16capital struture

46
27/12/2005 ฐว ฒครองขจรส 1 บทท 16 โครงสร างเง นท

Upload: fon-term

Post on 29-Nov-2014

138 views

Category:

Documents


3 download

TRANSCRIPT

Page 1: 16capital struture

27/12/2005 ณัฐวุฒิครองขจรสุข 1

บทที่16โครงสรางเงินทุน

Page 2: 16capital struture

2

Basic Concepts

มูลคาของธุรกิจ(V) =

ตนทุนเงินทุน(WACC) = wd = สัดสวนของทุนจากหนี้สินT = อัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลrd = ตนทุนของหนี้สินwe = สัดสวนของทุนจากสวนของผูถือหุนrs = ตนทุนของสวนของผูถือหุน

)1(....

)1()1( 22

11

WACCFCF

WACCFCF

WACCFCF

sedd rwrTw )1(

Page 3: 16capital struture

3

Basic Concepts (cont.)

rd < rs เนื่องจากผูถือหุน(ซึ่งเรียกรองไดเปนรายสุดทายหรือเปนResidual Claimer) มีความเสี่ยงมากกวาเจาหนี้จึงตองการผลตอบแทนสูงกวาโครงสรางเงินทุน(Capital Structure) คือwdและwe ที่บริษัทเลือกใช(เชนบริษัทเลือกระดมทุนจากการกอหนี้20% และระดมทุนจากสวนของผูถือหุน80%)

Page 4: 16capital struture

4

Basic Concepts (cont.)

wd และwe ที่ถูกเลือกจะสงผลกระทบตอWACC และFCFV จึงไดรับผลกระทบดวย

โครงสรางเงินทุนที่เหมาะสม(Optimal CapitalStructure) คือwd และwe ที่ทําใหV สูงสุด(ทําใหWACC ต่ําสุดนั่นเอง)

Page 5: 16capital struture

5

ผลกระทบของการเพิ่มwd ตอสวนตางๆในWACCwd สูงขึ้น WACC สูงขึ้นถาสวนอื่นไมเปลี่ยน

we ต่ําลง WACC ต่ําลงถาสวนอื่นไมเปลี่ยน

rs สูงขึ้นเนื่องจากมีความไมแนนอนสูงขึ้นที่ผูถือหุนจะเรียกรองไมได WACC สูงขึ้นถาสวนอื่นไมเปลี่ยน

Page 6: 16capital struture

6

ผลกระทบของการเพิ่มwd ตอสวนตางๆในWACC (ตอ)rd สูงขึ้นเนื่องจากความนาจะเปนของการลมละลาย(Probability of Bankruptcy) เพิ่มสูงขึ้น WACC สูงขึ้นถาสวนอื่นไมเปลี่ยน

ลดหยอนภาษีไดเพิ่มขึ้น(Trd สูงขึ้น) WACC ต่ําลงถาสวนอื่นไมเปลี่ยน

ผลกระทบโดยรวมตอWACC จึงไมแนนอนขึ้นอยูกับวาสวนไหนเปลี่ยนแปลงเยอะกวา

Page 7: 16capital struture

7

ผลกระทบของการเพิ่มwd ตอFCF

การเพิ่มwd ทําใหความนาจะเปนของการลมละลายสูงขึ้นซึ่งอาจทําใหFCF ต่ําลง(และV ต่ําลง) เนื่องจากยอดขาย(Sales) ต่ําลงจากความเชื่อมั่นของลูกคาที่ต่ําลงผลิตภาพ(Productivity) ของลูกจางและผูจัดการต่ําลงเนื่องจากความกังวลในการหางานใหมบัญชีเจาหนี้การคา(Account Payables) ต่ําลงเนื่องจากเจาหนี้ไมเชื่อถือจึงไมยอมใหซื้อเชื่อเทาเดิมทําใหตนทุนหมุนเวียนสุทธิ(Net WorkingCapital) สูงขึ้น

Page 8: 16capital struture

8

ผลกระทบของการเพิ่มwd ตอตนทุนตัวแทน(Agency Costs)ความนาจะเปนของการลมละลายที่สูงขึ้นอาจสงผลกระทบตอพฤติกรรมของตัวแทน(ผูจัดการของบริษัท) 2 ทางลดคาใชจายที่ไมจําเปน ตนทุนตัวแทนต่ําลง FCF สูงขึ้น V สูงขึ้นถาอยางอื่นไมเปลี่ยนแปลงไมกลาลงทุนในโครงการที่มีNPV > 0 กอใหเกิดปญหาการลงทุนที่นอยเกินไป(Underinvestment) ตนทุนตัวแทนสูงขึ้น FCF ต่ําลง V ต่ําลงถาอยางอื่นไมเปลี่ยนแปลง

ผลกระทบรวมตอV ไมแนนอนขึ้นอยูกับวาสวนไหนเปลี่ยนแปลงเยอะกวา

Page 9: 16capital struture

9

ขอมูลอสมมาตร(Asymmetric

Information) ในการออกหุนนิยาม: ผูจัดการของบริษัทอยูในสถานะที่จะคาดการณวาFCF ในอนาคตของบริษัทจะเปนเชนไรดีกวานักลงทุนผลลัพธ: การออกหุนเพิ่มเติมเปนสัญญาณไมดี

(Negative Signal)นักลงทุนมักมองวาราคาขายของหุนที่ผูจัดการของบริษัทเสนอสูงเกินจริง(ไมมีใครอยากขายของที่ขาดทุน) V แทจริงต่ํากวานี้ กลไกของตลาดมักทําใหราคาหุนของบริษัท(ซึ่งสะทอนถึงV)ต่ําลง(มีประเด็นเพิ่มเติมในSignaling Theory)

Page 10: 16capital struture

10

ความเสี่ยงทางธุรกิจ(Business Risk)ความหมาย:ความเสี่ยงที่ผูถือหุนสามัญของบริษัทจะตองเผชิญถาบริษัทไมมีการกอหนี้

วัดไดจากความผันผวนหรือคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลตอบแทนจากทุนที่ลงไป(Return on Invested Capital or ROIC) ของบริษัทROIC = EBIT(1 – T)/Capital ความผันผวนในROIC เกิดจากความผันผวนของEBITกับCapitalNet Operating Profit After Taxes (NOPAT)

= EBIT(1-T)

Page 11: 16capital struture

11

ปจจัยที่สงผลกระทบตอความเสี่ยงทางธุรกิจความผันผวน(Variability) ของอุปสงค(Demand)ความผันผวนของราคาขาย(Sale Price)ความผันผวนของตนทุนของปจจัยการผลิต(Input

Cost)ความสามารถในการปรับราคาของผลิตภัณฑ(Output

Price) เมื่อตนทุนของปจจัยการผลิตเปลี่ยนไปอายุของผลิตภัณฑ(ยิ่งเสียเร็วยิ่งมีความเสี่ยงทางธุรกิจสูง)

ระดับความเสี่ยงจากภายนอกประเทศ(Foreign RiskExposure)

ระดับภาระผูกพันจากการดําเนินงาน(OperatingAverage)

Page 12: 16capital struture

12

Operating Averageนิยาม:ระดับการเปลี่ยนแปลงของEBIT จากการเปลี่ยนแปลงของยอดขาย(Sale) ถาปจจัยอื่นคงที่

ตนทุนคงที่(Fixed Cost) เปนปจจัยหลักที่สงผลกระทบตอภาระผูกผันจากการดําเนินงานผลิตภัณฑที่ตองใชเทคโนโลยีการผลิตระดับสูงจะมีตนทุนคงที่ที่สูงซึ่งทําใหมีภาระผูกผันจากการดําเนินงานสูงดวย ระดับการเปลี่ยนแปลงของEBIT จากการเปลี่ยนแปลงของSale สูง ความผันผวนของROIC สูง(ในขณะที่ROIC คาดหมายจะสูงขึ้นดวย) Business Risk สูง

Page 13: 16capital struture

13

ความเสี่ยงทางการเงิน(Financial Risk)ความหมาย:ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นนอกเหนือจากความเสี่ยงทางธุรกิจซึ่งผูถือหุนสามัญของบริษัทจะตองเผชิญถาบริษัทตัดสินใจกอหนี้(มีภาระผูกพันทางการเงินหรือFinancial Leverage) หรือเพิ่มเงินกูเขาไปในโครงสรางเงินทุนเนื่องจากมีความเปนไปไดที่บริษัทจะไมสามารถจายชําระเงินตนและดอกเบี้ยได

ภาระผูกพันทางการเงินจะทําใหความเขมขนของความเสี่ยงทางธุรกิจที่ผูถือหุนสามัญแตละคนตองเผชิญจะเพิ่มขึ้นดวยนึกถึงสถานการณตอนที่บริษัทระดมทุนจากเจาของหุน10 คนกับสถานการณที่บริษัทระดมทุนจากเจาของหุน5 คนกับเจาหนี้5 คน

Page 14: 16capital struture

14

ผลกระทบของภาระผูกพันทางการเงินตอผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุนสามัญROE (Return on Equity) = กําไรสุทธิที่เหลือใหผูถือหุนสามัญ÷ สวนของผูถือหุนสามัญกําไรสุทธิที่เหลือใหผูถือหุนสามัญ= (EBIT –

Interest)*(1-T)

ROIC = EBIT(1 – T)/Capital ROE =ROIC เมื่อบริษัทไมมีหนี้

Page 15: 16capital struture

15

ผลกระทบฯ(ตอ)การกอหนี้ไมสงผลกระทบตอEBIT เนื่องจากการคํานวณEBIT ไมไดพิจารณาถึงคาใชจายจากการจายดอกเบี้ยจึงไมสงผลกระทบตอBEP = EBIT/TA และ

ROIC ดวย(มูลคาคาดหมายและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัววัดเหลานี้จะไมเปลี่ยนแปลงไมวาบริษัทจะกอหนี้หรือไม)

ROE หรือROE คาดหมายจะเพิ่มขึ้นเมื่อบริษัทมีการกอหนี้เนื่องจากตัวหาร(Capital) ลดลงเปนสัดสวนมากกวาการลดของตัวตั้ง(EBIT –Interest)*(1-T)เพราะคาใชจายจากดอกเบี้ยลดหยอนภาษีได

Page 16: 16capital struture

16

ผลกระทบฯ(ตอ)

การกอหนี้ทําใหความผันผวนของROE สูงขึ้น(คาเบี่ยงเบนมาตรฐานสูงขึ้น) เนื่องจากบริษัทมีภาระผูกพันจากการตองจายดอกเบี้ยถาเศรษฐกิจไมดี อุปสงคต่ํา รายไดสุทธิยิ่งต่ํากวาในกรณที่ีไมมีหนี้

ความเสี่ยงทางการเงินวัดไดจากσROE - σROIC

Page 17: 16capital struture

17

ทฤษฎีโครงสรางเงินทุน(CapitalStructure Theory)นักวิเคราะหพยายามหาเหตุผลในการอธิบายวา

ทําไมสองบริษัทในอุตสาหกรรมที่ตางกันจึงมีโครงสรางเงินทุนที่แตกตางกัน

ทําไมสองบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกันจึงมีโครงสรางเงินทุนที่แตกตางกัน

ทฤษฎีของMM (Modigliani and Miller)แบบไมมีภาษีเงินไดนิติบุคคล(Zero taxes)

แบบมีเฉพาะภาษีเงินไดนิติบุคคล(Corporate taxes)

แบบมีทั้งภาษีเงินไดนิติบุคคลและภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา(Corporate and personal taxes)

Page 18: 16capital struture

18

Capital Structure Theory(cont.)

ทฤษฎีไดอยางเสียอยาง(Trade-off theory)

ทฤษฎีการใหสัญญาณ (Signaling theory)

ใชการระดมทุนดวยการกอหนี้เปนเงื่อนไขบังคับการบริหาร

Page 19: 16capital struture

19

MM (1958) Theory: ZeroTaxes

WACC =ภายใตสมมติฐานหลายๆประการVL = VUVL = มูลคาของบริษัทที่มีการกอหนี้VU = มูลคาของบริษัทที่ไมมีการกอหนี้

Intuition:ผลกระทบโดยรวมของการเพิ่มwd ตอสวนตางๆในWACCเปนศูนย(การเพิ่มwd และลดws มีผลดีเนื่องจากrd < rsแตวาผลดีจะถูกหักลางดวยการเพิ่มของrsเนื่องจากความเสี่ยงที่ผูถือหุนจะเรียกรองไมไดมีสูงขึ้น)

การเพิ่มของROE จากการกอหนี้จะถูกหักลางดวยการเพิ่มของความเสี่ยง

sedd rwrw

Page 20: 16capital struture

20

Cost ofCapital (%)

26

20

14

8

0 20 40 60 80 100Debt/ValueRatio (%)

rs

WACC

rd

MM (1958) Theory: ZeroTaxes (cont.)

Page 21: 16capital struture

21

Value of Firm, V (%)4

3

2

1

0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5Debt (millions of $)

VLVU

Firm value ($3.6 million)

MM (1958) Theory: ZeroTaxes (cont.)

Implication:

โครงสรางเงินทุนไมเปลี่ยนแปลงมูลคาของธุรกิจ

Page 22: 16capital struture

22

MM (1963) Theory: CorporateTaxes

WACC =ภายใตสมมติฐานหลายๆประการVL = VU + TDTD = อัตราภาษี*จํานวนของหนี้สิน ยิ่งกอหนี้มากVLยิ่งสูง

Intuition:ผลกระทบโดยรวมของการเพิ่มwd ตอสวนตางๆใน

WACC เปนบวกนั่นคือการเพิ่มwd จะทําใหWACC ลดลง(ผลดีจากการไดลดหยอนภาษีสูงกวาผลเสียดานอื่นๆจากการเพิ่มwd) ยิ่งกอหนี้มากWACC ยิ่งต่ํา

การเพิ่มของความเสี่ยงจากการกอหนี้(rs) ไมมากเทากรณีกอนที่ลดหยอนภาษีไมได

sedd rwrTw )1(

Page 23: 16capital struture

23

Cost ofCapital (%)

0 20 40 60 80 100Debt/ValueRatio (%)

rs

WACCrd(1 - T)

MM (1963) Theory:Corporate Taxes (cont.)

Page 24: 16capital struture

24

Value of Firm, V (%)4

3

2

10 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5

Debt(Millions of $)

VL

VU

TD

MM (1963) Theory:Corporate Taxes (cont.)

Implication:

โครงสรางเงินทุนของบริษัทควรเปนหนี้สิน100%

Page 25: 16capital struture

25

Miller (1977)’s Theory:Corporate and Personal Taxes

ภายใตสมมติฐานหลายๆประการ

Tc = อัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลTs = อัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาของรายไดจากการถือหุนสามัญ (Stocks)Td = อัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาของรายไดจากการถือหุนกู(Bonds)Tc > Td > Ts

DT

TTVV

d

scUL

1)1)(1(

1

Page 26: 16capital struture

26

Miller (1977)’s Theory (cont.)

อัตราภาษีในไทย:กรณผีูมีเงินไดเปนนิติบุคคลที่ไดรับเงินกําไรจากการขายหลักทรัพย, เงินปนผล, และดอกเบี้ยตองนํารายไดดังกลาวมารวมคํานวณหากําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีในอัตรารอยละ30เงินกําไรจากการขายหลักทรัพยหักภาษีณ ที่จายรอยละ15 (ยกเวนการขายหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย)เงินปนผลหักภาษีณที่จายรอยละ10ดอกเบี้ยหุนกูและพันธบัตรหักภาษีณ ที่จายรอยละ15

Page 27: 16capital struture

27

Miller (1977)’s Theory (cont.)

Implication:ถาเราพิจารณาถึงมูลคาของเงินตามเวลาโดยเฉลี่ยแลวรายไดจากการถือหุนสามัญ (เงินปนผลและกําไรจากการขาย) จะถูกหักภาษีนอยกวารายไดจากการถือหุนกู(ดอกเบี้ย) เนื่องจากเราไดผลประโยชนจากการเลื่อนจายภาษี(Tax Deferral)ของการถือหุนสามัญตนทุนจากการออกหุนสามัญจึงต่ํากวากรณกีอน(ที่ยังไมมีการพิจาณาภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา)ผลประโยชนจากการกอหนี้ลดนอยลงกวาในกรณีกอน(แตก็ยังมีอยู) โครงสรางเงินทุนของบริษัทก็ยังคงควรเปนหนี้สิน100%

Page 28: 16capital struture

28

Miller (1977)’s Theory (cont.)

Implication (cont.)กราฟWACC VS Debt Ratio กับกราฟVL VS

Debt Ratio ยังเหมือนกรณกีอนหนานี้เพียงแตมีความชันต่ํากวาเดิม

Page 29: 16capital struture

29

ขอสังเกตจากสมการของMiller (1977)

สมการของMiller (1997) เปนสมการที่วางนัยทั่วไป(Generalized Equation) ของสองสมการกอนหนานี้T ใน ของMM (1963) ถูกแทนที่ดวย

ของMiller (1977)

ถาไมพิจารณาถึงภาษี(Tc = Td = Ts) สมการของMiller (1997) จะเหมือนกับสมการของMM (1958)นั่นคือ

TDVV UL

d

sc

TTT

1)1)(1(

1

UL VV

Page 30: 16capital struture

30

ขอสังเกตฯ(ตอ)ถาTd = Ts = 0 หรือTd = Ts สมการของMiller

(1997) จะเหมือนกับสมการของMM (1963) นั่นคือ

ถา จะเกิดภาวะดุลยภาพ(Equilibrium)ผลประโยชนรวมจากการกอหนี้เปนศูนย(ผลประโยชนจากการลดหยอนภาษีของการกอหนี้จะถูกหักลางดวยผลประโยชนดานภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาของการออกหุน)

สมการของMiller (1997) จะกลับไปเปนเหมือนกับสมการของMM (1958) นั่นคือ

TDVV UL

)1()1)(1( dsc TTT

UL VV

Page 31: 16capital struture

31

คําวิจารณตอทฤษฎีของMMนัยยะสําคัญของMM (1958) คือโครงสรางเงินทุนไมมีความสําคัญตอมูลคาของบริษัทซึ่งไมเปนความจริง

นัยยะสําคัญของMM (1963) กับMiller (1977) คือบริษัทควรระดมทุนดวยการกอหนี้เพียงอยางเดียวซึ่งไมเปนความจริงเชนกัน

สมมติฐานหลายอยางถูกวิจารณวาไมอิงหลักความจริงทฤษฎีจึงยังไมสมบูรณไมมีตนทุนของการทําธุรกรรม(Transaction Costs)การกอหนี้ไมมีความเสี่ยงนักลงทุนมีการคาดหมายอยางเดียวกันเกี่ยวกับกําไรในอนาคตของบริษัท

ฯลฯ

Page 32: 16capital struture

32

Trade-off TheoryทฤษฎีของMM ตั้งสมมติฐานวาการกอหนี้ไมมีความเสี่ยงแตที่จริงการกอหนี้จะทําใหตนทุนของการลมละลาย(Bankruptcy Costs) เพิ่มขึ้นเชนคาปรึกษาฝายกฎหมายยอดขายที่ลดลงความนาเชื่อถือที่ลดลงฯลฯ

ทฤษฎีไดอยางเสียอยาง: การกอหนี้ไดประโยชนที่การลดหยอนภาษีแตก็ทําใหมีภาระดานการจายดอกเบี้ยและตนทุนของการลมละลายที่เพิ่มขึ้นณระดับของหนี้สินที่ต่ําผลประโยชนยังมีมากกวาตนทุนณระดับของหนี้สินที่สูงตนทุนมีมากกวาผลประโยชนระดับของหนี้สินที่ทําใหผลประโยชนหนวยสุดทาย

(Marginal Benefits) เทากับตนทุนหนวยสุดทาย(Marginal Costs) คือโครงสรางเงินทุนที่เหมาะสม(หนี้สินไมมากและไมนอยจนเกินไป)

Page 33: 16capital struture

33

Trade-off Theory (cont.)

Value of Stock

0 D1 D2

D/A

MM result

Actual

No leverage

Page 34: 16capital struture

34

Trade-off Theory (cont.)

V ตามMM (เสนMM result) เพิ่มขึ้นตามระดับหนี้สินที่เพิ่มขึ้นV ในความเปนจริง(เสนActual)ณระดับหนี้สินที่0 – กอนD1: V เพิ่มขึ้นตามระดับหนี้สินที่เพิ่มขึ้นและเทากับเสนMM result เนื่องจากตนทุนยังไมมีนัยยะสําคัญ (Immaterial)ณระดับหนี้สินที่D1: ระดับมูลฐาน(Threshold Level)ที่ตนทุนเริ่มมีนัยยะสําคัญ

Page 35: 16capital struture

35

Trade-off Theory (cont.)V ในความเปนจริง(เสนActual) (ตอ)ณระดับหนี้สินที่D1 – กอนD2: V เพิ่มขึ้นตามระดับหนี้สินที่เพิ่มขึ้นแตนอยกวาเสนMM resultเนื่องจากตนทุนเริ่มมีนัยยะสําคัญแตMC < MBณระดับหนี้สินที่D2 : เปนโครงสรางเงินทุนที่เหมาะสมที่ทําใหV สูงสุด(MC = MB)ตั้งแตD2 ขึ้นไป: V ลดลงตามระดับหนี้สินที่เพิ่มขึ้น

(MC > MB)

Implication: โครงสรางเงินทุนของบริษัทไมควรเปนหนี้สิน100%

Page 36: 16capital struture

36

Signaling TheoryทฤษฎีTrade-off + MM มีเหตุมีผลแตยังบอกเรื่องราวไมหมดเนื่องจากขอสมมติฐานที่วาผูจัดการบริษัทและนักลงทุนรูขอมูลเดียวกันไมเปนความจริง(ผูจัดการรูมากกวานักลงทุน)ทฤษฎีการสงสัญญาณ (สมมติวาผูจัดการบริหารบริษัทเพื่อประโยชนสูงสุดตอผูถือหุนเดิม):ถาผูจัดการระดมทุนเพิ่มดวยการออกหุนนักลงทุนจะมองวาเปนสัญญาณดานลบ(บริษัทมีอนาคตมืดมน) กลไกตลาดจะทําใหราคาหุนเดิมของบริษัทลดลงถาผูจัดการระดมทุนเพิ่มดวยการกูนักลงทุนจะมองวาเปนสัญญาณดานบวก(บริษัทมีอนาคตสดใส)กลไกตลาดจะทําใหราคาหุนเดิมของบริษัทเพิ่มขึ้น

Page 37: 16capital struture

37

Signaling Theory (cont.)Implications:ในเวลาปกติบริษัทควรสํารองระดับความสามารถในการกูยืม(Reserving Borrowing Capacity) ไวเผื่อโอกาสที่ดีที่สุดในการลงทุนในอนาคต ในเวลาปกติที่บริษัทตองการเงินทุนเพิ่มเติมบริษัทอาจจะออกหุนมากกวา(หรือกอหนี้นอยกวา) ระดับเหมาะสม(Optimal Level) ที่Trade-off + MMระบุไวขอมูลอสมมาตรอาจทําใหบางบริษัทระดมทุนตามลําดับที่วางไว(Pecking Order): ใชกําไรสะสมหรือขายสินทรัพยเกากอนจะกูและเลือกออกหุนเพิ่มเติมเปนทางเลือกสุดทาย

Page 38: 16capital struture

38

Debt and Agency Costs

ตนทุนตัวแทนเปนสวนหนึ่งของการพิจารณาโครงสรางเงินทุนที่เหมาะสมการกอหนี้สามารถจํากัดความฟุมเฟอยของฝายบริหารเชนการเขายึดครองบริษัท(Leveraged Buy-out)แตการกอหนี้มากเกินไปอาจทําใหเกิดปญหาการลงทุนที่นอยเกินไป(Underinvestment) เนื่องจากฝายบริหารกลัวที่จะเสี่ยง

Page 39: 16capital struture

39

Debt and InvestmentOpportunity

โอกาสในการลงทุนก็เปนสวนหนึ่งของการพิจารณาโครงสรางเงินทุนที่เหมาะสมบริษัทที่มีโอกาสมากควรสํารองความสามารถในการลงทุนไวดวยการกอหนี้แตนอยๆบริษัทที่ไมคอยมีโอกาสในการลงทุนอาจใชการกอหนี้จํากัดผูบริหารไมใหลงทุนในโครงการที่ไมดี

Page 40: 16capital struture

40

Conclusions

การระดมทุนดวยการกอหนี้ไดประโยชนจากการลดหยอนภาษีดังนั้นบริษัทควรมีหนี้สินในโครงสรางเงินทุนของบริษัท

แตตนทุนการลมละลายและตนทุนตัวแทนหักลางผลประโยชนจากการกอหนี้ไปบางสวน

ลักษณะของสินทรัพย(Assets) สวนใหญที่บริษัทถือไวก็เปนสวนหนึ่งของการพิจารณาวาควรกอหนี้มากนอยแคไหนบริษัทที่ถือสินทรัพยที่ไมมีตัวตน(Intangible Assets) เปนสวนใหญก็ไมควรกอหนี้มาก

บริษัทที่ถือสินทรัพยที่มีตัวตน(tangible Assets) เปนสวนใหญสามารถกอหนี้ไดมากกวา

Page 41: 16capital struture

41

Conclusions (cont.)

ปญหาขอมูลอสมมาตรทําใหบริษัทที่มีอัตราเจริญเติบโตนอยใชการระดมทุนตามPecking Order

นอกจากนี้ขอมูลอสมมาตรทําใหบริษัทตองสํารองความสามารถในการกูยืมเอาไว(ระดับของหนี้สินอาจนอยกวาที่ทฤษฎีไดอยางเสียอยางบอกไว)

ในความเปนจริงโครงสรางเงินทุนของบริษัทแตกตางกันมากเนื่องจากหัวขอนี้ขึ้นอยูกับปจจัยหลายๆอยางที่บริษัทแตละบริษัทตองเผชิญและแตละบริษัทอาจมีมุมมองไมเหมือนกัน

Page 42: 16capital struture

42

หลายๆปจจัยที่สงผลกระทบตอโครงสรางเงินทุนความมีเสถียรภาพของยอดขาย(Sale

Stability)โครงสรางของสินทรัพยในบริษัท(Asset

Structure)พันธะผูกพันจากการดําเนินงาน(Operating

Average)อัตราการเจริญเติบโต(Growth Rateกําไร(Profitability)

Page 43: 16capital struture

43

หลายๆปจจัยฯ(ตอ)

อัตราภาษี(Tax Rate)ระดับการควบคุมภายใน(Control)ทัศนคติของผูบริหาร(Management

Attitudes)ทัศนคติของผูใหสินเชื่อ(Lender and Rating

Attitudes)เงื่อนไขในตลาด(Market Conditions)

Page 44: 16capital struture

44

หลายๆปจจัยฯ(ตอ)

เงื่อนไขภายในบริษัท(The Firm’s InternalCondition)ความยืดหยุนดานการเงิน(Financial

Flexibility)

Page 45: 16capital struture

45

Page 46: 16capital struture

46

CONTACT

Email: [email protected]: 01- 6394990Office: ภาควิชาการเงิน(ชั้น4 คณะเกษตรศาสตร)Office Hours: วันอังคารและวันพุธ

10.00 น. – 14.00 น.