1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส....

24
~ 1 ~

Upload: others

Post on 26-Jan-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 1 ~

Page 2: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 2 ~

ขอบเขตเนื้อหา ความรูท่ัวไปเกี่ยวกับ บขส. 5

สัญลักษณ 9 ภารกิจหลักของ บขส. 16 ยุทธศาสตร บขส 17 เปาประสงค 19 การใหสัมปทานในรัฐวิสาหกิจไทย ในการขนสง 22 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการขนสง 24 ระเบียบและคูมือรถรวมบริษัทขนสง พ.ศ. 2547 34 อัตราคาธรรมเนียม 52 ขั้นตอนการเพ่ิมรถ 54 ขั้นตอนการปรับปรุงมาตรฐานรถ 55 ขั้นตอนการตอสัญญารถรวม 56 การบริหารงานทั่วไป 59 หลักการบริหารจัดการ 63 การบริหารสํานักงานสมัยใหม 75 การบริหารงานจัดการทั่วไป 84 ความรูทั่วไปดานสารสนเทศ และการประยุกตใชงานคอมพิวเตอรเบื้องตน 131 ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2548 158 สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2548 187

การรางหนังสือราชการ 196 แนวขอสอบหลักการเขียน 203 การเขียนแผนและโครงการ 200 การกํากับกิจการท่ีดีของบริษัท ขนสง จํากัด 230 ระเบียบวาดวย ประมวลจริยธรรมของพนักงาน 241 แนวขอสอบ 245

Page 3: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 3 ~

ความรูทั่วไปเก่ียวกับ บขส. ตํานาน บขส.

บริษัท ขนสง จํากัด กอตั้งเม่ือวันที่ 13 กรกฎาคม 2473 ในช่ือบริษัทเดินอากาศ จํากัด โดยเปนผูบุกเบกิริเร่ิมการบินพาณิชยในประเทศเปนรายแรก และเดินรถยนตโดยสารสายกรุงเทพฯ – ลพบุรี กรุงเทพฯ – ปราจีนบุรี ตอมาสมัยสงครามโลกคร้ังที่ 2 จึงเปนรัฐวิสาหกิจ และเปล่ียนช่ือเปนบริษัท ขนสง จํากัด เม่ือป พ.ศ. 2481 ป พ.ศ. 2490 รัฐบาลแยกกิจการบินภายในประเทศออกจากบริษัทฯ ตอมาป พ.ศ. 2491 บริษัทเร่ิมกิจการเดินเรือโดยมีเรือทั้งสิ้น 48 ลํา จนกระทั่งป พ.ศ. 2500 กิจการเดินเรือทั้งสิ้นจํานวน 18 สายและมี 4 สาขา คือสาขา ทาเตียน สาขาปากนํ้าโพ – นครสวรรค สาขาแปดร้ิว และสาขาอยุธยา อยางไรกต็ามการสรางเขื่อนชัยนาททําใหแมนํ้าเจาพระยาบางตอนตื้นเขิน ทําใหการเดินเรือไมสะดวก บริษัทฯจึงเลิกเดินเรือในปน้ันเอง ชวงเวลาดังกลาวราชการยังมิไดดําเนินการควบคุมหรือจัดระเบียบการเดินรถโดยสารประจําทางของ ประเทศ การเดินรถโดยสารระส่ําระสายมากโดยเฉพาะในตางจังหวัด เน่ืองจาการขับรถเร็วและแซงเพ่ือแยงผูโดยสารทําใหเกิดอุบัติเหตุอยูเสมอ นอกจากน้ี ยังทําใหเกิดการทะเลาะวิวาทระหวางพนักงานประจํารถหรือผูประกอบการจึงมีการแสวงหาการคุมครองกิจการตนเองจากผูมีอิทธิพล ซ่ึงทําใหเกิดผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสินของประชาชนเปนจํานวนมาก และสงผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศ ในป 2502 รัฐบาลในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ตระหนักถึงความรุนแรงของปญหาที่เกิดขึ้น จึงมอบสัมปทานเสนทางการเดินรถโดยสารหมวด 2 ในเขตสัมปทาน 25 จังหวัดใหบริษัท ขนสง จํากัดแตเพียงรายเดียว อีกทั้งมอบหมายใหเปนแกนกลางในการนํารถโดยสารของเอกชนเขามารวมกับบริษัทฯ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือจัดระเบียบการเดินรถโดยสารใหเปนระเบียบและเปนธรรม แกเจาของรถโดยสารทุกรายที่เขารวม ทั้งน้ีเพ่ือควบคุมดูแลเจาของรถโดยสารใหบริการที่ดีแกประชาชน ระหวาง ป พ.ศ. 2502-2511 บริษัท ขนสง จํากัดพยายามชักจูงบริษัทเดินรถโดยสารเอกชนรายใหญเขาสูระบบรถรวมโดยใหดําเนินการเดินรถอยูในกฎขอบังคับของทางราชการภายใตเคร่ืองหมายของ บริษัทฯซ่ึงสามารถแกไขปญหารถโดยสารผิดกฎหมายได แมในชวงแรก บริษัทฯยังไมสามารถดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายของรัฐที่ไดรับมอบหมาย และประสบขาดทุนอยางหนัก ระหวางป พ.ศ. 2502 ถึงป พ.ศ. 2504 อยางไรก็ตามบริษัทฯ พยายามปรับปรุงทั้งดานการบริหารจัดการภายในและการใหบริการ จนกระทั่งผลการ

Page 4: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 4 ~ ดําเนินงานเร่ิมดีขึ้นเปนลําดับตั้งแตป พ.ศ. 2505 ถึง 2516 ทําใหมีผลการดําเนินงานดีขึ้นจนสามารถจายโบนัสไดเปนคร้ังแรก ระหวาง ป พ.ศ. 2522 ถึง 2531 เปนชวงที่บริษัทฯจัดระเบียบการเดินรถโดยสารของบริษัทฯและรถรวมพรอมกับ ใหเกิดความเปนธรรม สงเสริมและสนับสนุนใหมีการรวมตัวกันของเจาของรถโดยสารรายยอยตามความ เหมาะสมของแตละกลุม แตละเสนทาง และแตละภูมิภาค ซ่ึงเปนผลใหผูประกอบการรถรวมมีการรวมตัวกันอยางเปนรูปธรรมเม่ือป พ.ศ. 2523 ในนามของสมาคมผูประกอบการรถยนตโดยสาร

วันท่ี 8 เมษายน พ.ศ.2541พิธีเปดอยางเปนทางการของอาคารสถานีขนสงผูโดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) ถนนกําแพงเพชร 2 เขตจตุจักร มีพ้ืนที่ใชสอย 27,000 ตารางเมตร ใชแทนอาคารหลังเดิมเปนอาคาร 4 ช้ัน ออกแบบไดอยางเหมาะสมและปลอดภัยสําหรับผูโดยสาร และมีจุดอํานวยความสะดวกครบครัน ป พ.ศ. 2546 บริษัท ขนสง จํากัด มีแผนขยายเสนทางเดินรถขามประเทศไปยังประเทศเพ่ือนบาน ทั้งน้ีเพ่ือรองรับการขยายตัวทางการคา การลงทุน ที่รัฐบาลหมายจะใหไทยเปนประตูสูอินโดจีน ในป 2547 รถโดยสารระหวางประเทศไทย - สปป.ลาว เสนทางหนองคาย-นครหลวงเวียงจันทน และเสนทางอุดรธานี-นครหลวงเวียงจันทน ก็เร่ิมเปดใหบริการ ในป 2548 เสนทางที่ 3 สายอุบลราชธานี-ปากเซ ในป 2550 เสนทางที่ 4 สายมุกดาหาร-สะหวันนะเขต ในป 2551 เสนทางที่ 5 ขอนแกน – นครหลวงเวียงจันทน และ ในป 2552 เสนทางที่ 6 นครราชสีมา – นครหลวงเวียงจันทน และในอนาคตอันใกลน้ีบริษัท ขนสง จํากัด จะเปดเดินรถเพ่ิมอีก 5 เสนทาง คือ นครพนม – เมืองทาแขก , เชียงใหม – แขวงหลวงพระบาง , อุดรธานี – หนองคาย – เมืองวังเวียง , กรุงเทพฯ – ปากเซ , เชียงราย – เชียงของ – บอแกว และไดขยายเสนทางในเสนทางที่ 6 เปนกรุงเทพฯ – นครหลวงเวียงจันทน โดยใหจังหวัดนครราชสีมาเปนจุดจอดระหวางทาง

ป พ.ศ. 2551 บขส. มีการจัดทํามาสคอต เพ่ือใชสาํหรับการรวมในกิจกรรมตางๆ เพ่ือใหประชาชนรูจักบริษัท ขนสง จํากัดเพ่ิมขึ้น ซ่ึงมาสคอต มีช่ือวา เซฟตี้ และเซฟตังค

ป พ.ศ.2552 บริษัทฯไดทําการปรับเปล่ียนสัญลักษณใหมของ บขส. ใหมีรูปแบบที่ทันสมัยยิ่งขึ้น จากปกปรับมาใชลายเสนการเคล่ือนไหว ทําใหสัญลักษณ บขส. ดูออนโยน มีความเปนกันเองใกลชิดลูกคามากยิ่งขึ้น

Page 5: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 5 ~ ความหมายของสัญลักษณใหมประกอบดวยเสน 3 สี เสนสีสม เปนเสนที่แสดงถึงรากฐานของสญัลักษณน้ีและสื่อถึงเสนโคงของรถบัส และเสนสีสมเปนสีของ บขส. และมีความหมายวา บขส.เปนองคกรในการใหบริการการขนสง การเดินรถอยางม่ันคง มาเปนเวลายาวนาน

เสนสีฟาเปนการสื่อถึงการพัฒนาตอเน่ืองและเพ่ิมประสิทธิภาพการใหบริการเปนสําคัญ และการพัฒนาจากรถสมมาเปนรถปรับอากาศ

เสนสีชมพ ู เปนสีที่หมายถึงความเปนมงคล สิ่งดีงาม สื่อถึง บขส. เปนองคกรทีท่ําประโยชนใหแกสังคมอยางตอเน่ือง

ตัวหนังสือ บขส. สีสม ใช Font ที่มีความหนา เพ่ือสื่อถึงความหนักแนน ม่ันคงขององคกรแหงน้ี วิสัยทัศน

เปนผูใหบริการขนสงผูโดยสารทางถนนระหวางเมืองดวยความเปนเลิศ หมายเลขเสนทางเดินรถ

หมวด 2 ภาคเหนือ

หมวด 2 ภาคเหนือ หมวด 2 ภาคเหนือ

สายที ่

ช่ือเสนทาง สายที ่

ช่ือเสนทาง

Page 6: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 6 ~

การบริหารงานจัดการทั่วไป งานดานบริหาร (The Find of Management) ผูบริหาร (Manager) คือ บุคคลซ่ึงนําเอาเงิน (Money), กําลังคน (Manpower), วัตถุดิบ

(Materials) และเคร่ืองจักร (Machinery) ซ่ึงจําเปนตองใชในการดําเนินธุรกิจมารวมเขาดวยกัน

การบริหารงาน (Management) คือ กระบวนการในการทําใหงานดําเนินไปโดยผานทางบุคคลอื่น

หลักการบริหารงาน ซ่ึงเปนปจจัยพ้ืนฐานในการประกอบธุรกิจ มี 4 ประการ เรียกวา หลัก 4 M’s ไดแก คน (Man), เงิน (Money), วัสดุอุปกรณ (Material) และการบริหาร (Management)

ในยุคปจจุบัน หนาที่หลักในการบริหารงาน ซ่ึงถือเปนสากล (Universality) คือ สามารถนําไปประยุกตใชกับองคการทุกรูปแบบและทุกระดับขององคการ มี 4 ประการ ตามลําดับดังน้ี

1. การวางแผน (Planning) 2. การจัดองคการ (Organizing) 3. การชักนํา (Leading) 4. การควบคุม (Controlling) การบริหารงานอาจเรียกไดวาเปนศิลปะของการตัดสินใจ เพราะการตัดสินใจถือเปน

หนาที่หลักของผูบริหาร ซ่ึงผูบริหารอาจตัดสินใจแกปญหาในเร่ืองตาง ๆ ดังน้ี 1. ความตองการจางบุคลากรที่มีความชํานาญเพ่ิมมากขึ้น

2. ปญหาการขาดงานที่สูงในบางแผนก 3. ลูกจางที่มีความซ่ือสัตยเกิดการกระทําความผิด

4. ผูบริหารที่เกิดความไมพอใจขูจะลาออก 5. กําไรของบริษัทลดลงอยางรวดเร็ว

6. สหภาพแรงงานพยายามที่จะรวมตัวลูกจางเพ่ือการเรียกรอง 7. มีการกลาวหาวาบริษัททําใหเกิดมลภาวะ ระดับของการบริหารงาน แบงออกเปน 3 ระดับ คือ 1. การบริหารงานระดับสูงสุด (Top Management) ประกอบดวย คณะกรรมการ

บริหาร (Board of Director) ประธานกรรมการบริหาร (President) หรือ

Page 7: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 7 ~

หัวหนาผูบริหาร (Chief Executive Officer) ฯลฯ โดยการบริหารงานระดับสูงจะตัดสินใจในการทําแผนงานกวาง ๆ ของบริษัท และทําการตัดสินใจในเร่ืองที่มีความสําคัญ เชน การรวมกิจการ และการออกหุนทุน เปนตน

2. การบริหารงานระดับกลาง (Middle Management ) ประกอบดวย ผูจัดการทั่วไป ผูจัดการโรงงาน (หัวหนาผูควบคุมโรงงาน) ผูจัดการแผนก (หัวหนาแผนก) ฯลฯ โดยการบริหารงานระดับกลางจะรับผิดชอบในการปรับปรุงโครงการดําเนินงาน ซ่ึงชวยทําใหโครงการกวาง ๆ ที่ทําขึ้นโดยฝายบริหารสูงสุดสําเร็จลุลวงไปไดดวยด ี

3. การบริหารงานการดําเนินงาน (Operating Manager) คือ หัวหนาช้ันตน (First – Line Supervisor) ประกอบดวย หัวหนางาน หัวหนาหนวย หัวหนาคนงาน (Foreman) ฯลฯ โดยการบริหารระดับตนหรือระดับลางน้ีจะมีหนาที่รับผิดชอบในการควบคุมดูแลคนงานซ่ึงดําเนินงานเปนประจําวัน

ความสําคัญของการบริหาร มีบทบาทตอการดําเนินงานทางธุรกิจ ดังน้ี 1. ชวยใหมวลมนุษยดํารงชีวิตอยางถูกตองตามแนวทางที่กําหนดไว 2. ช้ีใหเห็นถึงความเจริญกาวหนาโดยการนําเทคโนโลยีมาใช 3. เปนสิ่งควบคูกับการเมืองและสังคม ดังน้ันจะตองคํานึงถึงสภาพแวดลอมตาง ๆ 4. ช้ีใหเห็นถึงความเจริญและความเสื่อมของสังคมในอนาคต 5. มีลักษณะเปนการทํางานรวมกัน ความสําเร็จจึงขึ้นอยูกับปจจัยทุกอยาง การบริหารที่บรรลุตามเปาหมายจะตองเนนคุณคาของการบริหารในดานตาง ๆ คือ เนนในเร่ืองการประหยัด,ประสิทธิภาพในการทํางาน, ความถูกตองเที่ยงธรรม, การมีคุณธรรม,ความซ่ือสัตย,ความรับผิดชอบตอหนาที่ ตอเพ่ือนรวมงาน และตอบุคคลภายนอกที่เกี่ยวของ

การตัดสินใจทางการจัดการ

การตัดสินใจ (Decision Making) เปนการเลือกที่จะตองกระทําระหวางทางเลือกที่มีอยู 2 ทางหรือมากกวาน้ัน ซ่ึงขั้นตอนที่สําคัญที่สุดของการตัดสินใจก็คือ การพิจารณาวาอะไรคือทางเลือกที่ดีที่สุด ดังน้ันการตัดสินใจจึงเปนกระบวนการในการเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคที่ไดวางไว

องคการธุรกิจโดยทั่วไปจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคได ควรใชระบบการตัดสินใจตามความเหมาะสมกับแตละสถานการณ เชน ถาเปนเร่ืองรีบดวนหรือเปนเร่ืองที่มี

Page 8: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 8 ~

การรางหนังสือราชการ ความสําคัญและประโยชนของการเขียนหนังสือ

1. เปนเคร่ืองมือในการสื่อสาร ระหวางผูสง และผูรับหนังสือ 2. สามารถสื่อความหมายไดถูกตอง ตรงประเด็น และเขาใจตรงกัน 3. ประหยัดเวลา ในการตีความ ไมตองสอบถามหรือเขียนใหมนํากลับมาอานทบทวน

ทําความเขาใจไดหลายคร้ังเทาที่ตองการ 4. สามารถเก็บไวเปนหลักฐานในการตรวจสอบได 5. หรือใชเปนตัวอยางสําหรับการปฏิบัติงานใหกับเจาหนาที ่6. เปนภาพลักษณที่ดีขององคกร

ความหมายของหนังสือ หนังสือราชการ และหนังสือโตตอบ

“หนังสือ” หมายความวา เอกสารตางๆ ที่ทางราชการจัดทําขึ้น รวมทั้งเอกสารที่บุคคลภายนอกสงมายังหนวยงาน และเจาหนาที่รับไวถือวาเปนหนังสือราชการดวย

“หนังสือราชการ” หมายความวา เอกสารที่เปนหลักฐานทางราชการ ไดแก 1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ 2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงสวนราชการอื่นใด ที่ไมใชสวนราชการ หรือที่มีไปถึง

บุคคลภายนอก 3. หนังสือที่สวนราชการอื่นใด ที่ไมใชสวนราชการ หรือบุคคลภายนอกมีมาถึงสวน

ราชการ 4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นเพ่ือเปนหลักฐานทางราชการ 5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ 6. ขอมูลขาวสาร หรือหนังสือที่ไดรับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส “หนังสือโตตอบ” หมายความวา หนังสือที่สวนราชการ หนวยงาน หรือบุคคล

ภายนอก มีถึงกัน หรือมีการโตตอบไปมาระหวางกัน ความสําคัญของงานสารบรรณ “งานสารบรรณ” หมายความวา เปนงานที่

เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เร่ิมตั้งแตการจัดทํา การรับ การสงการเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย

Page 9: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 9 ~

“แตในทางปฏิบัติแลว” จะเร่ิมตั้งแต การคิด อาน ราง เขียน แตง พิมพ จดจํา ทําสําเนา สง รับ บันทึก จดรายงานการประชุม สรุป ยอเร่ือง เสนอ สั่งการ ตอบ ทํารหัส เก็บ คนหา ติดตาม จนถึงการทําลายดวย ความหมายของคําวา “สวนราชการ”

สวนราชการหมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐทั้งในการบริหารสวนกลาง และสวนภูมิภาค รวมถึงคณะกรรมการดวย ชั้นความเร็ว และชั้นความลับ “ชั้นความเร็ว” มี 3 ชั้น

ดวนที่สุด ใหเจาหนาที่ปฏิบัติทันทีที่ไดรับหนังสือ ดวนมาก ใหเจาหนาที่ปฏิบัติโดยเร็ว ดวน ใหเจาหนาที่ปฏิบัติเร็วกวาปกติ

“ชั้นความลับ” มี 3 ชั้น

ลับที่สุด ลับมาก ลับ

ความหมายของการจัดทําสําเนา สําเนา คือเอกสารที่จัดทําขึ้นเหมือนตนฉบับ ไมวาจะทําจากตนฉบับ หรือถายจาก

สําเนาอีกช้ันหน่ึง หรือพิมพจากเคร่ืองคอมพิวเตอรเหมือนตนฉบับก็ได แตจะตองประทับตราวา “สําเนาคูฉบับ” หรือ “สําเนา” “สําเนา” กระทําได 2 แบบ คือ

“สําเนา” เปนสําเนาที่สวนราชการจัดทําขึ้น อาจทําขึ้นดวย การถาย คัด อัดสําเนา หรือดวยวิธีอื่นๆแตสําเนาน้ี จะตองมีผูรับรองสําเนา คําวา “สําเนาถูกตอง” โดยใหเจาหนาที่ตั้งแตระดับ 2 ขึ้นไปหรือเทียบเทา ลงลายมือช่ือรับรองตัวบรรจง ตําแหนง วัน เดือน ป ที่รับรอง โดยปกติใหมีคําวา สําเนาไวที่กึ่งกลางหนาเหนือบรรทัดแรกของสําเนาหนังสือดวย

“สําเนาคูฉบับ” คือสําเนาที่จัดทําพรอมกับตนฉบับ และเหมือนตนฉบับ มีผูลงลายมือช่ือหรือลายมือช่ือยอไวและใหผูราง/พิมพ/ตรวจ ลงลายมือยอไวขางทายขอบลางดานขวา ของหนังสือ

Page 10: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 10 ~ ชนิดของหนังสือราชการ มี 6 ชนิด

1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน 3. หนังสือประทับตรา 4. หนังสือสั่งการ เชน คําสั่ง ระเบียบ ขอบังคับ 5. หนังสือประชาสัมพันธ เชน ประกาศ แถลงการณ ขาว 6. หนังสือที่เจาหนาที่จัดทําขึ้นหรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ

ความแตกตางของหนังสือภายใน ภายนอก บันทึก

หนังสือภายนอก หนังสือภายใน บันทึก 1. ติดตอระหวางกระทรวง หรือบุคคลภายนอก 2. ผูลงนามเปนหัวหนาสวนราชการระดับกระทรวงหรือผูที่ไดรับมอบหมาย 3. ใชรูปแบบหนังสือภายนอก “กระดาษครุฑ” มีเร่ือง เรียน อางถึง สิ่งที่สงมาดวย 4. เปนพิธีการเต็มรูปแบบ ออกเลขที่ทุกคร้ัง 5. ตองพิมพใหเรียบรอย 6. มีสําเนาคูฉบับ และสําเนาครบถวน

ความหมายของหนังสือภายใน

หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอกเปนหนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ ความหมายของหนังสือบันทึก

หนังสือบันทึก คือ หนังสือที่ผูใตบังคับบัญชาเสนอตอผูบังคับบัญชา หรือบังคับบัญชาสั่งการผูใตบังคับบัญชาหรือขอความที่เจาหนาที่ หรือหนวยงานระดับต่ํากวากรมติดตอกันในการปฏิบัติราชการ (จะจัดอยูในหนังสือราชการชนิดที่ 6) จะใชกระดาษบันทึกขอความ หรือไมก็ได

Page 11: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 11 ~ ความหมายของหนังสือประทับตรา

หนังสือประทับตรา คือ หนังสือติดตอราชการที่ใชประทับตราแทนการลงช่ือของหัวหนาสวนราชการระดับ กรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกองหรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไป หนังสือบันทึก มี 3 ประเภท

1. บันทึกเสนอผูบังคับบัญชา 2. บันทึกสั่งการผูใตบังคับบัญชา 3. บันทึกติดตอราชการระหวางเจาหนาที ่หรือระหวางหนวยงานที่ต่ํากวากรม

การรางหนังสือราชการ

การราง คือการเรียบเรียงขอความขั้นตนตามเร่ืองที่เราจะแจงใหผูรับทราบตรงตามจุดประสงคที่เราตองการ กอนที่จะจัดทําเปนตนฉบับ

หลักการราง จะตองเขาใจแจมแจง แยกประเด็น ความเปนเหต ุเปนผล และความมุงหมายที่จะมีหนังสือไป โดยจะตองตั้งเปนหัวขอๆ ไว เพ่ือมิใหหลงประเด็น และจะไดครบทุกประเด็น เชน อะไร เม่ือไหร ที่ไหน ใครทําไม อยางไร จากน้ัน ก็มาเรียบเรียงความสําคัญโดยใหเร่ิมใจความที่เปนเหตุผลกอน และตามดวยจุดประสงคที่มีหนังสือไป และสรุป

การเลือกใชภาษา จะตองใชอยางถูกตอง อานเขาใจงาย สั้นมีความหมายชัดเจน การสะกดการันตอักขรวิธ ีตัวสะกด วรรคตอน ภาษาสุภาพ ใชใหเหมาะสมกับฐานะของผูรับและที่สําคัญจะตองระลึกถึงผูรับวาเขาใจถูกตองตรงจุดประสงค หรือความประสงคของเราหรือไม

การรางหนังสือโตตอบ ผูรางจะตองรางตามรูปแบบที่กําหนด และจะตองทราบวาเราจะมีหนังสือถึงใครบางหรือจะทําสําเนาใหใครทราบบาง

การอางถึง เทาความ จะตองดูดวยวาผูรับหนังสือทราบมากอนหรือไม หากทราบมาแลวก็สามารถเทาความสั้นๆ แนวทางการรางหนังสือติดตอราชการใหดี

1. รางใหถูกตอง 2. รางใหชัดเจน

Page 12: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 12 ~

3. รางใหรัดกุม 4. รางใหกะทัดรัด 5. รางใหบรรลุวัตถุประสงค

เทคนิคการเขียนหนังสือติดตอราชการใหดี

ในการเขียนหนังสือติดตอราชการน้ัน เพียงรูลักษณะของหนังสือติดตอราชการ และรูวิธีเขียนขอความในหนังสือติดตอราชการ ก็พอจะเขียนหนังสือติดตอราชการเปน คือเขียนใหเปนแบบหนังสือติดตอราชการได พออานเขาใจและพอสื่อความหมายได แตยังไมเพียงพอที่จะเขียนหนังสือติดตอราชการใหดีได เพราะหนังสือติดตอราชการที่ดีน้ันนอกจากตองเขียนตามแบบและเขียนใหอานเขาใจและสื่อความหมายไดแลว ยังจะตองเขียนใหถูกตองในเน้ือหา ถูกหลักภาษา ถูกความนิยม มีความชัดเจน รัดกุม กะทัดรัด อีกทั้งใหหวังผลไดตามจุดประสงคของการมีหนังสือไปและใหเปนผลดีดวย เทคนิคการเขียนหนังสือติดตอราชการใหดี

ดังน้ัน การศึกษาเร่ืองการเขียนหนังสือติดตอราชการ นอกจากจะศึกษาใหรูลักษณะของหนังสือติดตอราชการอันเปนความรูพ้ืนฐานในการเขียนหนังสือติดตอราชการแลว ยังจะตองศึกษาใหรูหลักในการเขียนหนังสือติดตอราชการใหดี อันเปนความรูที่สูงขึ้นไปอีกระดับหน่ึงดวย ทั้งน้ีเพ่ือใหสามารถเขียนหนังสือติดตอราชการใหดียิ่งขึ้น หลักท่ัวไปท่ีนิยมยึดถือในการเขียนหนังสือติดตอราชการ มีดังน้ี

1. เขียนใหถูกตอง โดยเขียนใหถูกแบบ ถูกเน้ือหา ถูกหลักภาษาและถูกความนิยม 2. เขียนใหชัดเจน โดยชัดเจนในเน้ือความ ชัดเจนในวัตถุประสงคและกระจางในวรรค

ตอน 3. เขียนใหรัดกุม โดยเขียนมีความหมายแนนอน ดิ้นไมได ไมมีชองโหวใหโตแยง 4. เขียนใหกะทัดรัด โดยเขียนใหสั้น ไมใชขอความเยิ่นเยอยืดยาด หรือใชถอยคํา

ฟุมเฟอยโดยไมจําเปน 5. เขียนใหบรรลุจุดประสงคและผลด ีโดยเขียนใหผูรับหนังสือเขาใจวา ผูมีหนังสือไป

ตองการอะไร จะใหผูรับปฏิบัติอยางไร และโนมนาวจูงใจใหผูรับหนังสือปฏิบัติตามน้ัน โดยเปนผลดีวิธีการเขียนหนังสือติดตอราชการใหถูกตอง ชัดเจน รัดกุม กะทัดรัด บรรลุจุดประสงคและเปนผลด ี

Page 13: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 13 ~ หลักภาษาไทยท่ีควรระวังในการเขียนหนังสือราชการมี 2 เรื่อง คือ

ก. รูปประโยค ข. ความสัมพันธของขอความ

ก.รูปประโยค

ประโยค ประกอบดวยคําตางๆ ไดแก คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ (คุณศัพทและกริยาวิเศษณ) คําบุพบท คําสันธาน คําอุทาน ประโยค แตละประโยคจะประกอบดวยสวนตางๆ คือ

(1) สวนผูกระทํา เรียกวา “ประธาน” (2) สวนการแสดง เรียกวา “กริยา” (3) สวนผูถูกกระทํา เรียกวา “กรรม” (4) สวนขยาย เรียกวา “วิเศษณ” แบงเปน ๒ จําพวก คือ

(ก) ขยายประธานหรือขยายกรรม เรียกวา “คุณศัพท” (ข) ขยายกริยา เรียกวา “กริยาวิเศษณ”

เทคนิคในการเขียนหนังสือยอเรื่อง 1. การอานเร่ืองทั้งเร่ืองอยางละเอียดเขาใจแจมแจง

ก. ตั้งใจอานโดยมีสมาธิ ไมใชอานอยางใจลอย ข. อานใหจบเร่ือง ไมใชอานไปยอไปเปนตอน ๆ ค. อานอยางละเอียด ไมใชอานเพียงผานๆ คราวๆ ง. ทําความเขาใจในขอความ และถอยคําที่สําคัญทุกคํา ทุกตอน จ. ทําความเขาใจในเน้ือความทั้งหมดของเร่ือง

2. การจับใจความสําคัญของเร่ือง คือการจับใหไดวาเน้ือหาสาระของเร่ืองน้ันมีอยางไร อะไรคือใจความอะไรคือรายละเอียดประกอบพอสรุปไดดังน้ี

ใจความ คือเน้ือหาสาระของเร่ือง ซ่ึงเม่ือเขียนลงไปก็จะใหไดความสมบูรณ ถาไมเขียนลงจะขาดสาระสําคัญไป รายละเอียดประกอบ หรือพลความ คือขอความตกแตง ซ่ึงตัดออกก็ไมเสียความ เขียนเพ่ิมเขาไปก็ไมไดประโยชนมากนัก 3. การสรุปยอเร่ือง คือการนําเอาเฉพาะใจความมาเขียนใหสั้น กะทัดรัด เขาใจงาย การทําบันทึกยอ

Page 14: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 14 ~

แนวขอสอบ หลักการเขียนหนังสือราชการ 1.หนังสือราชการ เปนเอกสารของทางราชการที่ใชติดตอกันระหวางหนวยงานใด ก. ระหวางหนวยราชการเดียวกัน ข. ระหวางตางหนวยราชการ ค. หนวยงานราชการกับหนวยงานภายนอก ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

หนังสือราชการ เปนเอกสารของทางราชการที่ใชติดตอกันระหวางหนวยราชการเดียวกัน ตางหนวยราชการ หรือกับหนวยงานภายนอก โดยมีเปาหมายที่แตกตางกันไป เชน เปนคําขอ คําช้ีแจง รายงาน คําเสนอ คําสั่ง ฯลฯ แลวแตกรณ ี 2.ขั้นตอนแรกของการเขยีนหนังสือราชการคือขั้นตอนใด ก. ขั้นศึกษาขอมูล ข. ขั้นรวบรวมความคิด ค. ขั้นรวบรวมประเด็นและจัดลําดับเน้ือหา ง. ขั้นลงมือเขียน ตอบ ก. ข้ันศึกษาขอมูล ข้ันตอนการเขียนหนังสือราชการ ประกอบดวย 1. ขั้นศึกษาขอมูล 2. ขั้นรวบรวมความคิด 3. ขั้นรวบรวมประเด็นและจัดลําดับเน้ือหา 4. ขั้นลงมือเขียน 5. ขั้นตรวจสอบและปรับปรุง 3.การเขียนหนังสือราชการ ควรยึดหลักการใด ก. หลักความถูกตอง ข. หลักความชัดเจน ค. หลักความเปนระเบียบสวยงาม ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

Page 15: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 15 ~

การเขียนหนังสือราชการ ควรยึดหลักความถูกตอง ความชัดเจนและความเปนระเบียบสวยงาม 4.การเขียนใหถูกตองเกีย่วกับสวนประกอบเปนการเขียนหนังสือราชการ ที่ยึดหลักความถูกตองตามรูปแบบใด ก. ถูกรูปแบบ ข. ถูกช่ือเร่ือง ค. ถูกเน้ือหา ง. ถูกภาษาราชการ ตอบ ก. ถูกรูปแบบ

การเขียนหนังสือราชการใหถูกรูปแบบ หมายถึง การเขียนใหถูกตองเกี่ยวกับสวนประกอบ หรือโครงสรางตามรูปแบบของหนังสือราชการ ซ่ึงจะมีรูปแบบและขอกําหนดเฉพาะของแตละประเภท รวมแลวมี 6 ประเภทดวยกัน คือ หนังสือภายนอก หนังสือภายใน หนังสือประทับตรา หนังสือสั่งการ หนังสือประชาสัมพันธ และหนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้นหรือรรับไวเปนหลักฐานในราชการ 5.ความชัดเจนของหนังสือราชการน้ันตองยึดหลักความชัดเจนอยางไร ก. เน้ือหาชัดเจน ข. เน้ือหาชัดเจน, จุดประสงคชัดเจน ค. เน้ือหาชัดเจน, จุดประสงคชัดเจน, ขอมูลชัดเจน ง. เน้ือหาชัดเจน, จุดประสงคชัดเจน, ขอมูลชัดเจน, เร่ืองชัดเจน ตอบ ค. เน้ือหาชัดเจน, จุดประสงคชัดเจน, ขอมูลชัดเจน ความชัดเจนในการทําหนังสือ มี 3 ประการคือ 1. จุดประสงคชัดเจน 2. เน้ือหาชัดเจน 3. ขอมูลชัดเจน 6.สําหรับหนังสือที่มีถึงผูรับจํานวนมาก โดยมีขอความอยางเดียวกัน ซ่ึงเรียกวา "หนังสือเวียน" ใหเพ่ิมรหัสตัวอักษร คือตัวใด ก. ว ข. หว ค. ทว ง. วฉ ตอบ ก. ว

Page 16: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 16 ~

สําหรับหนังสือท่ีมีถึงผูรับจํานวนมาก โดยมีขอความอยางเดียวกัน ซ่ึงเรียกวา "หนังสือเวียน" ใหเพ่ิมรหัสตัวพยัญชนะ "ว" หนาเลขทะเบียนหนังสือ ซ่ึงกําหนดเปนเลขที่หนังสือเวียนโดยเฉพาะ เร่ิมตั้งแตเลข 1 เรียงเปนลําดับไปจนสิ้นปปฎิทิน หรือใชเลขที่ของหนังสือทั่วไปตามแบบหนังสือภายนอกอยางหน่ึงอยางใดก็ได 7.ขอใดเปนชนิดของหนังสือราชการ ก. หนังสอืภายนอก ข. หนังสือประทับตรา ค. หนังสือประชาสัมพันธ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

ชนิดของหนังสือราชการ มี 6 ชนิด คือ 1) หนังสือภายนอก 2) หนังสือภายใน 3) หนังสือประทับตรา 4) หนังสือสั่งการ 5) หนังสือประชาสัมพันธ และ 6) หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้นหรือรรับไวเปนหลักฐานในราชการ 8.หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธี โดยใชกระดาษตราครุฑ เปนหนังสือติดตอระหวาสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใด ซ่ึงมิใชสวนราชการหรือที่มีถึงบุคคลภายนอก เรียกวาหนังสือชนิดใด ก. หนังสือภายนอก ข. หนังสือภายใน ค. หนังสือประทับตรา ง. หนังสือสั่งการ ตอบ ก. หนังสือภายนอก

หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธี โดยใชกระดาษตราครุฑ เปนหนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซ่ึงมิใช สวนราชการหรือที่มีถึงบุคคลภายนอก

9.ขอใดมิใชหนังสือสั่งการ ก. คําสั่ง ข. ระเบียบ ค. กฎ ง. ขอบังคับ ตอบ ค. กฎ หนังสือส่ังการ มี 3 ชนิด ไดแก คําสั่ง ระเบียบ และขอบังคับ

Page 17: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 17 ~ 10.บรรดาขอความที่ผูมีอํานาจหนาที่ไดวางไวโดยอาศัยอํานาจของกฎหมายหรือไมก็ได เพ่ือถือเปนหลักปฏิบัติงานเปนการประจํา เรียกวา ก. คําสั่ง ข. ระเบียบ ค. กฎ ง. ขอบังคับ ตอบ ข. ระเบียบ

ระเบียบ คือ บรรดาขอความที่ผูมีอํานาจหนาที่ไดวางไวโดยอาศัยอํานาจของกฎหมายหรือไมก็ได เพ่ือถือเปนหลักปฏิบัติงานเปนการประจํา ใหใชกระดาษตราครุฑ 11.บรรดาขอความที่ผูมีอํานาจหนาที่กําหนดใหใช โดยอาศัยอํานาจของกฎหมายที่บัญญัติใหกระทําได เรียกวา ก. คําสั่ง ข. ระเบียบ ค. กฎ ง. ขอบังคับ ตอบ ง. ขอบังคับ

ขอบังคับ คือ บรรดาขอความที่ผูมีอํานาจหนาที่กําหนดใหใช โดยอาศัยอํานาจของกฎหมายที่บัญญัติใหกระทําได ใหใชกระดาษตราครุฑ 12.ขอใดไมใชหนังสือประชาสัมพันธ ก. ประชาสัมพันธ ข. ประกาศ ค. แถลงการณ ง. ขาว ตอบ ก. ประชาสัมพันธ หนังสือประชาสัมพันธมี 3 ชนิด ไดแก ประกาศ แถลงการณ และขาว 13.บรรดาขอความที่ทางราชการแถลงเพ่ือทําความเขาใจในกิจการของทางราชการ หรือเหตุการณหรือกรณีใดๆ ใหทราบชัดเจนโดยทั่วกนั เรียกวา ก. ประชาสัมพันธ ข. ประกาศ ค. แถลงการณ ง. ขาว ตอบ ค. แถลงการณ

แถลงการณ คือ บรรดาขอความที่ทางราชการแถลงเพ่ือทําความ เขาใจในกิจการของทางราชการ หรือเหตุการณ หรือกรณีใดๆ ใหทราบชัดเจนโดยทั่วกันใหใชกระดาษตราครุฑ

Page 18: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 18 ~

การเขียนแผนและโครงการ Cleland และ King กลาววา การวางแผนเปนกระบวนการที่ซับซอน ดังน้ันกอนอื่นควรรูธรรมชาติทั่วๆ ไปของการวางแผนเสียกอน ซ่ึงทั้ง 2 ทานสรุปเปนหลักสําคัญ 10 ประการ ดังน้ี 1. กระบวนการวางแผน (Planning Process) ควรเปนงานของผูชํานาญการ (Professional Planner) โดยเฉพาะ ทั้งน้ียกเวนเฉพาะกรณีที่เปนการวางแผนองคการ (Organization Planning) เทาน้ัน ที่ควรเปนงานของนักวางแผนองคการ - ผูเขียนโดยตรง 2. งานวางแผนควรเปนหนาท่ีของผู ท่ีจะตองนําแผนไปดําเนินงานมากกวาคนอื่นๆ 3. ข้ันตอนการวางกลยุทธของแผน (Strategic Planning) ควรเปนงานระดับกลุม (Group Activity) เพราะตองใชผูเช่ียวชาญหลายดาน หรือตองใชความรวมมือกันของหนวยยอยๆ ขององคการหลายหนวย (Sub Unit of Organization) 4. องคการเพื่อการวางแผน (Planning Organization) ตองมีโครงสรางเหมาะสมกับแผนงานที่จะวาง กลาวคือ ตองเหมาะสมทั้งบรรยากาศ (Climate) และกลไก (Mechanism) และตองเปดโอกาสใหสมาชิกไดมีสวนรวมในการกําหนดอนาคตขององคการอยางเต็มที่ดวย 5. การวางแผนกลยุทธมิใชเพียงแตเปนการคาดคะเนแนวโนมเทาน้ัน แตตองรวมถึงการคัดเลือกภารกิจ (Selection of Missions) คัดเลือกวัตถุประสงค (Objectives) และการคัดเลือกแนวทางกลยุทธ (Strategic Alternatives) ดวย 6. ตองจูงใจ (Motivate) ใหผูจัดการวางแผน (Manager) เห็นความสําคัญของการกําหนดกลยุทธในการวางแผนใหได โดยอาจใชกลไกของระบบอยางเปนทางการ (Formalized System) และกลไกตามหลักการขององคการ (Organizational Approach) เพ่ือใหเปนสวนชวยใหการวางแผนประสบผลสําเร็จไดดียิ่งขึ้น 7. ความถูกตองของกระบวนการวางแผน ตองตั้งอยูบนความถูกตองเพียงพอ (Relevant) ของฐานขอมูล (Data Base) ทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ซ่ึงเปนตัวกําหนดผลในการคาดคะเนสิ่งแวดลอมและการประเมินทางเลือกกลยุทธได 8. การประเมินแนวโนมส่ิงแวดลอมในอนาคต (Future Environment Trends) สภาพการแขงขัน (Competitive Threats) และความเขมแข็งในองคการ (Internal

Page 19: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 19 ~ Organizational Strengths) วามีความเขมแข็งหรือออนแอเพียงใด นับวามีความสําคัญตอการกําหนดกลยุทธของแผนมาก 9. การไดความคิดใหมๆ อยางหลากหลายในองคการจะชวยในการพัฒนาผลิตผล (Products) และเปาหมายการใหบริการไดดียิ่งขึ้น 10. ความรับผิดชอบของผูบริหารระดับสูงสุด (Chief Executive) ในการพัฒนาองคการ คือ การพัฒนาวัฒนธรรมกลยุทธ (Strategic Culture) ในองคการ การคัดเลือกทางเลือกกลยุทธสุดทาย (Final Strategic Alternatives) และการกําหนดแผนงานหลัก (Master Plan) เพ่ือดําเนินการตามทางเลือกที่กําหนด ลักษณะท่ัวๆ ไปของแผน ดร.สมพร แสงชัย ไดจําแนกลักษณะทั่วๆ ไปของแผนออกเปน 6 ลักษณะ คือ 1. ความเปนอนาคต (Future Oriented) แผนทุกแผนเปนเร่ืองเกี่ยวกับอนาคต เพราะไมอาจวางแผนเพ่ืออดีตหรือเพ่ือปจจุบันได แตอนาคตของแผนอาจเปนอนาคตอันใกลหรือไกลก็ไดไมจํากัด 2. มีการปฏิบัติ (Action Oriented) แผนมีไวเพ่ือใหมีการปฏิบัติตามมา ดังน้ันขอมูลแผนจึงเปนแนวทางเพ่ือใหมีการปฏิบัติตามทั้งสิ้น 3. เกี่ยวของกับบุคคลหรือองคการ (Organizational Oriented) การปฏิบัติตามแผนตองใชคนจํานวนมากรวมมือกันในรูปองคการ ดังน้ันในเน้ือหาของแผนจึงตองกลาวถึงการจัดองคการเพ่ือบริหารแผนดวย 4. มีการแกปญหาหรือขอขัดแยง (Problem Solving Oriented) แนวความคิดที่ทําใหเกิดแผนก็คือ ความตองการเคร่ืองมือในการแกปญหา ดังน้ันหนาที่ของแผนคือ ตองใชแกปญหาหรือความขัดแยงอันเปนแรงผลักดันใหเกิดแผนน้ันๆ ได โดยทั่วไปแลวแผนจะเปนเคร่ืองมือตัวสุดทายที่จะถูกนํามาใชในการแกปญหา กลาวคือ ถาไมมีความจําเปนจริงๆ แลวก็จะไมมีการวางแผน เพราะในการวางแผนน้ันตองมีการลงทุน ตองเสียเวลา คาใชจายในการหาขอมูลเปนจํานวนมาก ซ่ึงขอมูลในการวางแผนที่สําคัญๆ ไดแก ขอมูลทางดานการเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา ธรรมชาติ ศาสนา และความเช่ือ ดังน้ันถาแผนเกิดขึ้นเม่ือใด น่ันก็แสดงวามีปญหาหรือขอขัดแยงที่รายแรงเกิดขึ้นแลว 5. มีมาตรฐาน (Standardized Oriented) การแกปญหาของแผนตองเปนไปตามมาตรฐานที่วางไวในแผน ฉะน้ันทุกแผนจึงตองกําหนดมาตรฐานของความตองการในการแกปญหาใหชัดเจน

Page 20: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 20 ~ 6. ถือหลักประหยัด สมรรถภาพ และตรงเวลา (Economical/Efficiency and Time Oriented) ทั้ง 3 ประการน้ี ถือเปนมาตรฐานอีกสวนหน่ึงของแผนดวย สรุปก็คือ องคประกอบเบื้องตนของแผนมีอยู 3 ประการ คือ 1. เปนเร่ืองของอนาคต 2. เกี่ยวของกับการกระทําหรือการปฏิบัติอยางใดอยางหน่ึง 3. เกี่ยวของกับการจัดองคการและจุดบุคคลเพ่ือปฏิบัติงานในอนาคต ลักษณะของแผนท่ีดี นอกจากลักษณะทั่วไปของแผนดังที่กลาวมาแลวน้ัน ยังมีผูกําหนดลักษณะของแผนที่ดีเพ่ิมเติมอีก ไดแก 1. ตองมีวัตถุประสงคท่ีชัดแจง (Clear Objective) วัตถุประสงคของแผนเปนตัวกําหนดมาตรฐาน (Standard) และงาน (Job) ของแผน ดังน้ันจึงตองมีความชัดเจนในความหมายและความตรงประเด็นดวย 2. ยืดหยุนได (Flexible) แผนตองสามารถดัดแปลงแกไขใหเหมาะสมกับกาลเวลา แรงบีบค้ันที่เปล่ียนแปลงไดเสมอ ซ่ึงลักษณะดังกลาวน้ีทําใหแผนตางจากโครงการ เพราะโครงการจะไมยืดหยุนเลย 3. ปฏิบัติไดจริง (Applicable) แผนตองเหมาะสมกับความตองการ สอดคลองกับสถานการณที่เผชิญอยู และตองหลีกเล่ียงปญหาใหเหลือนอยที่สุด เพ่ือใหการนําไปปฏิบัติมีความราบร่ืนมากที่สุด 4. มีความตอเน่ือง (Continuous) และปรับปรุงได (Dynamics) แผนอาจถูกจํากัดดวยขอจํากัดมากมาย ดังน้ันความตอเน่ืองของแผนจะชวยใหความสามารถในการแกปญหา หรือประโยชนของแผนสมบูรณขึ้นมาได สรุปก็คือ แผนที่ดีจะตองมีลักษณะดังน้ี 1. สามารถปฏิบัติตามได 2. มีวัตถุประสงคแนนอน 3. มีเน้ือหาสาระที่เปนจริง ขอสังเกต แผนอาจยืดหยุนได แผนเปนแนวทางในการบริหารงานในอนาคต, แผนเปนเคร่ืองมือสําหรับนักวางแผน, แผนเปนเร่ืองของการคาดคะเน ฯลฯ น่ีคือความจริงเกี่ยวกับแผนทั้งสิ้น

Page 21: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 21 ~

การกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทขนสง จํากัด การกํากับดูแลกิจการท่ีดี

บริษัท ขนสง จํากัด ตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดี ในการที่จะชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เพ่ือใหเปนองคกรที่สามารถดําเนินธุรกิจไดอยาง มีประสิทธิภาพและตอบสนองความพึงพอใจของลูกคาภายใตความโปรงใส ตรวจสอบได และมีความนาเช่ือถือ โดยคํานึงถึงการมีสวนรวมของผูมีสวนไดเสีย อยูบนพ้ืนฐานของ คุณธรรม เพ่ือสรางมูลคาเพ่ิมใหแกองคกรในระยะยาว รวมถึงความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม นโยบายการกํากับดูแลกิจการท่ีดี

คณะกรรมการบริษัท ขนสง จํากัด มีเจตนารมณที่จะสงเสริมใหบริษัท ขนสง จํากัด มีการบริหารจัดการที่ดีและยึดม่ันตามหลักการและแนวทางการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจ ซ่ึงกําหนดโดยกระทรวงการคลัง จึงไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีเพ่ือใหกรรมการ ผูบริหาร และผูปฏิบัติงานยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติอยางตอเน่ือง และในปงบประมาณ 2553 ไดประกาศนโยบายใหมหลังจากไดมีการทบทวนและปรับปรุงใหสอดคลองกับหลักการ และแนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดีในรัฐวิสาหกิจ ป 2552 โดยมีสาระสําคัญคือ กรรมการ ผูบริหาร และผูปฏิบัติงาน ตระหนักถึงความสําคัญและมุงม่ันในการดําเนินงานโดยยึดหลักสําคัญในการกํากับดูแลที่ดี 7 ประการ คือ ความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติหนาที่ ความสํานึกในหนาที่ดวยขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ การปฏิบัติตอผูมีสวนไดสวนเสีย โดยสุจริตและจะตองพิจารณาใหเกิดความเทาเทียมกัน ความโปรงใสในการดําเนินงานที่สามารถตรวจสอบไดและมีการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใสแกผูที่เกี่ยวของทุกฝาย การสรางมูลคาเพ่ิม แกกิจการ การสงเสริมพัฒนาการกํากับดูแลและจรรยาบรรณที่ดีใน การประกอบธุรกิจ และการมีสวนรวมของประชาชน โดยตองคํานึงถึงความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอมและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาต ิ โครงสรางของคณะกรรมการ

จํานวนกรรมการของบริษัท ขนสง จํากัด กําหนดใหมีกรรมการไมนอยกวา 5 คน แตไมเกิน11คน ตามหนังสือบริคณหสนธิ และขอบังคับของบริษัท ขนสง จํากัด (ฉบับแกไข

Page 22: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 22 ~ เพ่ิมเติม พ.ศ. 2527, 2548 และ2550) ขอที่ 31,32,36 และ 37แตงตั้งโดยผูถือหุน และใหผูจัดการใหญเปนกรรมการโดยตําแหนง ปจจุบันคณะกรรมการบริษัทฯ มีจํานวน 10 คน (ขอมูลณ เดือนกันยายน 2553) ประกอบไปดวยผูที่มีความรู ความสามารถ ทักษะ และประสบการณการทํางาน จากหลากหลายวิชาชีพซ่ึงเปนประโยชนตอการดําเนินกิจการ ของบริษัท ขนสง จํากัด เชน ดานบริหาร / รัฐศาสตร ดานบัญชี / เศรษฐศาสตรและการเงิน ดานกฏหมาย ดานคมนาคมทางบก/โลจิสติกส ดานวิศวกรรมศาสตร/การสื่อสารและเทคโนโลยี และดานสังคม/สิ่งแวดลอม ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัท ขนสง จํากัด ตระหนักถึงความรับผิดชอบในฐานะกรรมการเทาเทียมกันและเขาใจเปนอยางดีถึงหนาที่ความรับผิดชอบของกรรมการและลักษณะการดําเนินธุรกิจ ของบริษัท ปฏิบัติหนาที่ดวยความซ่ือสัตยและรับผิดชอบตอการกระทําของตนในการวางนโยบายและกําหนดวิสัยทัศน พิจารณาทบทวนและใหความเห็นชอบ แผนวิสาหกิจ กลยุทธแผนงาน / โครงการงบประมาณประจําป รับผิดชอบตอผลประกอบการของบริษัท กํากับดูแลการดําเนินงานฝายบริหารดําเนินงานใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพ่ือบรรลุเปาหมายของบริษัท และสรางประโยชนสูงสุดในระยะยาวใหความสําคัญตอการยึดหลักในการปฏิบัติหนาที่ตามกรอบการกํากับดูแลที่ดี รวมทั้งประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณ ของบริษัท เพ่ือใหการบริหาร และการกํากับดูแลกิจการเปนไปดวยความเรียบรอย นอกจากน้ีไดแตงตั้งคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการชุดตางๆ รับผิดชอบในการกํากับดูแลและกล่ันกรองงานที่มีความสําคัญหรืองานที่ตองการความเช่ียวชาญเฉพาะดาน เพ่ือเปนการเพ่ิมประสิทธิภาพในการกํากับดูแล การปฏิบัติงานที่สําคัญของคณะกรรมการ

ความเปนอิสระและการถวงดุลของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัท ขนสง จํากัด ประกอบดวยกรรมการที่เปนอิสระจากภายนอกจํานวน 4 คน จากจํานวน 10 คนที่ไมไดมีตําแหนงเปนผูบริหารของรัฐวิสาหกิจ ไมเปนกรรมการบริหารหรือกรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันรัฐวิสาหกิจและเปนอิสระจากผูถือหุนรายใหญ ผูบริหารและผูเกี่ยวของ โดยสามารถทําหนาที่คุมครองผลประโยชนของรัฐหรือผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมกันและสามารถชวยดูแลไมใหเกิดรายการที่มีความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางรัฐวิสาหกิจกับบุคคลที่เกี่ยวของกับตน

Page 23: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 23 ~

แนวขอสอบ การบริหารงานทั่วไป 1. การโอนเอกสารแบบ Perpetual หมายถึง

ก. การยายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นไปเก็บที่ศูนยเอกสารในทันที ข. การยายเอกสารระหวางปฏิบัติไปเก็บที่ศูนยเอกสารในทันท ีค. การโอนเอกสารระหวางปฏิบัติไปเก็บในแผนกเก็บเอกสารตามระยะเวลาที่กําหนด ง. การยายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นไปเก็บที่ศูนยเอกสารตามระยะเวลาที่กําหนด

ตอบ ก. การยายเอกสารท่ีปฏิบัติเสร็จส้ินไปเก็บท่ีศูนยเอกสารในทันที การโอนเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นแลวจากที่เก็บเอกสารที่อยูในระหวางปฏิบัติ (Active File) ไปเก็บไวในที่เก็บเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จแลว (Inactive File) ซ่ึงอาจเปนศูนยเก็บเอกสาร มีวิธีโอน 2 วิธีคือ 1. วิธีโอนเปนงวด ๆ (Periodic) หมายถึง การโอนยายเอกสารที่ปฏิบัติเสร็จสิ้นแลวจาก Active File ไปเก็บใน Inactive File ณ วันที่ที่กําหนดไว 2. วิธีโอนติดตอ (Perpetual) หมายถึง การโอนยายเอกสารเฉพาะเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง หรือโครงการใดโครงการหน่ึงจาก Active File ไปไวใน Inactive File ในทันทีที่เร่ืองน้ัน หรือโครงการน้ันไดเสร็จสิ้นลง 2. ขอใดเปนแนวทางการปฏิบัติงานแบบวิทยาศาสตร

ก. ศึกษาการจัดระบบและวิธีปฏิบัต ิ ข. ใชเคร่ืองมืออัตโนมัต ิค. จัดแผนผังสํานักงานตามหลักการเคล่ือนไหว ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ แนวทางการปฏิบัติงานสํานักงานแบบวิทยาศาสตร มีดังน้ี 1. ผูบริหารจะตองวางแผน

จัดองคการ ควบคุมงาน และนําพนักงานปฏิบัติงานใหสําเร็จ 2. จัดแผนผังสํานักงานตามหลักวิทยาศาสตรเพ่ือขจัดการเคล่ือนไหวที่ไมจําเปน 3. ใชเคร่ืองจักรเคร่ืองมืออัตโนมัติ 4. หาวิธีทํางานใหงายขึ้น 5. ศึกษาหาวิธีจัดระบบและวิธีปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 6. ปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสารใหสอดคลอง

3. ขอใดไมใชองคประกอบที่ควรกําหนดไวในตารางการควบคุมรายงาน

ก. จํานวนฉบับที่จัดทํา ข. ระยะเวลาในการเก็บรายงาน ค. ความถี่ของการจัดทํา ง. จํานวนหนาที่จัดทํา ตอบ ง. จํานวนหนาท่ีจัดทํา

Page 24: 1 · ~ 3 ~ ความรู ทั่วไปเกี่ยวกับ บขส. ตํานาน บขส. บริษัท ขนส ง จํากัด ก อตั้งเมื่อวันที่

~ 24 ~ องคประกอบที่ควรกําหนดไวในตารางการควบคุมรายงาน ไดแก ช่ือและคําอธิบายโดยยอ, จํานวน ฉบับที่จัดทํา, จัดทําที่ไหนอยางไร, แจกจายใหใครบาง, เพ่ืออะไร, ระยะเวลาในการเก็บรายงาน, ความถี่ของการจัดทํา และตนทุน 4. โครงรางของแบบฟอรมตอนใด พิมพขอความนําที่บอกใหทราบวาแบบฟอรมน้ันเกี่ยวกับใคร

ก. ช่ือแบบฟอรม ข. การเร่ิมเร่ือง ค. เน้ือเร่ือง ง. คําสั่งหรือคําแนะนํา

ตอบ ข. การเริ่มเรื่อง การเร่ิมเร่ือง (Introduction) คือ ขอความนําที่บอกใหทราบวาแบบฟอรมน้ัน ๆ เกี่ยวกับ

ใคร อะไร และเม่ือไร

5. ขอใดไมใชแนวทางในการตัดสินใจเลือกวิธีอัดสําเนา ก. ปริมาณสูงสุดของสําเนาที่ตองการ ข. ลักษณะและประเภทตัวแบบตนฉบับที่ใชทําสําเนา ค. ตองการทําเอกสารเปนสีอื่น ๆ นอกจากสีขาวดํา ง. ไมมีขอใดถูก

ตอบ ง. ไมมีขอใดถูก ตัวเลือกขอ ก – ค ถือเปนแนวทางในการตัดสินใจเลือกวิธีอัดสําเนาเอกสาร นอกจากน้ียังมีแนวทาง อื่น ๆ อีก คือ คุณภาพของสําเนาที่ตองการ, งบประมาณคาใชจายเปนคาเคร่ืองและคาใชจายในการผลิตสําเนาใหไดคุณภาพดีมากนอยตามตองการ 6. ความหมายของการจัดแผนผังสํานักงาน ขอใดกลาวผิด

ก. การจัดสภาพแวดลอมในการทํางานอยางเหมาะสม ข. การกําหนดตําแหนงที่ตั้งหนวยงานตาง ๆ ของพ้ืนที่ทั้งหมด ค. การจัดสายทางเดินของงานอยางมีประสิทธิภาพ ง. การวางแผนในการจัดระเบียบปจจัยตาง ๆ ไวลวงหนา

ตอบ ข. การกําหนดตําแหนงท่ีต้ังหนวยงานตาง ๆ ของพื้นท่ีท้ังหมด