดทางน้ําใหมลัดจากลําน้ํา

บริเวณดานเหนือโคงไปบรรจบกับลําน้ําเดิมท่ีบริเวณดานทายโคง ใหมีแนวตรงกลมกลืนกับลําน้ํา

ธรรมชาติ ซ่ึงจะเปนทางน้ําใหมท่ีแบงน้ําจํานวนมากใหไหลผานไปเองอยางสะดวกเน่ืองจากมีความ

ลาดชันมากกวาลําน้ําเดิมท่ีมีแนวโคง สวนลําน้ําเดิมซ่ึงมีแนวโคงนั้น เม่ือมีน้ําไหลผานนอยลง อาจ

เกิดการต้ืนเขินหรือมีขนาดเล็กลงไปเองตามธรรมชาติ วิธีการปรับปรุงสภาพลําน้ํา ท้ังโดยวิธีการ

ขุดลอกปรับปรุงตัวลําน้ํา และโดยการขุดทางสายนํ้าใหมตามท่ีกลาวมา เปนการเปล่ียนแปลงสภาพ

ธรรมชาติของลําน้ําซ่ึงอาจมีผลทําใหกระแสน้ํากัดเซาะตล่ิงตอนใดตอนหนึ่งจนพังทลายติดตามดวย

การทําความเสียหายใหแกทรัพยสินบานเรือนราษฎร นอกจากนั้นวิธีการปรับปรุงลําน้ําเพื่อการเพ่ิม

ประสิทธิภาพนี้ สวนใหญจะเปนการแกไขปญหาหรือบรรเทาน้ําทวมเฉพาะบริเวณเทานั้น ซ่ึงอาจ

Page 30: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

34

ทําใหเกิดผลกระทบหรือเพิ่มความเสียหายใหกับพื้นท่ีทางดานทายลําน้ําลงไปก็ได จึงตองมีการ

พิจารณาในดานตางๆท่ีเกี่ยวของใหเหมาะสม

4) การกอสรางเข่ือนเก็บกกัน้ํา โดยการกอสรางเข่ือนเก็บกักน้ําปดกั้นลําน้ําธรรมชาติระหวางหุบเขาหรือเนินสูงท่ีบริเวณตน

น้ําของลําน้ําสายใหญหรือตามแควสาขา เพื่อกักกั้นน้ําท่ีไหลมามากในฤดูน้ําหลาก เก็บไวทางดาน

เหนือเข่ือนทําใหเกิดเปนแหลงน้ําขนาดตางๆ เรียกวา "อางเก็บน้ํา" ซ่ึงน้ําท่ีเข่ือนเก็บกักไวนี้จะ

ระบายออกจากอางเก็บน้ําทีละนอยๆ เพื่อนําไปใชประโยชนไดอีกหลายดาน โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อ

การเพาะปลูกพืชของพื้นท่ีดานทายเข่ือนในชวงเวลาท่ีฝนไมตกหรือในฤดูแลง คร้ันเม่ือยางเขาสูฤดู

ฝนปตอไป อางเก็บน้ําก็จะมีปริมาตรวางสําหรับรองรับน้ําไหลหลากจํานวนมากในระยะฤดูฝนนั้น

เขามาเก็บไวไดโดยเก็บน้ําท่ีอาจทําใหเกิดน้ําทวมหรือน้ําท่ีจะไปทําความเสียหายใหกับพื้นท่ี

ทางดานทายเข่ือน เก็บสํารองไวใชใหเปนประโยชนในดานอ่ืนตอไป

เข่ือนเก็บกักน้ําท่ีสรางกันโดยท่ัวไปมีหลายประเภทหลายขนาดแตกตางกัน โดยเข่ือนเก็บกัก

น้ําขนาดใหญบางแหงสามารถใหประโยชนไดหลายดาน เชน การผลิตไฟฟา การชลประทานการ

คมนาคมทางน้ํา การเพาะเล้ียงปลาและกุงในอางเก็บน้ํา และการบรรเทาน้ําทวม เปนตนซ่ึงเราเรียก

เข่ือนลักษณะนี้วา "เข่ือนอเนกประสงค" ในการกอสรางเข่ือนเก็บกักน้ํา เราสามารถสรางเข่ือนได

ดวยวัสดุประเภทตางๆ เชน คอนกรีตลวน คอนกรีตเสริมเหล็ก ดินถมบดอัดแนน และหินถมอัด

แนน เปนตน ซ่ึงเข่ือนเก็บกักน้ําทุกแหงท่ีสรางข้ึน จะกําหนดหรือเลือกใหเปนเข่ือนประเภทใดนั้น

สวนใหญจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับสภาพของฐานราก สภาพของภูมิประเทศท่ีเข่ือนนั้นต้ังอยู

ตลอดจนชนิดและจํานวนของวัสดุท่ีจะมีใหใชกอสรางไดโดยเข่ือนจะตองมีท้ังความม่ันคงแข็งแรง

และราคาถูกท่ีสุด

ปจจุบันนี้ ประเทศไทยไดกอสรางเข่ือนเก็บกักน้ํากระจายอยูตามภูมิภาคตางๆ แลวเปน

จํานวนมาก ท้ังนี้เพื่อประโยชนในดานการชลประทานเปนหลัก และเพ่ือประโยชนตางๆแบบ

อเนกประสงค โดยท่ีอางเก็บน้ําทุกแหงเหลานั้นจะทําหนาท่ีเก็บน้ําซ่ึงไหลมามากในฤดูฝนไว และ

ชวยบรรเทาการเกิดน้ําทวมท่ีอาจทําความเสียหายใหกับพื้นท่ีเพาะปลูกและชุมชนซ่ึงอยูทางดานทาย

เข่ือนไดดวย อาทิ

Page 31: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

35

- เข่ือนเก็บกักน้ําแมงัดสมบูรณชลตามพระราชดําริและอางเก็บน้ํา สรางปดกั้นลําน้ําแมงัด

ท่ีอําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม มีความจุอางเก็บน้ําประมาณ 265 ลานลูกบาศกเมตรเพ่ือประโยชน

ในดานการชลประทานและการผลิตไฟฟาเปนหลัก สําหรับการบรรเทาน้ําทวม อางเก็บน้ําแหงนี้

สามารถชวยบรรเทาน้ําทวมในเขตพื้นท่ีเพาะปลูกสองฝงลําน้ําแมงัดและแมน้ําปงจนถึงตัวเมือง

เชียงใหมซ่ึงเคยเกิดข้ึนเปนประจําใหหมดไป

- เข่ือนเก็บกักน้ําภูมิพลและอางเก็บน้ํา สรางปดกั้นแมน้ําปงท่ีอําเภอสามเงา จังหวัดตาก มี

ความจุอางเก็บน้ําประมาณ 13,460 ลานลูกบาศกเมตร เพื่อประโยชนในดานการผลิตไฟฟา การ

ชลประทาน การคมนาคมทางน้ําฯลฯ สําหรับในดานการบรรเทาน้ําทวมท่ีเคยทําความเสียหาย

ใหกับพื้นท่ีเพาะปลูกในบริเวณพื้นท่ีลุมสองฝงแมน้ําปงและแมน้ําเจาพระยาเสมอนั้นอางเก็บน้าํของ

เข่ือนภูมิพลท่ีมีขนาดใหญนี้ชวยเก็บกักน้ําท่ีไหลหลากตอนฤดูฝนตกหนักไวไมใหไหลเทลงมา

ทันทีทันใดจนเกิดน้ําทวมฉับพลันแลวทําความเสียหายใหกับพื้นท่ีเพาะปลูกซ่ึงเปนท่ีลุมดังแตกอน

- เข่ือนเก็บกักน้ําสิริกิต์ิและอางเก็บน้ํา สรางปดกั้นแมน้ํานานท่ีอําเภอทาปลาจังหวัด

อุตรดิตถ มีความจุอางเก็บน้ําประมาณ 9,550 ลานลูกบาศกเมตร เพื่อประโยชนในดานการผลิต

ไฟฟา การชลประทาน การคมนาคมทางน้ํา ฯลฯ สําหรับในดานการบรรเทาอุทกภัยอางเก็บน้ํา

แหงนี้สามารถลดอุทกภัยท่ีเคยเกิดข้ึนทุกปในบริเวณทุงราบสองฝงแมน้ํานานในเขตหลายจังหวัด

ไดเกือบท้ังหมด และยังรวมกับอางเก็บน้ําของเข่ือนภูมิพล ชวยบรรเทาอุทกภัยในเขตทุงราบ

แมน้ําเจาพระยาใหลดนอยลงดวย

- เข่ือนเก็บกักน้ําอุบลรัตนและอางเก็บน้ํา สรางปดกั้นลําน้ําพองท่ีอําเภอน้ําพองจังหวัด

ขอนแกน มีความจุอางเก็บน้ําประมาณ 2,550 ลานลูกบาศกเมตร เพื่อประโยชนในดานการผลิต

ไฟฟาและการชลประทานเปนหลักสําหรับการบรรเทาน้ําทวม อางเก็บน้ําแหงนี้สามารถบรรเทา

น้ําทวมท่ีเคยเกิดเปนประจําในบริเวณที่ราบสองฝงลําน้ําพองในเขตจังหวัดขอนแกนใหลดนอยลง

ได

- เข่ือนเก็บกักน้ําลําปาวและอางเก็บน้ํา สรางปดกั้นลําน้ําปาวท่ีอําเภอเมืองกาฬสินธุจังหวัด

กาฬสินธุ มีความจุอางเก็บน้ําประมาณ 1,340 ลานลูกบาศกเมตร เพื่อประโยชนในดานการ

ชลประทานเปนหลัก ในดานการบรรเทาน้ําทวม อางเก็บน้ําแหงนี้สามารถบรรเทาน้ําทวมท่ีเคยเกิด

เปนประจําในบริเวณท่ีราบสองฝงลําน้ําปาวในเขตจังหวัดกาฬสินธุใหลดนอยลงไดเชนกัน

Page 32: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

36

- เข่ือนเก็บกักน้ําศรีนครินทรและอางเก็บน้ําสรางปดกั้นแมน้ําแควใหญท่ีอําเภอศรีสวัสดิ์

จังหวัดกาญจนบุรี มีความจุอางเก็บน้ําประมาณ 17,745 ลานลูกบาศกเมตร กับเข่ือนเก็บกักน้ําเขา

แหลมและอางเก็บน้ํา ซ่ึงสรางปดกั้นแมน้ําแควนอยท่ีอําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี มีความจุ

อางเก็บน้ําประมาณ 7,450 ลานลูกบาศกเมตร การกอสรางโครงการท้ังสองนี้ใหประโยชนมากใน

ดานการผลิตไฟฟา การชลประทาน การคมนาคมทางน้ํา ฯลฯ สําหรับในดานการบรรเทานํ้าทวมท่ี

เคยทําความเสียหายใหกับพื้นท่ีเพาะปลูกตามบริเวณพื้นท่ีลุมสองฝงแมน้ําแมกลองทุกปนั้น อางเก็บ

น้ําท้ังสองสามารถเก็บกักน้ําจํานวนมหาศาลท่ีไหลหลากตอน ฤดูฝนตกหนักจากแควท้ังสองไวได

น้ําจํานวนมากจึงไมไหลเทลงมาทําใหเกิดน้ําทวมแลวทําความเสียหายใหกับเขตชุมชนและพื้นท่ี

เพาะปลูกซ่ึงเปนท่ีลุมตามสองฝงแมน้ําแมกลองดังแตกอน

5) การอนุรักษพื้นท่ีตนน้ําลําธาร

โดยการใช ดูแลรักษา และปรับปรุงฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติในบริเวณพื้นท่ีตนน้ําลําธาร

ดวยวิธีการตางๆ ท่ีเหมาะสม ประกอบดวยการอนุรักษปาไม รวมกับการอนุรักษดินและน้ําดวย

วิธีการตางๆ ดังรายละเอียดท่ีไดกลาวไวแลวในเร่ืองการอนุรักษตนน้ําลําธาร เพื่อปรับปรุงพื้นท่ีตน

น้ําลําธารโดยท่ัวไปใหสามารถดูดซึมน้ําไดมากข้ึน ซ่ึงจะชวยปองกันมิใหน้ําฝนไหลบาตามลาด

พื้นดินลงสูลําธารและลําหวยตางๆ อยางรวดเร็วและมีปริมาณมาก เปนการบรรเทาปญหาน้ําทวม

พื้นท่ีทําการเกษตรและท่ีอยูอาศัยในบริเวณพื้นท่ีราบทางตอนลาง ท่ีอาจจะเกิดข้ึนอยางฉับพลันได

6) การกอสรางคันกั้นน้ําโอบลอมพื้นท่ี

เปนวิธีการปองกันน้ําทวมพื้นท่ีโดยตรง โดยการกอสรางคันดินกั้นน้ําโอบลอมพื้นท่ีท้ังหมด

ไว เชนการปองกันน้ําทวมสถานท่ีราชการ โรงงานอุตสาหกรรม และสวนผลไมของราษฎร ท่ีอยูใน

บริเวณซ่ึงเกิดน้ําทวมเปนประจํา สวนน้ําฝนท่ีขังอยูภายในพื้นท่ีจะระบายออกไปตามทอระบายน้ํา

หรือโดยการสูบน้ําออกไป ตามความเหมาะสม

2.4 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

ไกรสร เพ็งสกุล (2551, 66) จากการศึกษาวิจัย เร่ือง การมีสวนรวมของประชาชนในการ

บริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ลุมน้ําคลองปะเหลียน ผลการศึกษาวิจัยพบวา ระดับการมีสวนรวมของ

ประชาชน โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ปจจัยสวนบุคคลสงผลใหประชาชนเขามามีสวนรวม

ในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ในพื้นท่ีลุมน้ําคลองปะเหลียนในระดับปานกลาง และประชาชน

Page 33: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

37

ในเขต พื้นท่ีลุมน้ําเขามามีสวนรวมในระดับปานกลาง ซ่ึงระดับการมีสวนรวมในดานประโยชนท่ี

ประชาชน ไดรับจากการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํามีระดับมาก แตในข้ันการกําหนดแผนงาน

เกี่ยวกับการบริหารจัดการลุมน้ําคลองปะเหลียนอยูในระดับปานกลาง แตจะรับทราบสาเหตุของ

ปญหาท่ีเกิดข้ึน ปจจยัสวนบุคคลสงผลใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการบริหารจัดการ

ทรัพยากรน้ํา ลุมน้ําคลองปะเหลียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แนวทางการเขามามีสวนรวมของ

ประชาชนในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ลุมน้ําคลองปะเหลียน จะตองกําหนดทิศทางการ

ประชาสัมพันธใหประชาชนไดทราบทางส่ือตาง ๆ มากข้ึน และใหโอกาสแกประชาชนทุกคนเขา

มามีสวนรวมมากข้ึน ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับข้ันตอนท่ีประชาชนผูมีสวนไดสวนเสีย

ควรเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ควรใหประชาชนผูมีสวนไดสวนเสีย มีสวน

รวม ในกระบวนการตางๆ มากข้ึน ไมไดมุงเนนแตคณะทํางาน คณะกรรมการ ท่ีไดรับคัดเลือกเขา

มาแกไขโดยตรงเทานั้น

กฤตเมธ สุทธิหาญ (2545) ศึกษาวิจัยเร่ือง การจัดการทรัพยากรน้ําขององคการบริหารสวนตําบลในเขตแมน้ํามูล ผลการศึกษาพบวา องคการบริหารสวนตําบลในเขตแมน้ํามูล มีประสิทธิผลการจัดการทรัพยากรน้ํา โดยรวมอยูในระดับปานกลาง ประสิทธิผลดานการพัฒนาแหลงน้ํา โดยรวมอยูในระดับปานกลาง สวนประสิทธิผลดานการปองกันมลพิษทางน้ํา และประสิทธิผลดานการแกไขปญหามลพิษทางน้ําโดยรวมอยูในระดับสูง สวนปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอประสิทธิผลตอการจัดการทรัพยากรน้ํามากท่ีสุด ไดแก การกระจายอํานาจขององคการ รองลงมาไดแก ความพรอมของบุคลากร ความเปนทางการขององคการ และการพึ่งพิงทรัพยากรน้ําของชุมชน

ปธาน สุวรรณมงคล (2540) ศึกษาวิจัยเร่ือง การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

ทรัพยากรน้ําพบวา ปจจัยท่ีเกี่ยวของกับการจัดการทรัพยากรน้ําไดแก งบประมาณท่ีจัดสรรเพื่อการ

พัฒนาในดานตาง ๆ จะเปนตัวบงช้ีประสิทธิผลการดําเนินงานของหนวยงานน้ัน ๆ และยังพบวา

การจัดการทรัพยากรน้ําของหนวยงานแบบที่ดําเนินงานตามหนาท่ีรับผิดชอบ จะมีประสิทธิผลการ

จัดการทรัพยากรน้ํานอยกวาหนวยงานท่ีมีการจัดรูปแบบในลักษณะเครือขายระหวางองคกร

วราภรณ นาคส้ัว (2544, บทคัดยอ) กลาววา การศึกษาประยุกตมาใชแบบจําลอง Mouse เปน

เคร่ืองมือชวยในการประเมินระบบระบายน้ํา พบวาในหลายพ้ืนท่ีถูกน้ําทวมขังเนื่องจากมีระดับ

พื้นดินตํ่า แบบจําลองใหผลการคํานวณของตําแหนงพื้นท่ีน้ําทวมสําหรับฝนตกและน้ําทวมหนุน

Page 34: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

38

ถูกตองประมาณรอยละ 70 และเม่ือน้ําหนุนอยางเดียวทําใหเกิดน้ําทวมจริงประมาณรอยละ 30 ของ

พื้นท่ีน้ําทวมท้ังหมด

สมชาย ดอนเจดีย (2445, บทคัดยอ) การศึกษาสภาพการไหลผานทางระบายน้ําลนข้ันบันได

แบบกลองตาขาย โดยทําการทดลองในรางขั้นบันไดท่ีมีความกวาง 0.40 เมตร มีความลาดชันของ

ราง 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา โดยมีความสูงของรางเทากับ 1.50, 2.12 และ2.60 เมตร

ตามลําดับ ข้ันบันไดมีความสูงเปนรอยละ 5 ของความสูงราง อัตราการไหลอยูในชวงระหวาง 4 ถึง

68 ลิตรตอวินาที จากการศึกษาพบวาการสูญเสียพลังงานมีความสัมพันธกับคา Drop Mumber และ

ความลาดชันของราง โดยการสูญเสียพลังงานจะเพิ่มข้ึน เม่ือคา Drop Mumber ลดลง ในกรณีท่ี

Drop Mumber เทากัน การสูญเสียพลังงานจะเพิ่มข้ึนเม่ือความลาดชันของรางลดลง ทางระบายน้ํา

ลนข้ันบันไดแบบกลองตาขาย สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการสลายพลังงานไดประมาณรอยละ 10

ลดความเร็วทางดานทายน้ําไดรอยละ 14 และลดแรงดันท่ีเกิดข้ึนบนพ้ืนรางไดรอยละ 27

เม่ือเปรียบเทียบกับทางระบายนํ้าลนข้ันบันไดแบบพื้นเรียบ

สุรศักดิ์ คลังสุภาวิพัฒน (2543, บทคัดยอ) กลาววา เม่ือมีการประยุกตโครงการแกมลิง

รวมกับมาตรการอ่ืนๆ ท่ีใชในการระบายนํ้าในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2538 ซ่ึงเปนชวงอุทกภัยรุนแรง

ท่ีสุดท่ีเคยเกิดข้ึนในอดีต ปริมาณฝนในพื้นท่ีศึกษา (211 มิลลิเมตรตอเดือน) โครงการแกมลิง

สามารถแกไขปญหานํ้าทวมขังในพื้นท่ีได โดยเพียงแตควบคุมการระบายน้ําออกสูทะเลโดยประตู

ระบายนํ้าแตเพียงอยางเดียว โดยไมตองปรับปรุงระบบอ่ืนใดเพิ่มเติม และยังสามารถรับน้ําจากพื้นท่ี

ตอนบนไดถึง 58 ลานลูกบาศกเมตร ในชวงระยะเวลา 1 เดือนท่ีศึกษา แตเม่ือปดการระบายนํ้าออก

ทางแมน้ําทาจีนแลว ถาจะไมใหเกิดน้ําทวมขังในพ้ืนท่ี จําเปนจะตองปรับปรุงคลองโดยการขุดลอก

ทองคลอง จํานวน 24 สาย จากคลองภาษีเจริญถึงพื้นท่ีแกมลิง (รวมความยาวท้ังส้ินประมาณ 170

กิโลเมตร) และควบคุมการระบายน้ําออกสูทะเลโดยประตูระบายน้ํา ก็จะสามารถลดปญหาน้ําทวม

ขังในพื้นท่ีศึกษาได และยังสามารถรองรับปริมาณน้ําจากพื้นท่ีดานนอกตอนบนไดถึง 112 ลาน

ลูกบาศกเมตร

จงกล จงวิไลเกษม (2546, บทคัดยอ) กลาววา จากการเลือกพื้นท่ีศึกษาในลุมน้ําปง ผล

การศึกษาพบวาแบบจําลองใหคําตอบของปริมาตรน้ําทาเปนท่ีนาพอใจ อยางไรก็ตามลักษณะของ

กราฟน้ําทาท่ีไดจากแบบจําลองคอนขางแตกตางจากกราฟน้ําทาท่ีไดจากขอมูลจริง โดยท่ีอัตราการ

Page 35: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

39

ไหลสูงสุดของกราฟน้ําทาท่ีไดจากแบบจําลองจะเกิดข้ึนชากวากราฟท่ีไดจากขอมูลประมาณ 1-3

วัน ข้ึนอยูกับลักษณะความลาดชันของพื้นท่ีลุมน้ําและปริมาณการกระจายของฝนต้ังแตตนฤดูฝน

จนถึงชวงท่ีประเมินคา

อุกฤษ ปจฉิม (2546, บทคัดยอ) กลาววา จากผลการศึกษาพบวา ขอมูลของสถานีใกลเคียงจะ

ทําใหการทํานายมีความแมนยํา สําหรับชวงตนน้ําและขอมูลยอนหลังจะใหความแมนยําท่ีดี สําหรับ

ชวงทายน้ําท่ีไดรับอิทธิพลจากน้ําข้ึนน้ําลง ผลการคํานวณท่ีไดเม่ือเปรียบเทียบกับขอมูลระดับน้ําท่ี

วัดจริง ใหคา R2 มากกวารอยละ 80 โดยขอมูลท่ีมีการจัดกลุมกอนการทํานายมีความแมนยําและ

แนวโนมท่ีดีกวาขอมูลท่ีไมมีการจัดกลุมกอนการทํานาย และสามารถทํานายคาระดับน้ําสูงสุดใน

รอบปได

เสรี ศุภราทิตย (2555) กลาววา สําหรับอุทกภัยท่ีมีขนาดใหญกวามาตรฐานการออกแบบท่ี

วางไว เปนเหตุผลหลักอันหนึ่งท่ีทําใหสถานการณรุนแรงมากข้ึน ดังนั้น การบริหารจัดการอุทกภัย

เชิงองครวม(Integrated Flood Management) จึงมีความสําคัญเรงดวน และจําเปนท่ีชุมชนในพ้ืนท่ี

เส่ียงภัย ตองนํามาประยุกตใชโดยมีองคประกอบท่ีควรพิจารณา 5 ประการ กลาวคือ 1) การ

จัดการวัฏจักรน้ําท้ังระบบ 2) การจัดการแบบองครวมของดินและน้ํา 3) การผสมผสานมาตรการ

ตาง ๆ 4) การมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวยเสีย และ 5) การวิเคราะหความเส่ียงและความออนแอ

ของชุมชน ซ่ึงการนํากลยุทธแตละดานไปปฏิบัติงานจริงตองไดรับการสนับสนุนจากทุกภาคสวน

เร่ิมจาก นโยบายดานการเมืองหรือรัฐบาล ไปสูหนวยปฏิบัติต้ังแตกระทรวง ทบวง กรม ไปจนถึง

ชุมชน รวมท้ังภาคเอกชน หรือ NGO ตางๆ

บุญเรือง มานะสุการ (2547) กลาววา จากการศึกษาพบวา คลอง ร.1 มีผลกระทบท้ังทางตรงและทางออมตอชุมชนตามแนวคลอง โดยผลกระทบทางตรง คือ การเวนคืนท่ีดิน ซ่ึงมีท้ังพื้นท่ีเกษตรกรรมและพ้ืนท่ีท่ีเปนบานเรือน เจาของท่ีดินบางรายพอใจกับคาตอบแทนท่ีไดรับ แตบางรายไมยอมใหเวนคืนท่ีดินของตนเอง เพราะไมตองการเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตของตนเอง ประชาชนจํานวนมากถูกกดดันจากหนวยงานภาครัฐท่ีเขาไปดําเนินโครงการ โดยอางวาถาไมยินยอมจะถูกเวนคืนท่ีดินโดยไมไดรับคาชดเชย ทําใหไมกลาทํากิจกรรมตอไป เชน การทําฟารมไก การเล้ียงปลา การปลูกพืชสวน การสรางบานเรือนฯ ผลกระทบทางออมเกิดจากขาดการศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอมและสังคมของโครงการฯ สงผลตอสภาวะจิตใจของชาวบานในพื้นท่ีแนวคลอง เกิดความกลัวและวิตกกังวล ไมวาจะเปนการเกิดน้ําทวมในฤดูฝนเนื่องจากเปล่ียนสภาพเปนพื้นท่ี

Page 36: 2. 3. 4research-system.siam.edu/images/independent/The_study_of... · 2018-11-01 · บทที่ 2 ... ป จจุบันชุมชนเม ืองได ขยายเขตเจร

40

รองรับน้ําท่ีระบายมาจากคลองอูตะเภา สังเกตไดจากการปลูกบานหลังใหมในพื้นท่ีท่ีอยูใกลกับแนวคลองจะเปนแบบยกพื้นสูงมากกวาปกติ เพราะเช่ือวาจะเกิดน้ําทวมหลังจากท่ีโครงการแลวเสร็จ การแบงแยกพื้นท่ีทํากินจะทําใหเกิดความยากลําบากในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม และความสัมพันธในเครือญาติลดลงเพราะการคมนาคมท่ีไมสะดวก การเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตเม่ือมีการพัฒนาสองฝงคลองในอนาคต การปรับตัวกับต้ังถ่ินฐานใหม โดยเฉพาะท่ีบานทาชางและบานบางหยี ซ่ึงมีประชากรคอนขางหนาแนน นอกจากนี้ยังกังวลกับสภาพแวดลอมท่ีอาจเปล่ียนไป อาทิ การรุกเขามาของน้ําเค็มตามแนวคลองท่ีขุด การลดลงของระดับน้ําใตดิน ฯ ระบบประสานงานระหวางหนวยงานภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน