คู่มือทุน jstp

29
โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีสําหรับเด็กและเยาวชน มิถุนายน 2553 คูมือผูรับทุน

Upload: xiah-song-min

Post on 02-Apr-2015

168 views

Category:

Documents


4 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู่มือทุน JSTP

โครงการพฒันาอจัฉรยิภาพทางวทิยาศาสตร และเทคโนโลยสีาํหรบัเดก็และเยาวชน

มถินุายน 2553

คูมอืผูรบัทนุ

Page 2: คู่มือทุน JSTP

คูมือผูรับทุน โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็กและเยาวชน 

สถานท่ีติดตอ โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็กและเยาวชน สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ 111 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย  ถนนพหลโยธิน  ตาํบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง  จังหวัดปทุมธานี  12120 

ติดตอโครงการ โทร 0-2564-7000 ตอ 1431, 1433, 1437  โทรสาร 0-2564-7004 อติพร  สุวรรณ  ตอ 1431  e-mail : [email protected] ปานกมล ศรสุวรรณ  ตอ 1433  e-mail : [email protected] ชญากญัจน แกวบรรจง  ตอ 1437  e-mail : [email protected] 

เว็บไซต  http://www.nstda.or.th/jstp

Page 3: คู่มือทุน JSTP

สารบัญ หนา 

บทนํา  1 

บทที่ 1 ปฏิทินกิจกรรม และขอปฎิบัติของผูไดรับทุนระยะยาว  5 

บทที่ 2 การดําเนินการโครงการ 1) การคัดเลือกผูมีความสามารถพิเศษและผูมีอัจฉริยภาพ  9 ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

2) การสงเสริมและสนบัสนุนผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  10 3) การประเมินผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีประจําป  11 4) การพิจารณาผูมีอัจฉริยภาพพนสถานภาพการรับทุนสนับสนุนจากโครงการฯ  12 

บทที่ 3 องคประกอบของการสนับสนนุ 1) ทุนการศกึษา  13 2) ทุนสนบัสนุนการวิจัยของโครงการ  15 3) การสนับสนนุดานการฝกอบรมระยะสัน้/ประชุมวิชาการในตางประเทศ  16 

บทที่ 4 การเขารวมโครงการ 1) ขั้นตอนการเขารวมโครงการของผูไดรับทุนระยะยาว  21 2) การจัดทําสัญญารับทุนการศกึษา  21 3) การจัดทําสัญญารับทุนสนบัสนนุการวิจัย  23 4) การส้ินสุดระยะเวลาในสญัญารับทุน  23 5) แนวทางการจดัทํารายงานพัฒนาการทางวชิาการของผูไดรับทุน  24 

ภาคผนวก ก. แบบรายงานความกาวหนาของการศึกษาและการสงเสริมพัฒนา ข. แบบขอเสนอโครงการวิจัย ค. แบบรายงานความกาวหนาโครงการวิจยั ง. แนวทางการจัดทํารายงานวิจัยฉบับสมบูรณ จ. แบบฟอรมขอรับทุนสนับสนุนการเขารวมกิจกรรมในตางประเทศ

Page 4: คู่มือทุน JSTP

บทนํา 

1. เหตุผลและความเปนมาของโครงการ เด็กและเยาวชนผูมีความสามารถพเิศษ เปนทรัพยากรบคุคลที่ประมาณคามิไดของประเทศชาติ 

หากไดรับการสงเสริมอยางเต็มที่และถกูวิธี  เมื่อเตบิโตเปนผูใหญจะสามารถสรางคุณประโยชนใหแก ประเทศชาติไดอยางอเนกอนนัต 

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ในฐานะทีเ่ปนหนวยงานที่มหีนาที่ โดยตรงในการนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาใชในการพัฒนาประเทศ รวมถึงการการสงเสริมการ พัฒนากําลังคนทางดานวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีทั้งในภาครัฐและเอกชน รวมกับสํานกังานกองทุน สนับสนุนงานวิจยั (สกว.) ไดดําเนนิโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาตั้งแตป 2540 โดยมีเปาหมายที่จะคนหาเด็กและเยาวชนทีม่ีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มาใหการสงเสริมและสนับสนุน ดวยวิธกีารและรูปแบบทีห่ลากหลายตามความถนัดและความสนใจของ แตละคน  เพื่อพัฒนาเดก็และเยาวชนเหลานีใ้หเพิ่มพนูศักยภาพทางวิทยาศาสตรอยางถูกตองและ ตอเนื่อง จนสามารถกาวเขาสูอาชีพนักวิทยาศาสตร/นักวิจัยที่มคีุณภาพของประเทศ 

2. หนวยงานรับผิดชอบโครงการ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) สํานักงานกองทุนสนบัสนนุการวิจัย (สกว.) 

3. วัตถุประสงคและเปาหมายโครงการ วัตถุประสงค 

1)  เพื่อปลูกฝงใหเด็กและเยาวชนสนใจทางวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี  และเขาใจถึงบทบาทของ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตอความเจรญิกาวหนาของประเทศชาติและมนุษยชาติ  ตลอดจนมี ความเขาใจและใฝรักวชิาชีพนักวิทยาศาสตร นักเทคโนโลยี และนักวจิัย 

2)  เพื่อเพิ่มจํานวนนักวิทยาศาสตร นักเทคโนโลยี และนักวิจัยที่มีคณุภาพเปนทีย่อมรับใน ระดับประเทศ และระดบันานาชาติ 

3)  เพื่อสรางกลไกและระบบในการเสาะหา คัดเลือก และบมเพาะ ผูมีความสามารถพเิศษและผูมี อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยใีหมีศกัยภาพสูงสุด

Page 5: คู่มือทุน JSTP

เปาหมาย แบงเปน 2 ระดับ 1) ระดับผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Gifted and Talented Children) ไดแก เด็กและเยาวชนไทยในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา  จํานวนปละประมาณ 100 คน ซึ่งเดก็ และเยาวชนกลุมนี้จะอยูในกระบวนการสงเสริมประสบการณและพัฒนาศกัยภาพเปนเวลา ประมาณ 1 ป โดยจะมีการสนบัสนุนและติดตามความกาวหนาเพื่อใหเขาสูอาชีพทางดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหมากที่สุด   ลักษณะของกิจกรรมสําหรบักลุมนีซ้ึ่งอยูในสถานศึกษา ตางๆ จะประกอบไปดวย คายวิทยาศาสตร โครงงานวทิยาศาสตร การใหคําแนะนําโดย นักวิทยาศาสตรพีเ่ลี้ยงและนักเทคโนโลยพีี่เลี้ยง (Mentor) 

2) ระดับผูมีแววอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี(Genius) คัดเลือกจากกลุมแรกปละ ประมาณ 10 คน  ไดรับการสนบัสนุนจากโครงการในระยะยาว ไดรับทุนการศึกษาและการวิจัย จนกวาจะสําเร็จการศกึษาระดบัปริญญาเอก และเขาสูอาชีพนักวิชาการและนักวจิัยดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  โดยมีนกัวิทยาศาสตรพี่เลีย้งและนักเทคโนโลยีพี่เลีย้ง  คอย ดูแลและใหคําปรึกษา 

4. ความคาดหวังของโครงการ 1) เปนกลไกทีจ่ะพัฒนาผูมีความสามารถพเิศษทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหเปนนกัวิชาการ นักวิจัยและนกัวิทยาศาสตรที่มีคณุภาพ และทําประโยชนตอประเทศชาติไดเต็มศักยภาพ 

2) ปลูกฝงเด็กและเยาวชนใหมใีจรกัวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้น 3) มีจํานวนนักวิจยัและนักวทิยาศาสตรที่มีความสามารถของประเทศเพิ่มขึ้น 4) มีผลงานวิจัยทางดานวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้นทกุป 

5. โครงสรางการดาํเนินการ ระดับนโยบาย ประกอบดวยคณะกรรมการโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับ 

เด็กและเยาวชน ซึ่งประกอบดวยผูทรงคณุวุฒิจาก  สกว.  สวทช.  มหาวิทยาลัยและสถาบนัตาง ๆ ที่ทํา หนาที่กําหนดนโยบาย แนวทางการดําเนินงาน ติดตามและประเมินความกาวหนาของโครงการ ฯ 

ระดับดําเนินการ  ประกอบดวย 1. สวทช. เปนศูนยประสานงาน  ซึ่งทําหนาที่ ดังตอไปนี้ 

1.1 เปนศูนยขอมูล ทะเบยีนประวัติ  สถิติ  ผลงานและพฒันาการของเด็กและเยาวชน รวมทั้งขอมูล/ผลงานของนักวิทยาศาสตรและนกัเทคโนโลยีพี่เลีย้งในโครงการ 

1.2 เปนศูนยประสานงาน  ติดตอระหวางเดก็และเยาวชนในโครงการ กบัหนวยงาน/ บุคคลที่ใหความรวมมือในการพัฒนาเด็กและเยาวชนเหลานี้

Page 6: คู่มือทุน JSTP

1.3 เปนหนวยงานประสานงานจดักิจกรรมตาง ๆ ของโครงการ ตลอดจนประสานงาน กับหนวยงาน/บุคลากรทีเ่กี่ยวของกบัโครงการ 

1.4 ทําหนาที่ธุรการ  และบริหารการเงินของโครงการ 2. สกว. และโครงการสงเสริมผูมคีวามสามารถพิเศษและสงเสริมอาชีพนกัวิจัย  ทําหนาที่ สนับสนุนเงนิทุนสนับสนนุโครงงานวทิยาศาสตร  โครงงานวิจัย  และติดตามผลการวิจัย 3. สถาบันการศึกษาและหนวยงานอื่น  รวมกิจกรรมพัฒนาและบมเพาะเด็กและเยาวชนของ โครงการ เชน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ  และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 

6. มาตรการ/แนวทางดําเนินการ 1) ประชาสัมพันธโครงการฯ เพื่อกระตุนเด็ก/เยาวชนทั่วไป เขาใจถึงความสําคัญทางวิทยาศาสตร/ เทคโนโลยีและมีความมุงมัน่ในการศึกษาทางดานนี้อยางจริงจัง 

2) สรางเครือขาย (ระหวางหนวยงาน สถาบันการศึกษา และมหาวิทยาลัยตาง ๆ ทั้งในและ ตางประเทศ องคกรของรฐั และเอกชนที่มหีนวยวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ที่สามารถนําความรูทาง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปประยกุตใชงาน) ใหเกดิความรวมมือในการพัฒนาโครงการฯ เพื่อให บรรลุเปาหมาย 

3) สรางเครือขายนักวทิยาศาสตรและนกัเทคโนโลยีพีเ่ลี้ยงสาขาตางๆ ซึ่งประกอบดวยนักวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี  แพทยนักวจิัย และวิศวกรวิจัย จากสถาบันตาง ๆ และ สวทช. เพื่อรวมกันทําหนาที่ ใหคําปรึกษา ดูแล และแนะนําการวิจยัอยางตอเนื่องแกเด็ก/เยาวชนที่ผานการคัดเลือกเขาสู โครงการ 

4) สรางเครือขายการติดตอส่ือสารระหวางโครงการ บุคลากรจากหนวยงานที่เกี่ยวของและเด็ก/ เยาวชนที่รวมโครงการทั้งในระยะ 1 ป และระยะยาว  โดยมีศูนยขอมูลกลางของโครงการ 

5) ประสานกับคร-ูอาจารยในโรงเรยีนและสถาบันการศกึษาที่เดก็/เยาวชนสังกัดอยู เพื่อใหเกิดความ รวมมือในการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเดก็และเยาวชน ทัง้นี้ โดย การเสริมความรูและ ใหคําแนะนําการวิจยัแกคร-ูอาจารย  ตลอดจนใหมีสวนรวมและแสดงความ คิดเห็นตอกจิกรรมของโครงการตามความเหมาะสม 

6) เผยแพรผลงานของเด็กและเยาวชน และการดําเนินการของโครงการฯในระดับตางๆ  เปนระดับกลุม เด็ก/เยาวชน  ระดับประเทศ  และระดับนานาชาติ 

7) ประสานงานกับหนวยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน ใหจดัตั้งอัตรากําลังในการบรรจเุด็ก/เยาวชนที่ผาน โครงการระยะยาว ที่มีความตองการบุคลากรในหนวยปฏิบัติงานวิจยัทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยเีพื่อการพัฒนาประเทศ 

8) สงเสริมโครงการวิจยัของเดก็/เยาวชนตลอดเวลาที่อยูในโครงการฯ และหลังจากประกอบอาชีพเปน นักวิจัยทางวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี  เชน  การสนับสนุนทนุวิจัยหลังจบปริญญาเอก การเผยแพรงานวิจยั

Page 7: คู่มือทุน JSTP

9) การดําเนนิงานและการจัดการในสวนของเด็ก/เยาวชน 9.1 กระตุนการเรียนรู การแสดงออกซึ่งความสามารถทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ตลอดจนการฝกทักษะทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของเด็กและเยาวชนทีเ่ขารวม โครงการ โดยมีนักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพี่เลี้ยงประจําตัว อยางตอเนื่องและเปน ระบบ 

9.2 จัดกจิกรรมเสริมสรางสงเสริมความรูและการอบรมทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 9.3 สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของเดก็/เยาวชน    เชน 

คัดเลือกไปฝกอบรมวิชาการ/เสนอผลงานในตางประเทศ 9.4 ติดตามและประเมินผล ความกาวหนาทางพัฒนาการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและ 

การทําวิจัยของเดก็/เยาวชนในโครงการ

Page 8: คู่มือทุน JSTP

บทท่ี 1 ปฏิทินกิจกรรม (รายป) 

การคัดเลือกผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี คณิตศาสตร และคอมพิวเตอร 

เดือน  กิจกรรม สิงหาคม  ประกาศรับสมัครผูเขารวมโครงการ กันยายน  - ตุลาคม  - พฤศจิกายน  - ธันวาคม  หมดเขตรบัใบสมคัรเขารวมโครงการ กุมภาพันธ  สัมภาษณเพื่อคัดเลือกเยาวชนเขารวมโครงการประจําป มีนาคม  ประกาศผลผูไดรับการคัดเลือกเขารวมโครงการประจําป เมษายน  คายวิทยาศาสตร คร้ังที่ 1 พฤษภาคม  เริ่มทําโครงงานวทิยาศาสตร มิถุนายน  - กรกฎาคม  - สิงหาคม  - กันยายน  - ตุลาคม  คายวิทยาศาสตร คร้ังที่ 2 พฤศจิกายน  - ธันวาคม  - มกราคม (ปถัดไป)  - กุมภาพันธ (ปถัดไป)  - มีนาคม  (ปถัดไป)  คายวิทยาศาสตร คร้ังที่ 3 นําเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร เมษายน  (ปถัดไป)  - พฤษภาคม (ปถัดไป)  คัดเลือกและประกาศรายชื่อผูไดรับทุนสนบัสนนุระยะยาว

Page 9: คู่มือทุน JSTP

ขอปฎบิัติของผูไดรบัทุนระยะยาว 

กิจกรรม  ชวงเวลา  เอกสารท่ีเกี่ยวของ  หมายเหตุ 1. เยาวชนตอบรับการเขา รวมโครงการระยะยาว 

เมย. – พค.  1. แบบยืนยันเขารวม โครงการระยะยาว 

2. แบบฟอรมทําเนียบ และผลงาน* 

*เยาวชนจะตองจัดสงไฟล ทําเนยีบและผลงาน 

2. ทําสัญญารับ ทุนการศกึษา 2.1 เยาวชนรุนใหม 2.2 เยาวชนรุนเกา 

พค. –  มิย. เมย. – พค. 

1. สัญญารับทุน การศึกษา 

* ดูกิจกรรมขอ 6 ประกอบการพิจารณา จัดทําสัญญา 

3. การเบิกจายเงนิ ทุนการศกึษา ภาคตน 

ภาคปลาย 

ภาคฤดูรอน 

พค. – มิย. มิย.(สําหรับ เยาวชนรุนใหม) 

ตค. – พย. 

เมย – พค. 

1. ใบเสร็จรับเงิน คาลงทะเบียน 

เยาวชนตองสง ใบเสร็จรับเงินภายใน ระยะเวลาที่กําหนด (ภายใน 60 วัน) หากไมจัดสงภายใน ระยะเวลาที่กําหนด โครงการฯ ขอสงวนสิทธิ์ การจายเงินนัน้ๆ 

4. การขอรับการสนับสนุน การเขารวมกิจกรรมใน ตางประเทศ 

ตลอดทั้งป  1. แบบฟอรมขอรับทุน 2. แนวทางการขอรับทุน 3. แนวทางการเขียน บทความ 

เยาวชนตองสงแบบฟอรม ขอรับทุนลวงหนาอยาง นอย 1 เดือน และโครงการฯ จะไมพิจารณาในกรณีที่สง มาชากวากําหนด 

5. การจัดสงรายงาน ความกาวหนา ภาคตน ภาคปลาย 

ตค. – พย. เมย. – พค. 

1. แบบรายงาน ความกาวหนา ทางการศึกษา 

หากเยาวชนไมสงรายงาน ความกาวหนาภายใน ระยะเวลาที่กําหนด โครงการฯ จะไมจาย เงินทนุงวดถดัไป

Page 10: คู่มือทุน JSTP

6. การแจงจบการศกึษา/ แจงสถานที่ศึกษาตอ 

พค. – มิย.  1. แบบฟอรมยืนยัน สถานที่ศึกษาตอ 

เยาวชนตองแจงสถานที่ ศึกษาตอมายังโครงการ หากไมมีการแจงภายใน ระยะเวลาที่กําหนด โครงการจะไมทําสัญญา รับทุนการศกึษาในระดับ ตอไป 

7. การขอเขาศึกษาตอระดับ ปริญญาตรี กรณีพิเศษ 

มิย. - กค.  1. แบบแจงความ ประสงครับการ พิจารณาคัดเลือกเขา ศึกษาตอระดับ ปริญญาตรี กรณี พิเศษ 

2. หลักเกณฑการสมัคร และพิจารณาคัดเลือก 

3. องคประกอบของแฟม สะสมผลงาน 

1. เยาวชนไมสามารถสละ สิทธิ์ในการเขาศึกษาตอใน กรณีที่ผานการคัดเลือก จากโครงการ 2. หากไดรับการยืนยนั สิทธิ์ในการเขาศึกษาตอ แลว รายชื่อจะถูกตัดออก จากชื่อผูมีสิทธิ์เขาศึกษา ตอในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. 

8. การขอรับการสนับสนุน ในการทําวจิัย 8.1 การสงขอเสนอโครงการ 

8.2 การจัดสงรายงาน ความกาวหนาโครงการวิจยั 

8.3 การจัดสงรายงานฉบับ สมบูรณ 

ตลอดทั้งป 

ทุก 6 เดือน 

โครงการวิจัย เสร็จสมบูรณ 

1. แบบขอเสนอ โครงการวิจัย 

2. แบบรายงาน ความกาวหนา โครงการวิจัย 

3. แบบการจัดทํา รายงานฉบับสมบูรณ 

1. เยาวชนตองจัดสง รายงานความกาวหนาตาม ระยะเวลาที่กําหนด 2. ผูรับทุนตองใชจายทุน ตามระเบียบการเงนิของ โครงการฯ พรอมทั้งเกบ็ หลักฐานการเงนิ บัญชีเพื่อ สามารถตรวจสอบไดเปน เวลา 10 ป

Page 11: คู่มือทุน JSTP

3. หากมีเงินเหลือจาย จะตองคืนเงินที่เหลือยัง โครงการ 

9. การเปดบัญชีทนุวิจัย  1.การเปดบัญชี จะตอง ใชชื่อบญัชี “ทุนJSTP– (ชื่อผูที่ไดรับทนุ)” 

* เงื่อนไขในการส่ังจาย คือ ลงนามไมนอยกวาสองใน สาม โดยหนึ่งในสองตอง เปนนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ง 

10. กิจกรรมนําเสนอผลงาน และ  “ชุมนุมสมาชกิ JSTP” 

เยาวชนเขารวมกจิกรรมทกุ คน หากไมสามารถเขารวม ได ขอใหทําจดหมายแจง โครงการฯ อยางเปน ทางการ

Page 12: คู่มือทุน JSTP

บทท่ี 2 การดําเนินการโครงการ 

1. การคัดเลือกผูมีความสามารถพิเศษและผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลย ี

1.1 รับสมัครผูสนใจทําโครงงานวิทยาศาสตรหรืองานวิจยัเพื่อเขาโครงการ  โดยผูสมัครเปนผูที่มีผลการ เรียนวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรในระดับดีมาก และ/หรือมีผลงานทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีที่โดดเดน เชน เคยชนะการแขงขันหรือการประกวดผลงานทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีในโครงการสงเสริมเดก็ที่มีความสามารถพเิศษตาง ๆ 

1.2 คณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิทําการคัดเลือกผูสมัครไวจํานวนประมาณ  100 คนตอป  ซึ่งเรียกวา กลุมผูมีความสามารถทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  เด็ก/เยาวชนกลุมนีจ้ะเขารวมกจิกรรม หลากหลายที่โครงการจัดขึ้น ไดแก 

ก. คายวิทยาศาสตร/กิจกรรมพเิศษ (Science Camps) เปนกจิกรรมคายวทิยาศาสตรทีเ่นน การคนควา คิดวิเคราะห สังเคราะห และการแกปญหาทางวิทยาศาสตร รวมทั้งการทํา กิจกรรมรวมกัน 

ข. โครงงานวิทยาศาสตร (Science Projects) ไดแก การเปดโอกาสใหเด็ก/เยาวชนคิด โครงงานทางวิทยาศาสตรเพื่อนําไปปฏิบัตใินโรงเรยีนหรือสถาบันที่สังกดั โดยจัดเงนิทนุ สนับสนุน  ทั้งนี้อยูภายใตการดูแลของนักวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพีเ่ลี้ยง และครู- อาจารยสถาบัน และสงเสริมใหนําเสนอผลงานที่ผานการปฏิบัติในที่ประชุมวชิาการ 

ค. ทดสอบมาตรฐาน (Standard Testing) ไดแก การทดสอบความถนัดทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเชาวปญญา  รวมทั้งลักษณะทางจิตวทิยาดวยขอสอบมาตรฐาน 

1.3  คณะกรรมการของนกัวิทยาศาสตรและนักเทคโนโลยพีี่เลี้ยง ทําการคัดเลือกเดก็/เยาวชนผูมี อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จากกลุมผูมีความสามารถทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี   ที่ผานการเขารวมกิจกรรมโครงการ  จํานวน ประมาณ 10 คนตอป

Page 13: คู่มือทุน JSTP

10 

2. การสงเสริมและสนับสนุนผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ีที่คัดจากในขอ 1. โดยวิธีการดังตอไปนี้ 

2.1 การใหทุนการศกึษาและวิจยัระยะยาว  ตั้งแตระดับมธัยมศึกษาจนถึงปริญญาเอกและการใหทุน วิจัยหลังปริญญาเอก 

2.2 กิจกรรมสงเสริมทีห่ลากหลาย (Enrichment Programs) ดังตอไปนี้ ก. การสรางระบบนักวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีพี่เลีย้ง (Mentoring System) โดยจัดหา นักวิทยาศาสตรและนกัเทคโนโลยีพีเ่ลี้ยง (Mentors) ที่เปนนักวทิยาศาสตรและนัก เทคโนโลยีชัน้แนวหนาทั้งในประเทศ และตางประเทศเพื่อพัฒนาอัจฉริยภาพของเดก็และ เยาวชนอยางเต็มที่ สงเสริมการส่ือสารทางอินเตอรเน็ต การเยี่ยมเด็ก/เยาวชนโดย นักวิทยาศาสตรและนกัเทคโนโลยีพีเ่ลี้ยง ระหวางศึกษาอยูในสถาบนัของตนเอง และการให เด็กและเยาวชนไดใชชีวิต การทํางานวจิัยรวมกบันักวทิยาศาสตรและนักเทคโนโลยีพี่เลีย้ง ณ สถาบันของนักวทิยาศาสตรและนกัเทคโนโลยีพีเ่ลี้ยง การเขารวมประชุมวิชาการที่ตนเอง สนใจและเขารวมกบันักวทิยาศาสตรและนักเทคโนโลยพีี่เลี้ยง  ฯลฯ 

ข. กิจกรรมฝกอบรมระยะสั้น (Short-Course Trainings) โดยการเปดโอกาสใหเด็กและ เยาวชนเขารับการฝกอบรมระยะสั้น เพื่อใหมทีักษะพืน้ฐานทางวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี ที่สูงขึ้น มีทักษะในการส่ือสารดีขึ้น ไดแก การฝกภาษาตางประเทศ และการใชคอมพิวเตอร เปนตน 

ค. การสนับสนนุการวิจัยในระดับโรงเรยีน (School Student Research) สงเสริมใหเด็กและ เยาวชนในระดับโรงเรียน ทําโครงงานหรือการวิจัยทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยทีี่ตนเอง เสนอข้ึนภายใตการดูแลของครูวิทยาศาสตรในโรงเรยีน หรืออาจารยในมหาวิทยาลัย โดยมี นักวิทยาศาสตรและนกัเทคโนโลยีพีเ่ลี้ยง เปนผูใหคําปรึกษา สนับสนนุการใชเครื่องมือวิจัย และติดตามความกาวหนาพัฒนาการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

ง. การสนับสนนุการวิจัยระดับอุดมศึกษา (Mentor-Supervised College Student Research) สงเสริมใหเด็ก/เยาวชนรุนเยาวในระดับอุดมศึกษาทําการวจิัยทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีอยางเต็มที่รวมกับนกัวิทยาศาสตรและนกัเทคโนโลยีพีเ่ลี้ยงของตนเอง 

2.3 การเผยแพรผลงาน จัดกิจกรรมเผยแพรผลงานการทําโครงงานวิจัยของเด็ก/เยาวชน ในระดับตางๆ รวมทั้งรวมมือกับหนวยงาน/สถาบันตางๆ เพื่อใหเด็ก/เยาวชนของโครงการไดแสดงออกซึ่ง ศักยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อันจะเปนตวัอยางที่ดีใหแกเดก็/เยาวชนทั่วไปไดหันมา สนใจการศึกษาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตอไป 

2.4 สนับสนนุนักวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีรุนเยาวที่ผานโครงการฯ  ไดแก ก.เด็ก/เยาวชนของโครงการที่สําเร็จการศกึษาไดรับการสนบัสนุนใหรับการบรรจเุขาทํางานใน หนวยงานของรัฐ และภาคเอกชนที่มีหนวยวิจยัที่สามารถนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

Page 14: คู่มือทุน JSTP

11 

ไปประยุกตใชในการพัฒนาประเทศ ข.ผลงานในระดบัดีเยี่ยม ทีน่ักวิทยาศาสตรและเทคโนโลยรีุนเยาวกลุมนี้สรางข้ึน จะไดรับการ สนับสนุนใหเผยแพร  ทั้งระดบัในประเทศและระดับตางประเทศ เพื่อขยายขอบเขตการ เรียนรู และเปนการประกาศเกียรติคณุตอผูที่มีความสามารถพิเศษและผูมีอัจฉริยภาพทาง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของโครงการฯ 

3. การประเมินผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีประจําป ผูมีอัจฉริยภาพจะไดรับการประเมินผล ใหอยูในโครงการตอเปนรายป โดยมีเกณฑพิจารณาดงันี้ 3.1 เปนผูมีพัฒนาการทางวิทยาศาสตรในสาขานัน้ ๆ ดีขึ้นอยางตอเนื่อง 3.2 มีผลการเรียนอยูในเกณฑดี และมีพัฒนาการดานการศึกษา โดยเฉพาะในสาขาที่มีความ 

สนใจ 3.3 มีความมุงมั่นที่จะปฏิบัติงานวิจัยทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3.4 ปฏิบัติงานวิจัยโดยมีผลงานที่มีคณุภาพระดับสูง 3.5 ปฏิบัติงานวิจัยกับนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้งอยางตอเนื่อง ยกเวนกรณีศกึษาตางประเทศ 

แนวทางการประเมินศักยภาพของเยาวชนในโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยสีําหรับเด็กและเยาวชน 

การประเมินผลสมัฤทธิ์ของผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยมีีหลักเกณฑการ ประเมินในดานตางๆ ตอไปนี้ 1.ไดแสดงใหเห็นวา มีความสามารถทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนพิเศษ ซึ่งอาจวัดดวยคะแนนหรือ ผลการทํางาน/กิจกรรมทางวิทยาศาสตรที่แสดงใหเหน็เปนที่ประจักษ เชน 

1.1 ผลการเรียนเฉลี่ยในแตละระดับชวงชั้นไดแก มัธยมตน มัธยมปลาย และปรญิญาตรี ตองไม ต่ํากวา 3.00 และระดับปริญญาโทและเอกตอง ไมต่ํากวา  3.50 

1.2 ผลการทํางาน/กิจกรรมทางวิทยาศาสตรที่แสดงใหเหน็เปนที่ประจักษ เชน ไดรางวัลจากการ ประกวด แขงขัน หรือผลงานสามารถนําไปประยกุตใชงานได 

1.3 พัฒนาการในการปฏิบัติงานกับนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ง อยูในขั้นด-ีดีมาก โดยพิจารณาจาก ผลงานตีพิมพ หรือความกาวหนาของการทํางานวิจัย และความเห็นจากนกัวิทยาศาสตรพี่ เลี้ยง ประเมนิโดยกรรมการโครงการฯ 

2. การมีสวนรวมในกจิกรรมของโครงการฯ ไดแก 2.1  เขารวมในกจิกรรมที่โครงการจดัใหอยางสมํ่าเสมอ และใหความสนใจในกิจกรรม ที่เขารวม

Page 15: คู่มือทุน JSTP

12 

2.2  ใหความชวยเหลือในกิจกรรมตางๆ ของโครงการฯ 2.3  เปนตนแบบที่ดีของสมาชกิในโครงการ เชน การใหขอคิดเหน็ เสนอแนะ รวมดําเนินการและ 

การปฏิบัติตนเปนผูเหมาะสมตอการไดรับทุน  ประเมนิโดยผูเชี่ยวชาญในกจิกรรมและ/หรือ คณะผูจัดกิจกรรม 

2.4  ทําชื่อเสียงใหกับสถาบัน โครงการฯ และตนเอง ในฐานะที่เปนผูมีความสามารถทาง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประเมินโดยกรรมการโครงการฯ 

การพิจารณาใหทุนสนับสนุนอยางตอเนื่อง ผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จะไดรบัทนุสนับสนนุตอในระดับชวงชัน้ 

การศึกษาที่สูงขึน้ไดโดยพจิารณา  ดังนี้ 1.  ผานเกณฑอยางนอยขอยอยขอใดขอหนึ่ง ในขอที่ 1 2. ในกรณีที่ไมผานเกณฑขอที่ 1 ใหพิจารณาตามเกณฑขอที่ 2 และใหคณะกรรมการโครงการฯ เปนผูพิจารณา  ใหความเห็น โดยขอสรุปจากประธานโครงการฯ ถือเปนการสิ้นสุด 

4. การพิจารณาผูมีอัจฉริยภาพพนสถานภาพการรับการสนับสนุนจากโครงการฯ 4.1 ขาดคุณสมบัติตามแนวทางการประเมนิศักยภาพของเยาวชนฯ 4.2 กระทําความผิดรายแรง 4.3 ลาออก

Page 16: คู่มือทุน JSTP

13 

บทท่ี 3 องคประกอบของการสนับสนุน 

หลังจากที่เดก็และเยาวชนไดรับการคัดเลือกเปนผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร  โครงการมกีาร สงเสริมและสนับสนุนในดานตางๆ ดังนี้ 

1. ทุนการศึกษา คาใชจายสวนตัว 2. ทุนสนับสนนุการวิจยั 3. การสนับสนุนดานการฝกอบรมระยะสั้น/ประชุมวิชาการ นําเสนอผลงานในตางประเทศ 

1.ทุนการศึกษา 1.1 ทุนการศกึษาในประเทศ ผูไดรับคัดเลือก จะไดทุนการศึกษาจนถงึระดับปรญิญาเอก  ทั้งนี้ขึ้นกับการพัฒนาศักยภาพของ 

ผูรับทุน ซึง่จะไดรับการประเมนิเปนรายป โดยทุนที่จดัสรรใหเปนทนุภายในประเทศ ดังนี้ 

ระดับชั้น  มัธยมศึกษา  ปริญญาตรี**  ปริญญาโท  ปริญญาเอก คาเลาเรียนและคาบํารุง การศึกษา* 

ตามที่จายจริง แตไมเกิน 10,000 บาท/ป 

ตามที่จายจริง แตไมเกิน 40,000 บาท/ป 

ตามที่จายจริง แตไมเกิน 60,000 บาท/ป 

ตามที่จายจริง แตไมเกิน 60,000 บาท/ป 

คาใชจายสวนตัว  54,000 บาท/ป 4500/เดือน 

60,000 บาท/ป 5000/เดือน 

96,000 บาท/ป 8,000/เดือน 

120,000 บาท/ป 10,000/เดือน 

หมายเหตุ :  * ตามที่จายจริง ** สําหรับนิสิต/นักศกึษาในหลักสตูรที่ศกึษามากกวา 4 ป เชน แพทยศาสตร  ในปที่ 5,6… จะไดรับทุนระดับปรญิญาโท 

คาใชจายท่ีครอบคลุม ดังน้ี 1.  คาลงทะเบียนรายวิชา :  คาหนวยกิตภาคบรรยาย  คาหนวยกิตภาคปฏิบัติการ  คาหนวยกิต 

วิทยานิพนธ คาลงทะเบียน/คาธรรมเนียมการสอบวิทยานิพนธ 2.  คาบํารุงการศึกษา : คาบํารุงหองสมุด คาบํารุงมหาวิทยาลัย คาบํารุงสุขภาพ คาบํารุงกีฬา คา 

บํารุงบัณฑิตวิทยาลัย คารักษาสภาพการเปนนักศึกษา

Page 17: คู่มือทุน JSTP

14 

3.  คาธรรมเนียมการศึกษา : คาบํารุงพิเศษหรือคาธรรมเนียมการศึกษาพิเศษเฉพาะสาขา 4.  คาขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา/คาลงทะเบียนแรกเขา  คาธรรมเนียมขึ้นทะเบียนเปนบัณฑิต/รับ 

ปริญญา  คาธรรมเนียมฝกภาคสนาม  คาธรรมเนียมการศึกษาดูงาน  คาธรรมเนียมการสอบ ภาษาตางประเทศ (ในกรณีที่กําหนดไวในหลักสูตร) 

5.  อ่ืนๆ : คากิจกรรมนักศึกษา  คาใชบริการคอมพิวเตอร  คาสนับสนุนการศึกษา คาเอกสาร ทางการศึกษา ฯลฯ 

คาใชจายท่ีไมครอบคลุม มีดังน้ี 1.  คาลงทะเบียนรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนซ้ําในวิชาเดิม 2.  คาปรับตางๆ 3.  คาลงทะเบียนลาชา 4.  คาหอพัก 5.  คาปรับในการรักษาสภาพการเปนนักศึกษา 6.  คาประกันตางๆ 7.  คาขอคืนสถานภาพการเปนนักศึกษา 8.  คาธรรมเนียมสมทบกองทุนตางๆ 9.  คาสอบวัดความรูความสามารถทางภาษาตางประเทศ นอกเหนือจากที่กําหนดไวในหลักสูตร 10.  คาใชจายอ่ืนๆ ที่มีลักษณะเปนคาใชจายสวนตัวของนักศึกษา เชน คาใบสมัครและระเบียบการ 

คาสมัครสอบคัดเลือก คาบัตรประจําตัวนักศึกษา คาใบรับรองตางๆ คาใบแสดงผลการศึกษา คาธรรมเนียมการแปลปริญญาบัตร ฯลฯ 

1.2 ทุนการศกึษาตางประเทศ กรณีที่ผูรับทุนมีความประสงคจะศึกษาตางประเทศ ผูรับทุนสามารถรับทุนการศึกษาตางประเทศ 

จากหนวยงานหรือสถาบันอ่ืนๆ ได  โดยเงื่อนไขการรับทุนตางๆ จะเปนตามที่ทุนการศึกษานั้นๆ ระบุไว และผูรับทุนตองแจงการรับทุนดังกลาวใหโครงการฯ ทราบเปนลายลักษณอักษร และโครงการฯ จะใหการ สนับสนุนในสวนที่ทุนนั้นๆ ไมไดจัดสรรให

Page 18: คู่มือทุน JSTP

15 

2.ทุนสนับสนุนการวิจัยของโครงการ 2.1 Mentoring and Research Supervision : คาตอบแทนสําหรับนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้งทีใ่ห 

การดูแล และคําแนะนําผูมีอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรในการทําวิจยั จายในกรณีที่ขอเสนอโครงการวิจยั ผานการอนุมัติแลว 

2.2  School  Student  Research  :  เงนิสนับสนุนการทาํวิจัยทางวิทยาศาสตร  สําหรับนกัเรยีน ระดับมัธยมศกึษา จํานวนไมเกนิ 20,000 บาท/โครงการ 

2.3  Mentor-Supervised  College  Student  Research  :  เงินสนับสนุนการทําวิจัยทาง วิทยาศาสตรสําหรับนิสิต/นักศึกษา ระดบัอุดมศึกษา ดงันี้ 

ระดับปริญญาตรี  จํานวนไมเกิน  75,000  บาท/โครงการ ระดับปริญญาโท  จํานวนไมเกิน  100,000  บาท/โครงการ ระดับปริญญาเอก  จํานวนไมเกิน  300,000  บาท/โครงการ 

คาใชจายหมวดการวิจัย คาใชจายที่ครอบคลุม มีดังนี้ • คาทําวิจัย เชน คาวัสดุ ครุภัณฑ เคมีภัณฑ และคาใชจายอ่ืนๆ อันเกี่ยวเนื่องและจําเปนสําหรับ 

การทําวิจัย อาทิเชน สารเคมี เครื่องแกว วัสดุการเกษตร ฯลฯ •  คาใชจายเดินทางสํารวจและเก็บตัวอยางในประเทศ  โดยอัตราคาใชจายในการเดินทางให 

เทียบเทาขาราชการระดับ 3 •  คารวมประชุม/สัมมนาวิชาการภายในประเทศและตางประเทศทั้ง Poster  และ  Oral 

Presentation ในผลงานวิจัย/วิทยานิพนธที่ไดรับทุน เชน คาลงทะเบียน คาที่พัก คาเดินทาง • คาลงทะเบียนฝกอบรมนอกหลักสูตรหรือสัมมนาโดยมีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องกับการศึกษา ในสาขา 

และงานวิจัยที่ไดรับทุน • คาตําราวิชาการดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • คาถายเอกสาร • คาสืบคนขอมูล • คาทําวิจัยเพื่อวิทยานิพนธที่มหาวิทยาลัยเรียกเก็บ 

หมายเหตุ หากอาจารยที่ปรึกษาเห็นวานักศึกษามีความเหมาะสมและจําเปนที่จะตองใชจายคาทําวิจัย ตางไปจากแนวทางนี้ ใหขอความเห็นชอบจาก โครงการฯ กอนดําเนินการเปนแตละกรณีไป

Page 19: คู่มือทุน JSTP

16 

3. การสนับสนุนดานการฝกอบรมระยะส้ัน/ประชุมวิชาการ นําเสนอผลงานใน ตางประเทศ 

การฝกอบรม/ประชุมวิชาการในตางประเทศสามารถกระทาํได โดยจะตองขออนุมัติจาก โครงการฯ ทั้งนี้อัตราการสนบัสนนุ จะพจิารณาเปนกรณีๆ ตามความเหมาะสม โดยการฝกอบรม/ประชุม วิชาการในตางประเทศ ที่อยูในขอบขายของการสนับสนนุ เชนการนําเสนอผลงานวิชาการในรูปแบบปาก เปลา (Oral Presentation) เปนตัวแทนของสถาบนั หรือประเทศไทย ในการเขารวมการประกวด แขงขัน ตางๆ 

แนวทางการขอรับทุนสนบัสนุนการเขารวมกิจกรรมในตางประเทศ 

1.  วัตถุประสงค เพื่อกําหนดเกณฑ/แนวทางในการพจิารณาตัดสนิการสนับสนุนเยาวชนในการเขารวมกิจกรรม ในตางประเทศ 

2.  ประเภทของกจิกรรมที่อยูในขอบขายการสนับสนุน 1)  การนําเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการนานาชาติ 2)  การประกวดแขงขันทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3)  การเขารวมกิจกรรมคาย/ศึกษาดูงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4)  การทําวิจัยระยะสั้น 

3.  เกณฑการพจิารณา 1)  การนําเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการนานาชาติ มีรายละเอียดดังตอไปนี้ 

•  นําเสนอผลงานแบบปากเปลา •  เปนการประชุมวิชาการในระดับแนวหนาในสาขานั้นๆ ที่มี peer review •  เปนงานวิจัยที่ขอรับการสนบัสนุนจากโครงการฯ และเปนผลงานวิจัยที่มีความกาวหนา 

และมีคุณภาพ •  สําหรับเยาวชนในระดับมธัยมศกึษา  อาจเปนการประชุมที่ไมมี peer review ก็ได แต 

จะตองมีโครงงานวิทยาศาสตรที่ดีเยี่ยม เมื่อเทยีบกับเยาวชนในระดับเดียวกัน •  ไดรับพิจารณาตอบรับใหนําเสนอผลงานแบบปากเปลา •  ผานการเหน็ชอบจากนกัวิทยาศาสตรพี่เลีย้ง และกรรมการพิจารณา •  ไดเขียนขอบคณุ โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็ก 

และเยาวชน (JSTP)  ที่ใหการสนับสนุนทนุในบทคัดยอ หรือผลงานที่นําเสนอทุกครั้ง

Page 20: คู่มือทุน JSTP

17 

2)  การทําวิจัยระยะสั้น •  เปนองคความรูงานวิจัย อุปกรณเครื่องมือ และมีผูเชีย่วชาญเฉพาะสาขา ซึ่งไมมีและไม 

สามารถดําเนนิการไดเองในประเทศไทย (แนบเอกสารแสดงหลักการเหตุผลและความ จําเปน) เยาวชนตองเปนผูทีท่ําวิจัยอยางตอเนื่อง 

•  ไดรับการตอบรับจากอาจารยที่ปรึกษาตางประเทศ สถาบัน หนวยงาน หรือมหาวิทยาลัย ที่จะไปทําวิจัยระยะสั้น (แนบประวัติยอและผลงานของอาจารยที่ปรึกษาตางประเทศ จดหมายตอบรับ) 

•  เปนงานวิจัยที่ขอรับการสนบัสนุนจากโครงการฯ และเปนผลงานวิจัยที่มีความกาวหนา และมีคุณภาพ 

3)  การประกวดแขงขันทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี •  เปนผลงานที่ผานการคัดเลือกในระดับประเทศ (ไมรวมถึงการคัดเลือกในระดบัโรงเรียน 

หรือจากหนวยงานใดหนวยงานหนึ่ง) •  เปนผลงานทีเ่กิดจากงานวจิัยทีม่ีความกาวหนาและมคีุณภาพ •  ผานการเหน็ชอบจากนกัวิทยาศาสตรพี่เลีย้ง หรือ อาจารยที่ปรึกษา 

4)  การเขารวมกิจกรรมคาย/ศึกษาดูงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี •  เปนการเขารวมกิจกรรมโดยเยาวชนไดรับคัดเลือกเปนตัวแทนประเทศไทย หรือเปน 

ตัวแทนในระดับภูมิภาค •  ผานการเหน็ชอบจากนกัวิทยาศาสตรพี่เลีย้ง หรืออาจารยที่ปรึกษา 

4.  ขั้นตอน 1)  เยาวชนสงจดหมายแจงความประสงคในการขอรับทุนสนบัสนุนเขารวมกิจกรรมใน 

ตางประเทศ โดยแจงโครงการฯ ลวงหนากอนการเดินทางอยางนอย 1 เดือน 2)  พิจารณาเอกสารวาอยูในขอบขายของการสนบัสนนุหรือไม 

•  กรณีที่ “เขาขาย” การสนับสนุน และเอกสารครบถวน ดําเนินการตอ ตามขอ 3 •  กรณีที่ “เขาขาย” การสนับสนุน แตเอกสารไมครบ แจงเยาวชนใหสงเอกสาร 

ประกอบการพิจารณาเพิม่เติม แลวดําเนินการตอ ตามขอ 3 •  กรณีที่ “ไมเขาขาย” การสนับสนุน ใหสงจดหมายตอบกลบัภายใน 7 วัน 

3)  จัดเตรยีมเอกสารเพื่อสงใหกรรมการพิจารณาอนุมัตงิบประมาณตามที่ขอ •  กรณีที่ “อนุมัต”ิ ดําเนินการตอตามขอ 4 •  กรณีที่ “ไมอนุมัติ” สงจดหมายแจงภายใน 7 วัน 

4)  ดําเนินการจัดสงเงนิทุน โดยดําเนินการภายใน 10 วันหลังการอนุมัติ 5)  การติดตามผล 

•  เยาวชนจะตองจัดทํารายงานสงใหโครงการจํานวน 1 ชุด (พรอมแนบไฟล) ภายใน 30

Page 21: คู่มือทุน JSTP

18 

วันหลังจากกลับจากการเขารวมกิจกรรมในตางประเทศ (รายละเอียดเพิ่มเติมตาม แนวทางการเขียนบทความ) 

•  กรณีที่ไมไดรับรายงานภายในระยะเวลาทีก่ําหนด ใหสงจดหมายติดตาม 1 ครั้ง •  กรณีที่ไมไดรับรายงานเลย ใหแยกเอกสารไวกับกลุมผูที่ไมทําตามเงื่อนไข และหากมี 

การขอรับการสนับสนุนอีก จะไมไดรับการพิจารณา •  เยาวชนตองสงหลกัฐานการใชจายเงินมาที่โครงการฯ ภายใน 10 วันหลังจากกลบัจาก 

การเขารวมกิจกรรมในตางประเทศ 6)  เยาวชนขอรับการสนับสนุนการเขารวมกิจกรรมในตางประเทศได ปละ 1 ครั้ง 7)  เยาวชนที่ขอรับการสนบัสนนุ ตองไมเคยขาดสงรายงานความกาวหนาทางการศกึษา หรือ 

รายงานความกาวหนาในการทําวิจัย 5.  เอกสารประกอบการพจิารณา 

•  แบบฟอรมขอรับการสนับสนนุ •  เอกสารตอบรับการเขารวมกิจกรรมจากหนวยงานทีจ่ัดการประชุมวิชาการ /กจิกรรมคาย 

วิทยาศาสตร เปนตน •  กําหนดการ หรือรายละเอียดของกิจกรรม •  เอกสารที่แสดงความเหน็ของนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้ง หรือ อาจารยที่ปรึกษา •  เอกสารชี้แจงวาไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานอื่นๆ หรือไดรับการยกเวนคา bench fee 

จากสถาบนัที่ไปทําวิจัยระยะสัน้ •  กรณีที่ไปนําเสนอผลงานวจิัย จะตองสง short article ของงานวิจัย หากทําวิจยัระยะสั้น 

จะตองสงขอเสนอโครงการ เพื่อประกอบการพิจารณาดวย •  เอกสารอ่ืนๆ 

6.  งบประมาณพจิารณาสนบัสนุน 1)  คาตั๋วเครื่องบินชั้นประหยดั  สายการบินไทย หรือสายการบินอ่ืนที่ถกูกวาการบนิไทย 30 % 2)  คาลงทะเบียน  จายตามจรงิ 3)  คาวีซา  จายตามจรงิ 4)  คาที่พัก  เหมาจายไมเกนิวันละ 4,200 บาท 

(ไมเกิน 1 เดือน) 5)  คาเบี้ยเลี้ยง  เหมาจายวันละ 2,100 บาท (จายในกรณทีี่ไมมีอาหารเลี้ยง) 

(ไมเกนิ 1 เดือน)  เหมาจายวันละ 1,050 บาท (จายในกรณทีี่มีอาหารเลี้ยง)

Page 22: คู่มือทุน JSTP

19 

หากเปนการทําวจิัยทีต่างประเทศมากกวา 1 เดือน จะพจิารณางบสนับสนุนเปนกรณีไป และ อางอิงตามเกณฑของ กพ. โดยดูรายละเอียดไดจากเว็บไซต http ://192.168.1.6/Educations/Scholarship/index.html ตัวอยางของการสนับสนนุ เชน 

รายการ  สหรัฐอเมริกา USD 

สหราชอาณาจกัร GBP 

ออสเตรเลีย AUD 

ญี่ปุน JPY 

คาใชจายประจําเดือน (เหมาจาย) เดือนละ 

1,200  745  1,400  172,500 

คาประกันสุขภาพ  1,152/ ป  รัฐบาล support  330/ ป  20,500/ ป 

ทั้งนี้เยาวชนที่ไดรับการฝกอบรม/ประชุมวิชาการในตางประเทศ จะตองจดัทํารายงานสงให โครงการจํานวน 1 ชุด ภายใน 30 วัน หลังจากกลับจากการเขารวมกิจกรรมดังกลาว

Page 23: คู่มือทุน JSTP

20 

แนวทางการเขียนบทความการเขารวมกิจกรรมในตางประเทศ 1. กิจกรรมดานวิชาการ เชน 

1.1 รายละเอียดของงานวิจัยที่ไดไปนําเสนอ/ผูรวมวิจัย/งานวิจัยนี้เกีย่วของกับผูใดบาง 1.2 ขอมูลส่ิงประดิษฐ ที่นําไปประกวด/แขงขัน 1.3 แนวคิดที่ไดจากการเดินทางไปนําเสนอผลงาน/ ประกวด แขงขัน/ ทําวิจัยระยะสัน้ 1.4 ขอมูลกําหนดการ 1.5 วิทยาการใหมๆ ที่ไดพบเหน็ 1.6 การนําความรูและประสบการณที่ไดรับในครั้งนี้มาประยุกตใชกบังานวิจยั และพัฒนา 

ตนเอง 2. กิจกรรมหรือขอมูลอ่ืนๆ เชน 

2.1 สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ 2.2 สภาพบานเมือง ผังเมือง สาธารณูปโภค สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ 2.3 สังคม วัฒนธรรม 2.4 บอกเลาความเปนมา จนกระทั่งไดรับทนุสนับสนุนจากโครงการ 2.5 รายชื่อผูรวมเดินทางในครั้งนี้ 

3. ภาพประกอบ 4. ขอเสนอแนะ หรือขอคิดเหน็อื่นๆ ที่เปนประโยชน

Page 24: คู่มือทุน JSTP

21 

บทท่ี 4 การเขารวมโครงการ 

1. ข้ันตอนการเขารวมโครงการของผูไดรับทุนระยะยาว เมื่อคณะกรรมการโครงการไดพิจารณาคัดเลือกผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและ 

เทคโนโลยีแลว  ผูที่เกีย่วของจะดําเนินการดังตอไปนี้ 1.1 แจงผลการคัดเลือกผูเขารวมโครงการระยะยาว  โครงการฯ จะแจงผลการพิจารณาใหเด็กและ 

เยาวชนผูไดรับคัดเลือก/นักวิทยาศาสตรพีเ่ลี้ยง/สถาบนัการศึกษาที่เดก็และเยาวชนศึกษาอยู ให ทราบ 

1.2 ตอบรับเขารวมโครงการ เด็กและเยาวชนแจงตอบรบัการเขารวมโครงการระยะยาว (โครงการฯ จะ มีแบบตอบรับสงไปให) กลับมายังโครงการฯ พรอมกบัการปรึกษากับนกัวิทยาศาสตรพีเ่ลี้ยงเพื่อ จัดทําแผนสงเสริมและพัฒนา  รวมทั้งการเสนอโครงการวิจัย 

1.3 การทําสัญญารับทุนและจัดสงเงินทุน 

2. การจัดทําสัญญารับทุนการศึกษา เมื่อโครงการฯ ไดรับการยนืยันการเขารวมโครงการจากเดก็และเยาวชนแลว จะดําเนนิการ 

จัดทําสัญญารับทุนการศกึษา  มีรายละเอียดดังตอไปนี้ 

2.1  เอกสารประกอบการทําสัญญา เตรียมเอกสารทุกรายการ จํานวน 3 ชุด พรอมทั้งรับรองสําเนาถูกตองทุกฉบับ 

- แบบฟอรมสัญญาซึ่งโครงการจัดสงใหผานโรงเรียน/มหาวิทยาลัยที่เด็กและเยาวชนสังกัด - สําเนาบัตรประชาชนของผูรับทุน - สําเนาทะเบียนบานของผูรับทุน - สําเนาบัตรประชาชนของผูค้ําประกัน - สําเนาทะเบียนบานของผูค้ําประกัน 

2.2 คุณสมบัติของผูค้ําประกัน (ขอใดขอหนึ่ง) - บิดา มารดา หรือ ผูปกครอง - บุคคลที่เปนขาราชการตั้งแต ระดับ 3 ขึ้นไป (หรือเทียบเทา) - บุคคลซึ่งเปนผูมีความมั่นคงทางอาชีพ

Page 25: คู่มือทุน JSTP

22 

2.3 ขั้นตอนการทําสัญญารับทุน 2.3.1 โครงการจะติดตอกับเด็กและเยาวชน ใหมารับแบบฟอรมสัญญาจํานวน 3 ชุด  ในวัน 

ปฐมนิเทศ เพื่อใหดําเนินการกรอกรายละเอียด และหาผูค้ําประกันเพื่อกรอกสัญญาค้ําประกัน  พรอมแนบ เอกสารประกอบ ดังนี้ 

•  สําหรับเด็กและเยาวชน ตองแนบสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน สําเนาทะเบียนบาน และ รับรองสําเนาถูกตอง โดยแนบไวในสัญญาทั้ง 3 ชุด 

•  สําหรับผูค้ําประกัน ตองแนบสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน สําเนาทะเบียนบาน และ รับรองสําเนาถูกตอง หากผูค้ําประกันมีคูสมรสจะตองใหคูสมรสกรอกขอมูลในเอกสารคํา ยินยอมและแนบเอกสารเชนเดียวกับผูค้ําประกัน โดยแนบไวในสัญญาทั้ง 3 ชุด 

2.3.2 เมื่อดําเนินการกรอกและลงนามในสัญญา พรอมทั้งใหอาจารยที่ปรึกษา และลงนามทัง้ 3 ชุดแลว  ใหเด็กและเยาวชนนําสงสัญญาพรอมจดหมายนําสงอยางเปนทางการไปยังอธิการบดีของ มหาวิทยาลัยที่สังกัดอยู  หรือผูอํานวยการโรงเรียน เพื่อลงนามรับทราบ และเมื่อโรงเรียน/มหาวิทยาลัยสง สัญญากลับมายังโครงการฯ  ผูอํานวยการ สวทช. จะลงนามในสัญญา 

โปรดสงเอกสารสัญญาทั้งหมดมายังโครงการฯ  ภายในกําหนดเวลา โดยสงมาตามที่อยูดังนี้ โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็กและเยาวชน สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ เลขที่ 111 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 

2.3.3  เมื่อสัญญาลงนามจนครบทุกฝายทั้ง 3 ชุดแลว ถือวาสัญญารับทุนนั้นสมบูรณ โครงการฯ จะ ดําเนินการดังนี้ 

- โครงการฯ เก็บรักษาสัญญาฉบับจริงไว 1 ชุด - โครงการฯ จัดสงสัญญาฉบับจริงไปยังโรงเรียน/คณะที่เยาวชนสังกัดอยู 2 ชุด เพื่อให เก็บไวเปนหลักฐาน 1 ชุด และเด็กและเยาวชนเก็บไว 1 ชุด 

- โครงการฯ จัดสงสําเนาสัญญาใหแกอาจารยที่ปรึกษา 1 ชุด 2.3.4  โครงการฯ จะจัดสงเงินทุนงวดแรกภายใน 30 วัน นับจากวันที่ลงนามในสัญญาครบทุก 

ฝายแลว 2.3.5. หากมีขอสงสัยในรายละเอียดของการทําสัญญารับทุน  ติดตอสอบถามไดที่คุณชญากัญจน 

แกวบรรจง โทรศัพท 02-564-7000 ตอ 1437 หรือที่ [email protected]

Page 26: คู่มือทุน JSTP

23 

3. การจัดทําสัญญารับทุนสนับสนุนการวิจัย เมื่อโครงการฯ ไดรับขอเสนอโครงการวิจัยที่ผานการเห็นชอบจากนกัวิทยาศาสตรพีเ่ลี้ยงจาก 

ผูรับทุนแลว  โครงการฯ  จะนําขอเสนอโครงการวิจยันัน้ตอผูเชีย่วชาญเพื่อพจิารณาการอนุมัติขอเสนอ หลังจากขอเสนอไดรับอนุมัติแลว  โครงการจะดําเนินการทําสัญญารับทุนวจิัย  โดยผานสถาบันการศึกษา/ สถานที่ทํางานของนักวทิยาศาสตรพีเ่ลี้ยง  เมื่อลงนามในสัญญาครบทุกฝาย  โครงการฯ  จะจัดสง คาตอบแทนงวดแรกใหกับนกัวิทยาศาสตรพี่เลี้ยงและจัดสงทุนวิจยัใหแกผูรับทนุ 

ขั้นตอนการขอรับทุนเพื่อปฏิบตัิงานวิจยั ผูไดรับทุนระยะยาวที่ประสงคจะทําโครงการวิจัยและขอรบัการสนับสนุนเงินทนุวิจยัของโครงการ 

ใหผูรับทนุปรึกษากับนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้งเพื่อจัดทําขอเสนอโครงการมายังโครงการฯ ซึ่งโครงการฯ จะมี ขั้นตอนดังตอไปนี้ 

3.1 ผูวิจัยจัดสงขอเสนอโครงการมาที่โครงการฯ  จํานวน 2 ชุด หรือสงทาง email 3.2 ขอเสนอโครงการจะถูกสงใหคณะกรรมการและผูเชีย่วชาญในสาขาที่เกี่ยวของ  และ 

จะแจงผลการพิจารณาใหผูวจิัยทราบเพื่อปรับปรุงแกไขหรือเพิ่มเติมรายละเอียด (ถามี) 3.3 ขอเสนอโครงการที่สมบูรณจะนําเสนอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติ 3.4 โครงการจัดทําสัญญารับทุนสนับสนนุการวิจยั และสงใหทกุฝายทีเ่กี่ยวของลงนาม 3.5 โครงการฯ จัดสงเงินทุนตามสัญญารับทุนวิจยั ไปยังสถาบันของนักวทิยาศาสตรพีเ่ลี้ยง 3.6 ผูวิจัยจะตองจัดสงรายงานความกาวหนาการปฏิบัตงิานวิจัย (ในกรณีที่ไดอนุมตัิใหทํางาน 

วิจัย)/ รายงานสรุปการเงิน (หมวดเงินทนุวิจยั) จัดสงทุก 6 เดือน นบัตั้งแตรับทุนวจิัย จนถึงปดโครงการวจิัย 

3.7 หลังจากโครงการฯ ไดรับรายงานความกาวหนาการปฏิบัติงานวิจัยแลว โครงการฯ จะสง เงินทุนงวดที่ 2 

3.8 เมื่อโครงการวิจัยที่เสนอไวไดกระทําเสร็จสิ้นตามแผนงานและตองการปดโครงการวิจัย ดังกลาวใหจัดทํารายงานวิจยัฉบับสมบูรณ จํานวน 2 ฉบับ และจัดสงมายังโครงการฯ ภายใน 90 วันหลังจากเสร็จสิ้นโครงการแลวโดยดูแนวทางการจัดทํารายงานวจิัยฉบับ สมบูรณตามรายละเอียดขางทายคูมือฉบับนี้

Page 27: คู่มือทุน JSTP

24 

4. การส้ินสุดระยะเวลาในสัญญารับทุน ในกรณีสิ้นสุดระยะเวลาในสัญญารับทนุการศึกษาหรือทนุวิจัยแลว  ใหเด็กและเยาวชนรวมกับ 

นักวิทยาศาสตรพี่เลีย้งจัดทํารายงานสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กและเยาวชน  รายงาน วิจัยฉบับสมบูรณ  แผนการสงเสริมและพัฒนาเดก็และเยาวชนในระดับตอไป  มายังโครงการ  และแจง ความประสงคเพื่อเขารวมโครงการตอเนื่อง  โครงการฯ  จะประเมินผลงานและพัฒนาการตางๆ  ที่เกิดขึ้น ตลอดระยะเวลาทีเ่ด็กและเยาวชนไดเขารวมโครงการไปแลว  ถาหากผานการประเมิน  จะจัดดําเนินการ จัดทําสัญญารับทนุการศกึษาและทนุวิจัยตอไป 

*ระยะเวลาที่กําหนดในสญัญาปกติจะกําหนดตั้งแตเริ่มรับทุนจนจบระดับการศกึษานัน้ๆ  เชน มัธยมตน  มัธยมปลาย ปริญญาตรี ปริญญาโท ปรญิญาเอก 

5. แนวทางการจัดทํารายงานพัฒนาการทางวิชาการของผูไดรับทุน เพื่อเปนการติดตามพฒันาการ  ความกาวหนาของความสามารถในการปฏิบตัิงานวิจยัของเดก็ 

และเยาวชนผูไดรับทุนระยะยาว  โครงการจึงกําหนดใหเด็กและเยาวชนตองจัดทํารายงานความกาวหนา ของการศึกษา  และกิจกรรมตางๆ  การจัดทําแผนสงเสริมและพัฒนา  รวมทั้งรายงานความกาวหนาของ การทําวิจัยในกรณีไดยื่นขอเสนอโครงการวิจยัแลว 

ผูรับทุนตองจัดทํารายงาน ดังตอไปนี ้1.  รายงานความกาวหนาของการศกึษา  /ผลการศึกษาภาคตนและภาคปลาย  /รายงานการเงิน (หมวดเงนิทุนการศึกษา) จัดสงทุกภาคการศกึษา เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษานั้นๆ 

2. รายงานความกาวหนาการปฏิบัตงิานวิจยั (ในกรณทีี่ไดอนุมัติใหทํางานวิจยั)/ รายงานสรุป การเงิน (หมวดเงินทนุวิจยั) จัดสงทุก 6 เดือน นับตั้งแตรับทุนวจิัย จนถึงปดโครงการวิจยั

Page 28: คู่มือทุน JSTP

25 

จัดสงรายงานตางๆ ท่ี 

โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีสําหรับเด็กและเยาวชน สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ 111 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย  ถนนพหลโยธิน  ตาํบลคลองหนึ่ง  อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี  12120 

โทร. 0-2564-7000 ตอ 1431 (อติพร สุวรรณ) e-mail : [email protected] ตอ 1433 (ปานกมล ศรสุวรรณ) e-mail : [email protected] ตอ 1437 (ชญากัญจน แกวบรรจง) e-mail : [email protected] 

เมื่อโครงการไดรับรายงานและเอกสารตางๆแลวจึงจะดําเนินการจัดสงเงินทุนงวดตอไปใหผูรับทุน 

แบบฟอรมที่แนบในทายคูมือผูรับทนุนีเ้ปนเพยีงแนวทางของการจัดทํารายงานตางๆ  เทานัน้  เด็ก และเยาวชนในโครงการ  และนักวิทยาศาสตรพี่เลีย้งสามารถเพิ่มหรือนําเสนอขอมูลอ่ืนๆ  ที่คิดวามีความ จําเปนแกโครงการได ทั้งนี้สามารถดาวนโหลดแบบฟอรมตางๆ ของโครงการ ไดจาก http://www.nstda.or.th/jstp

Page 29: คู่มือทุน JSTP

26 

ภาคผนวก 

ก. แบบรายงานความกาวหนาของการศกึษาและการสงเสริมพัฒนา 

ข. แบบขอเสนอโครงการวิจยั 

ค. แบบรายงานความกาวหนาโครงการวิจัย 

ง. แบบการจัดทํารายงานวิจัยฉบบัสมบูรณ 

จ. แนวทางการขอรับทุนสนบัสนุนการเขารวมกิจกรรมในตางประเทศ