จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

26
1 จุลสาร มลายูศึกษาปริทัศน Malay Studies Review http://nikrakib.blogspot.com ฉบับที2 7 มกราคม 2010 Email: [email protected] ………………………………………………………………………………. สวัสดีปใหม 2554 ในโอกาสขึ้นปใหม 2554 ทางคณะผูจัดทํา จุลสารมลายูศึกษาปริทัศนขออวยพรใหทุกทาน จงมี ความสุข ประสบความสําเร็จในหนาที่การงาน จุลสารฉบับนี้เปนจุลสารมลายูศึกษาปริทัศนฉบับที2” เปนจุลสาร ที่มีระยะเวลาที่คอนขางหางจากจุลสารมลายูศึกษาปริทัศน ฉบับปฐมฤกษเปนเดือนๆ แตก็ถือวาอยูในกรอบที่ได แจงแลววาจุลสารมลายูศึกษาปริทัศน เปน จุลสารรายสะดวกสําหรับจุลสารฉบับนี้หวังวาจะสรางองคความรู เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบาน ซึ่งเปนสวนหนึ่งของความรู มลายูศึกษาใหพวกเราไดมากยิ่งขึ้น การที่เราพูด ภาษา มลายูได สามารถติดตอ ประสานงานกับประเทศเพื่อนบานนั้นยังไมเพียงพอ เราตองรู สังคม วัฒนธรรม วิธีคิด ความเปนมาของประเทศเพื่อนบานดวย ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวของโดยตรงกับวิชามลายูศึกษาดวย อันจะทําใหเรา สามารถเขาใจประเทศเพื่อนบานไดมากยิ่งขึ้น เพียงแตในปจจุบันการมีอยูของวิชามลายูศึกษาในสถาบันแหงนี้ยัง ไมไดรับการสนับสนุนเทาที่ควร แตกตางจากมลายูศึกษาในสถาบันการศึกษาตางประเทศ บางประเทศใหการ สนับสนุนจัดตั้งสถาบันมลายูศึกษา เพื่อศึกษา คนควาเกี่ยวกับโลกมลายู หวังวาในป 2554 นีมลายูศึกษาใน สถาบันแหงนี้จะไดรับการสนับสนุนจากผูบริหารมากขึ้น เขารูเรา แตเราไมรูเขา เราอาจมองขามถึงความสําคัญของภูมิภาคมลายูหรือที่เรียกในอีกชื่อหนึ่งวา นูซันตารา - Nusantara” ซึ่ง เปนพื้นที่โลกวัฒนธรรมมลายู ประกอบดวยประเทศอินโดเนเซีย มาเลเซีย บรูไน สิงคโปร ฟลิปปนส รวมทั้ง จังหวัดชายแดนของประเทศไทยดวย แตบางประเทศกลับเห็นถึงความสําคัญของภูมิภาคมลายู จึงมีการสนับสนุน ใหมีการศึกษา คนควา แปลเอกสารที่เกี่ยวกับภูมิภาคมลายู สําหรับจุลสารมลายูศึกษาปริทัศน ฉบับนีเรามารูจัก สถาบันที่จัดตั้งขึ้นเพื่อศึกษาภูมิภาคมลายู ซึ่งตั้งอยูในกรุงมอสโก ประเทศรุสเซีย ศูนยวิจัยภูมิภาคมลายู สมาคมภูมิภาคมลายู ประเทศรุสเซีย Nusantara Research Center, Nusantara Society ตั้งอยูที11, Mohovaya str., Moscow 125009 Phone: +7 495 6294221, Fax: +7 495 6293957 สมาคมภูมิภาคมลายู หรือ The Nusantara Society จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที10 มกราคม1990 สวนศูนยวิจัยภูมิภาค มลายู หรือ Nusantara Research Center จัดตั้งขึ้นเมื่อเดือนมิถุนายน 1998 ตั้งอยูทีสถาบันประเทศเอเชียและอัฟริกา

Upload: malaystudies

Post on 29-Jul-2015

94 views

Category:

Documents


4 download

DESCRIPTION

Uploaded from Google Docs

TRANSCRIPT

Page 1: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

1

จุลสาร

มลายูศึกษาปริทัศน Malay Studies Review http://nikrakib.blogspot.com ฉบับท่ี 2 7 มกราคม 2010 Email: [email protected]

……………………………………………………………………………….

สวัสดีปใหม 2554 ในโอกาสขึ้นปใหม 2554 ทางคณะผูจัดทํา “จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน” ขออวยพรใหทุกทาน จงมี

ความสุข ประสบความสําเร็จในหนาที่การงาน จุลสารฉบับนี้เปน“จุลสารมลายูศึกษาปริทัศนฉบบัที่ 2” เปนจุลสารที่มีระยะเวลาที่คอนขางหางจาก“จุลสารมลายูศึกษาปริทศัน ฉบับปฐมฤกษ” เปนเดอืนๆ แตก็ถือวาอยูในกรอบที่ไดแจงแลววา“จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน” เปน “จุลสารรายสะดวก” สําหรับจุลสารฉบับนี้หวังวาจะสรางองคความรูเกี่ยวกับประเทศเพื่อนบาน ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของความรู “มลายูศึกษา”ใหพวกเราไดมากยิ่งขึ้น การที่เราพูด “ภาษามลายู”ได สามารถติดตอ ประสานงานกับประเทศเพื่อนบานนั้นยังไมเพียงพอ เราตองรู สังคม วัฒนธรรม วิธีคิด ความเปนมาของประเทศเพือ่นบานดวย ซ่ึงเปนเรื่องที่เกี่ยวของโดยตรงกับวิชา“มลายูศึกษา”ดวย อันจะทาํใหเราสามารถเขาใจประเทศเพื่อนบานไดมากยิ่งขึ้น เพยีงแตในปจจุบนัการมีอยูของวิชา“มลายูศึกษา”ในสถาบันแหงนี้ยังไมไดรับการสนับสนุนเทาทีค่วร แตกตางจาก“มลายูศึกษา”ในสถาบันการศึกษาตางประเทศ บางประเทศใหการสนับสนุนจัดตั้งสถาบันมลายูศึกษา เพื่อศึกษา คนควาเกี่ยวกับโลกมลายู หวังวาในป 2554 นี้ “มลายูศึกษา”ในสถาบันแหงนีจ้ะไดรับการสนับสนุนจากผูบริหารมากขึ้น

เขารูเรา แตเราไมรูเขา เราอาจมองขามถึงความสําคัญของภูมิภาคมลายูหรือที่เรียกในอีกชื่อหนึ่งวา “นูซันตารา - Nusantara” ซ่ึง

เปนพื้นที่โลกวัฒนธรรมมลายู ประกอบดวยประเทศอินโดเนเซีย มาเลเซีย บรูไน สิงคโปร ฟลิปปนส รวมทั้งจังหวดัชายแดนของประเทศไทยดวย แตบางประเทศกลับเห็นถึงความสําคัญของภูมิภาคมลายู จึงมีการสนับสนุน ใหมีการศกึษา คนควา แปลเอกสารที่เกี่ยวกับภูมภิาคมลายู สําหรับ“จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน” ฉบับนี้ เรามารูจักสถาบันที่จัดตัง้ขึ้นเพื่อศึกษาภูมิภาคมลายู ซ่ึงตั้งอยูในกรงุมอสโก ประเทศรุสเซีย

ศูนยวิจัยภูมิภาคมลายู สมาคมภูมิภาคมลายู ประเทศรุสเซีย Nusantara Research Center, Nusantara Society ตั้งอยูที่ 11, Mohovaya str., Moscow 125009 Phone: +7 495 6294221, Fax: +7 495 6293957

สมาคมภูมิภาคมลายู หรือ The Nusantara Society จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 มกราคม1990 สวนศูนยวจิัยภูมภิาคมลายู หรือ Nusantara Research Center จัดตั้งขึ้นเมื่อเดอืนมิถุนายน 1998 ตั้งอยูที ่สถาบันประเทศเอเชียและอฟัริกา

Page 2: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

2

ศึกษา (Institute of Asian and African Countries) ของ Lomonosov State University of Moscow สมาคมภูมิภาคมลายู มีสมาชิกประกอบดวยผูเชี่ยวชาญเฉพาะ, ศาสตราจารย, อาจารยมหาวิทยาลัย, นักศึกษาของสถาบันการศึกษาในกรุงมอสโกและเมืองเซนตปเตอรเบิรก เพื่อทําการศึกษากลุมประชากรที่พูดภาษาออสโตรเนเซีย ซ่ึงตั้งถ่ินฐานอยูในประเทศอนิโดเนเซีย มาเลเซีย บรูไนดารุสสาลาม ฟลิปปนส มาดากัสการและ โอซีเนีย(Oceania) รวมทั้งกลุมประชากรที่พดูภาษาออสโตรเนเซียเปนชนกลุมนอยเชน ประเทศสิงคโปร ประเทศไทย เวียดนาม กัมพูชา และไตหวนั

วัตถุประสงคของสมาคมภมิูภาคมลายคูือ

• เพื่อสรางความสัมพันธกับสถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษาในภูมภิาคมลายู ยุโรป สหรัฐ ออสเตรเลีย และอ่ืนๆ

• เพื่อสงเสริมใหมีการศึกษา การสอนในความรูเกี่ยวกับภมูิภาคมลายู โดยเฉพาะการสอนภาษามลายู/อินโดเนเซียและภาษาออสโตรเนเซียอ่ืนๆ

• เพื่อแลกเปลี่ยนตํารา หนังสอื นิตยสาร และส่ิงพิมพอ่ืนๆระหวางประเทศในภูมิภาคมลายูกับรัสเซีย และรวมจัดนิทรรศการ การแสดง การฉายภาพยนตรและวดิีทัศน

• เพื่อวิจยัรวมกนั จัดการประชุมและการสัมมนารวมกนั • เพื่อสนับสนุนงานวิจยัของนกัศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณทิตศกึษา และประสานใหความสะดวกตอ

ผูเชี่ยวชาญชาวรัสเซีย นักศกึษาระดับปริญญาตรีและบัณทิตศึกษาในการเดินทางไปตางประเทศ

สมาคมภูมิภาคมลายูมีความสัมพันธและรวมมือกับสถาบันการศึกษาตางๆ เชน Institute of World Literature ซ่ึงอยูภายใต Russian Academy of Sciences, หอสมุดที่ช่ือวา State Library of Foreign Literature และ Russian State Library, คณะบูรพาคดีศึกษา (Faculty of Oriental Studies) ของมหาวิทยาลยเซนตปเตอรเบิรก (St. Petersburg University), มหาวิทยาลัยไลเด็น (Leiden University) มหาวิทยาลัยที่ใหกําเนดิวิชามลายูศึกษาเมื่อป 1876 นับถึงปจจุบันมลายูศกึษามีอายไุด 134 ป, Royal Institute of Linguistics and Anthropology (KITLV) ตั้งอยูในประเทศเนเธอรแลนด, มหาวิทยาลัยมาลายา (University of Malaya) และ Dewan Bahasa dan Pustaka (Malaysian Language and Literature Agency) ของประเทศมาเลเซีย

ตราสัญลักษณของสมาคม หนังสือชุด Malay-Indonesian Studies Series

Page 3: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

3

สมาคมภูมิภาคมลายูไดสงเสริมการพิมพหนังสือ รวมทั้งชุด Malay-Indonesian Studies Series โดยสวนหนึ่งเปนบทความวิชาการทีไ่ดจากการประชุมสัมมนา การศึกษาอื่นๆที่เกี่ยวกับสมาคมภูมิภาคมลายูโดยรวมมือกับมหาวิทยาลยเซนตปเตอรเบิรก (St. Petersburg University) โดยสมาคมภูมิภาคมลายูเดิมมีประธานชื่อ Dr. Boris Parnickel เขาเสียชีวิตในป 2007 ขณะมีอายุได 69 ป ตอมาไดประธานสมาคมคนใหม

Dr. Boris Parnickel

คณะกรรมการบริหารสมาคมภูมิภาคมลายู :

• Prof. Villen Sikorsky - ประธาน • Prof. Dr. Alexander Ogloblin - รองประธาน จากมหาวิทยาลัยเซนตปเตอรเบิรก (St. Petersburg

University) เมืองเซนตปเตอรเบิรก • Assoc. Prof. Tatiana Dorofeeva เลขาธิการ จากสถาบันประเทศเอเชยีและอัฟริกาศกึษา(Institute of Asian

and African Countries)ของ Lomonosov State University of Moscow กรุงมอสโก

กรรมการ:

• Prof. Natalia Alieva จาก Institute of Oriental Studies, Russian Academy of Sciences • Assoc. Prof. Yevgenia Kukushkina จาก สถาบันประเทศเอเชียและอฟัริกาศึกษา(Institute of Asian and

African Countries)ของ Lomonosov State University of Moscow • Assoc. Prof. Victor Pogadaev จากมหาวทิยาลัยมาลายา(University Malaya) ประเทศมาเลเซีย • Dr. Anton Zakharov จาก Institute of Oriental Studies, Russian Academy of Sciences • Ms Maria Kulikova นักศึกษาบัณทิตศกึษาจาก Institute of Oriental Studies, Russian Academy of

Sciences

Page 4: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

4

อาจารยแผนกวิชามลายูศึกษารับเหรียญ Anugerah Hang Tuah จากรัฐบาลรัฐมะละกา มาเลเซีย เมื่อ 10 ปที่ผานมา รัฐบาลรัฐมะละกาไดจดัตั้งองคกรหรือปกความสัมพันธระหวางประเทศขึ้นมา โดยใชช่ือวา

องคกรโลกมลายูโลกอิสลาม (Dunia Melayu Dunia Islam) มีวัตถุประสงคหลักเพื่อสรางความสัมพันธระหวางประชากรที่มีวฒันธรรมมลายู และนับถือศาสนาอิสลาม ปจจุบนัมีกรรมการบริหารที่มาจากประเทศสมาชิก เชน มาเลเซีย อินโดเนเซีย บรูไน สิงคโปร ฟลิปปนส ประเทศไทย ศรีลังกา มาดากัสการ อัฟริกาใต อังกฤษ ออสเตรเลีย กัมพูชา และจีน ในปจจบุันองคกรโลกมลายูโลกอิสลาม (Dunia Melayu Dunia Islam)ไดดําเนินกิจกรรมทางสงัคม และเศรษฐกิจ เชน จัดสรางศูนยดแูลเด็กกําพราจากสึนามิที่อาเจะห อินโดเนเซีย รวมสรางศูนยอัลกุรอานที่เกาะบาตัม อินโดเนเซีย ใหการชวยเหลือผูประสบภัยทางธรรมชาติในประเทศฟลิปปนส อินโดเนเซีย สรางโรงพยาบาลที่กรุงโคลัมโบ ประเทศศรลัีงกา และกาํลังจะสรางศูนยภาษาและวฒันธรรมมลายูที่กรุงมะนิลา ประเทศฟลิปปนส นอกจากนัน้ทางองคกรโลกมลายูโลกอิสลาม (Dunia Melayu Dunia Islam)ไดขยายกิจกรรมทางการเงิน โดยการจัดตั้งสถาบันการเงิน ช่ือวา DMDI Finance สถาบันการเงินนี้มีบรรษัทสํานักมุขมนตรีรัฐมะละกา (Chief Minister Incorporated of Melaka) เปนผูหุนทั้งหมด สําหรับบรรษัทสํานักมุขมนตรีรัฐมะละกานี้มีสินทรัพยทั้งหมด 1 พันลานริงกิต (ประมาณ 1 หมื่นลานบาท) ดานการศึกษานัน้ไดมีการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษามีช่ือวา DMDI International College และมีการประสานงานกับ International Peace University ที่เมืองเคปทาวน ประเทศอัฟริกาใต โดยมีการสงอาจารยสอนภาษามลายใูหแกชุมชนชาวมลายูในประเทศอัฟริกาใต เปนชุมชนชาวมลายูที่อพยพมาจากภูมภิาคมลายู ซ่ึงรูจักในนามชาวมลายูแหลม หรือ The Cape Malay

งานการมอบเหรียญครั้งนี้จดัขึ้นเมื่อวนัที่ 11 พฤศจิกายน 2553 ที่เมืองบาตัม กะบาตัม ประเทศอินโดเนเซยี กําหนดการเดมิ ประธานาธิบดีสุสิโล บัมบัง ยุโธโยโน ของประเทศอินโดเนเซียจะเปนประธานในพิธีและเปนผูมอบเหรียญ แตดวยชวงเวลาดังกลาวประธานาธิบดี บารัค โอบามาไดเดนิทางมาเยี่ยมประเทศอินโดเนเซีย ทําใหมุขมนตรีรัฐมะละกาตองทําหนาที่ประธานพิธีเปดเอง พรอมเปนผูมอบเหรียญ ในวันดังกลาวมีการมอบเหรียญ Anugerah Temenggung และ Anugerah Hang Tuah แกผูที่มีผลงานดานพัฒนาสังคม และสรางความสัมพันธระหวางประเทศ สําหรับปนี้ผูที่ไดรับเหรียญ Anugerah Temenggung มีอยู 2 คน และผูที่ไดรับเหรียญ Anugerah Hang Tuah มีอยู 6 คน นอกจากนั้นมีการมอบรางวัลแกตวัแทนองคกรที่มีการฟนฟูศิลปวัฒนธรรมมลาย ู ซ่ึงเรียกวา Anugerah Tokoh Penggerak Budaya และปนี้ดวยเกดิเหตุการณภูเขาไฟเมอราปรระเบิด คล่ืนสึนามิที่เกาะมนึตาไว ในประเทศอินโดเนเซีย ทําใหรัฐมะละกาผานองคกรโลกมลายูโลกอิสลาม (Dunia Melayu Dunia Islam)มอบเงินชวยเหลือทั้งหมดจํานวน 9 หมื่นริงกิต หรือประมาณ 9 แสนบาท

สําหรับการมอบเหรียญ Anugerah Hang Tuah แกอาจารยแผนกวิชามลายูศึกษาในครัง้นี้ ถือเปนการมอบแกผูมีผลงานดานการสรางความสัมพันธระหวางประเทศ รวมทั้งการสรางเครือขาย ความรวมมือระหวางประเทศในโลกวัฒนธรรมมลายู สําหรับแผนกวิชามลายูศกึษาไดรวมมือกับองคกรโลกมลายูโลกอิสลาม (Dunia Melayu Dunia Islam) ตั้งแตป 2549 มีการสงนักศึกษาเขารวมกิจกรรมตางๆที่ทางองคกรจัด เชนการประชุมใหญประจําปที่รัฐมะละกา การเขารวมคายเยาวชนเปนเวลา 1 สัปดาหที่รัฐมะละกา การเขารวมประชุมสมัมนาในรัฐตางๆที่ทางองคกร

Page 5: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

5

ใหการสนับสนุนงบประมาณ นอกจากนัน้ยังเขารวมในโครงการทางเศรษฐกิจ และสงคมที่ทางองคกรจัด สําหรับโครงการรูจักประเทศเพื่อนบานที่ทางแผนกวิชามลายูศกึษาจดัทุกปในชวงปดการเรียนภาคฤดูรอน เมื่อเดินทางไปยังรัฐมะละกาก็จะไดรับการสนบัสนุนดานอาหารและการเดนิทางภายในรฐัมะละกาจากทางองคกร ซ่ึงสิ่งเหลานี้สามารถยืนยันถึงความสัมพันธระหวางประเทศที่แผนกวชิามลายูศึกษามีอยู ดาโตะศรี มูฮัมหมัดอาลี มูฮัมหมัดรุสตัม มุขมนตรีรัฐมะละกา ติดเหรียญ Anugerah Hang Tuah นายนิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน กับนายฮัมซะห ฮัมดานี ตัวแทนองคกร “สหพันธนักเขียนแหงชาติมาเลเซีย – Gabungan Persatuan Penulis Nasional Malaysia” ซ่ึงรับเหรียญ Anugerah Tokoh Penggerak Budaya ในฐานะที่เปนองคกรที่มบีทบาทดานวฒันธรรมมลายูในประเทศมาเลเซีย และสรางความสัมพันธกับโลกวัฒนธรรมมลายู

Page 6: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

6

ผศ. ดร. บาฮารุดดิน ปูเตะห (Dr. Baharuddin Puteh) Dr. Zenaida D. Pangandaman-Gania รองอธิการบดี Islamic University College of Malacca อาจารยจาก Mindanao State University มินดาเนา เปนหนึ่งในผูรับเหรียญ Anugerah Hang Tuah ฟลิปปนส เปนผูรับเหรียญ Tun Fatimah วิชามลายูศึกษากับการเรียนการสอนในตางประเทศ วิชามลายูศึกษานั้นเปนวิชาทีเ่กิดขึ้นในตางประเทศ โดยเริ่มเกิดขึ้นในป 1876 ที่ประเทศเนเธอรแลนด วิชามลายูศึกษาแรกเริ่มนั้น เปนการเรียนรูของชาติตะวนัตกตอชนชาวมลายู โดยใชวิชามลายูศึกษาเพือ่เขามายึดครองภูมิภาคมลายู นอกจากมกีารเรียนการสอนวิชามลายูศึกษาในมหาวิทยาลัยไลเด็น ซ่ึงเปนแหลงกําเนดิของวิชามลายูศึกษาจนกระทั่งถึงปจจุบันแลว วิชามลายูศึกษาซึ่งรวมถึงการเรียนรูเกี่ยวกับภาษามลายูอยูดวย มกีารขยายการเรียนการสอนไปทั่วโลก ซ่ึงในทีน่ี้ขอกลาวเฉพาะที่สําคัญๆคือ วิชามลายูศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา มลายูศึกษาเริม่ขึ้นในสหรัฐในศตวรรษที่ 19 โดย Charles Scott ไดเขียนบทความเรื่อง The Malayan Words in English ในวารสารที่ช่ือ Journal of The American Oriental Society (1896-1897) โดย Charles Scott กลาววามีคําภาษามลายูไมนอยกวา 150 คําที่ในภาษาองักฤษ มีคําภาษามลายูในภาษาอังกฤษหลายคําที่ใชอยู เชน Rambutan (แรมบิวตัน) – ลูกเงาะ Rattan (รอตแตน) – หวาย Paddy (แฟดดี้) – ขาวเปลือก ชาวสหรัฐคนแรกที่เรียนภาษามลายูคือ นาย David Woodard ดวยเขาถูกจับกมุที่เกาะสุลาเวซใีนป 1793 คําศัพทที่เขาจดบันทึกไวไดมีการพิมพที่กรุงลอนดอนในป 1805 ภายหลังป 1945 ดวยความชวยเหลือของนาย Amat Haji Amir (เกิดที่มาเลเซีย), นาย Amat Awal และนาย Isidore Dyen ถือเปนยุคใหมของการเรียนรูเกีย่วกับมลายูศึกษา มีการขยายการเรียนเกีย่วกับมลายูศึกษาในมหาวิทยาลัยตางๆในสหรัฐ ซ่ึงภาษามลายูเปนสวนหนึ่งของมลายูศึกษาดวย โดยวชิามลายูศึกษาเปนสวนหนึ่งของสาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใตศกึษา มหาวิทยาลยั

Page 7: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

7

เหลานั้นมีจํานวน 11 แหง เชน Arizona State University, University of Calfornia (Berkeley), Cornell University University of Hawaii, University of Michigan, University of Northern Illinois, Ohio University, University of Oregon, University of Washingon, University of Wisconsin และ University of Yale มลายูศึกษาในประเทศออสเตรเลียและนิซีแลนด มีการจัดตั้งศูนยภาษามลายูขึน้ในประเทศออสเตรเลีย โดยรัฐบาลออสเตรเลียไดกําหนดใหมหาวิทยาลัย 3 แหงมีการเรยีนการสอนเกีย่วกับมลายู/อินโดเนเซีย ในป 1956 มหาวิทยาลัยดังกลาวประกอบดวย University of Sydney, University of Melbourne และ Canbera University College (ตอมา Canbera University College ยกฐานะเปน Australia National University) การเรียนการสอนเนนภาษามลายูและวัฒนธรรมมลายู ตอมาในป 1964 Monash University และ University of Melbourne มีการจัดตั้งแผนกวชิามลายูศึกษา สําหรับในประเทศนวิซีแลนดก็มกีารเรียนการสอนเกีย่วกับมลายูศกึษา ในมหาวทิยาลัยเวลลิงตัน มีการตั้ง Malay Studies Chair เพื่อการเรียนการสอนในประเทศนิวซีแลนด มลายูศึกษาในประเทศเนเธอรแลนด มหวิทยาลัยไลเด็น(Leiden University) ประเทศเนเธอรแลนด ตั้งขึ้นในป 1575 เปนแหลงแรกที่กําเนิดของวิชามลายูศึกษา โดยเริ่มเกิดขึ้นในป 1876 เนนเกี่ยวกับภาษา วัฒนธรรม วรรณกรรมอินโดเนเซีย นอกจากนั้นยงัมีการสอนเกี่ยวกับภาษาชวา ความรูเกี่ยวกบัชาติพันธุในอินโดเนเซีย จนถึงปจจุบนัมหาวิทยาลัยเด็นแหงนี้ก็ยงัเปดสอนระดับปรญิญาโทดานมลายูศึกษา แบงออกเปนสาขาภาษาและวัฒนธรรมมลายู/อินโดเนเซีย ภาษาและวัฒนธรรมชวา นอกจากแผนกวิชาอินโดเนเซียศกึษาที่มหาวิทยาลัยไลเด็นแลว ยงัมีอีกสถาบันหนึ่งที่เกีย่วของกับมลายูศึกษา คอื Koninklik Koninklik Instituut voor Taal, Land, en Volkenkunde (Royal Institute of Linguistics and Anthropology) ซ่ึงจัดตัง้ในป 1851 ถือเปนหนึง่แหลงขอมูลเก่ียวกับมลายูศึกษาท่ีดีท่ีสุดในยุโรป

นักวิชาการมหาวิทยาลัยมาลายาที่ช่ือ Prof. Dato’ Dr. Abu Hassan Mohd. Sham ผูทําศึกษาวจิยัเกีย่วกับเอกสารมลายูศึกษาที่มหาวทิยาลัยไลเดน็เปนเวลา 1 ป ไดกลาววามีเอกสารจํานวนมากเก็บไวที่ประเทศเนเธอรแลนด มลายูศึกษาในประเทศจีน ในประเทศจีนนั้นไดมกีารจดัตั้งศูนยมลายศูึกษาขึ้นครั้งแรกเมื่อป 1927 ที่มหาวิทยาลัยจีหนาน เมืองเซียงไห โดยเปนสวนหนึ่งของภาควชิาวัฒนธรรมโพนทะเล ในชวงสงครามญี่ปุนนั้นทาง The South Sea Society ไดยายศูนยการทํางานออกจากสิงคโปรไปยังประเทศจีนในป 1942 ถือไดวา The South Sea Society มีบทบาทสําคัญตอจีนในเร่ืองเกี่ยวกับภมูิภาคมลายู ในป 1949 แผนกวิชามลายูไดเขาเปนสวนหนึ่งของคณะภาษาตะวนัออก มหาวิทยาลัยปกกิ่ง และเปลี่ยนชื่อเปนแผนกวิชาภาษาอินโดเนเซีย ซ่ึงถือเปนการเรียนเกี่ยวกับมลายูศกึษาแรกที่เกดิขึ้น ภายหลังจากทีม่ีการจัดตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยเนนการเรียนการสอนดานภาษา วรรณกรรม วัฒนธรรม และประวัติศาสตรของอินโดเนเซีย/มลาย ู ในป 1988 มหาวิทยาลัยปกกิ่งไดจดัตั้งสถาบันวิจยัขึ้นมาชื่อวา

Page 8: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

8

สถาบันวิจัยวฒันธรรมอินโดเนเซีย/มลายู จนถึงปจจุบนัในประเทศจนีมีสถาบันที่มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับมลายูศึกษาถึง 12 แหง ที่มีช่ือเสยีงเชน มหาวทิยาลัยปกกิ่ง, มหาวิทยาลัยเกียเหมิน, มหาวิทยาลัยจีหนาน, สถาบันวจิัยเอเชียตะวันออกเฉียงใต ยหูนาน, สถาบนัวิจยัเอเชยี-แปซิฟก ปกกิ่ง และอื่นๆ

มลายูศึกษาในประเทศอิตาลี สําหรับประเทศอิตาลีนั้น ความรูเกี่ยวกบัมลายูศึกษาไดรับความสนใจมาตั้งแตศตวรรษที่ 16 โดยนาย Antonio Pigafetta เปนชาวอิตาลีที่เดินทางมายังภูมภิาคมลายูพรอมกบันักเดนิเรือชาวโปรตุเกสทีม่ีกัปตันเรือช่ือนาย Fernao de Magalhaes การเรียนการสอนในประเทศอติาลีนั้น มีการจัดตั้งแผนกวชิามลายูศึกษาขึ้นครั้งแรกในป 1964 โดยนกับูรพาคดีที่ช่ือวา Prof. Allesandro Bausani ในสถาบันที่ช่ือวา Instituto Universitario Orientale ที่เมืองนาโปลี ประเทศอิตาลี สถาบันแหงนี้เปนสถาบันที่สอนเกี่ยวกับภาษาตางประเทศ สําหรับแผนกมลายู/อินโดเนเซียที่สถาบันแหงนี้ไดรับความสนใจจากคนรุนใหมที่ตองการเรียนรูเกีย่วกับภมูิภาคมลาย ู มลายูศึกษาในประเทศเยอรมัน ในประเทศเยอรมันนั้น วิชามลายูศึกษามกีารเรียนการสอนบางแหงดําเนินการโดยมหาวิทยาลัย แตสวนหนึ่งดําเนินการโดยพิพิธภณัฑสถาน มีการจดัตั้งแผนกวิชามลายูศึกษาขึ้นครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยฮัมเบริก (Hamburge University) เรียกวาแผนกวิชาภาษาอินโดเนเซียและภาษาโอซีเนีย (Indonesian Language and Oseania Languages) นอกจากนัน้ในมหาวิทยาลัยบอนน (Bonn University) ก็มีการเรียนการสอนภาษาอนิโดเนเซีย สวนในมหาวิทยาลยัปาซาว (Passau University) เร่ิมมีการเรียนการสอนเกีย่วกับมลายูศกึษาในตนทศวรรษที่ 1980 การเรียนการสอนเกี่ยวกับมลายูศึกษาในปจจุบันดําเนินการในคณะมนุษยศาสตรที่มหาวิทยาลัยโคโลน และที่คณะสังคมวทิยา มหาวิทยาลัยบีเลฟลด (Bielefeld University) ในมหาวิทยาลัยโคโลนมีสถาบันที่ช่ือวา Institut fur Volkerkunde ไดทําการศึกษาเกีย่วกบัชุมชนชาวเลเผาโอรักลาโวย ชาวเลเผามอแกน และชุมชนชาวมลายู รวมทั้งชุมชนอื่นๆในภูมภิาคมลายู สวนมหาวิทยาลัยบีเลฟลดนั้น ประมาณป 2543 ทางคณะสังคมวิทยาของมหาวิทยาลัยดงักลาวไดประสานงานกับภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี นํานักศกึษาปริญญาโทของมหาวิทยาลัยบเีลฟลดลงภาคสนามในภูมภิาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตจํานวน 12 คน โดยนกัศึกษาดังกลาวไดลงทําการศึกษาวจิัยเกีย่วกับเอเชียตะวนัออกเฉียงใต ทั้งหมดเกี่ยวของโดยตรงกบัวิชามลายูศึกษา โดยลงภาคสนามในประเทศมาเลเซีย โดยใชมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตาน ีเปนฐานในการศึกษาวิจยัคร้ังนั้น มลายูศึกษาในประเทศฝรั่งเศส ในประเทศฝรัง่เศสนั้นมีการจัดตั้งศูนยศึกษาภาษามลายขูึ้น โดยตั้งผูอํานวยการศึกษาภาษามลายูในยุโรป ขึ้นในสถาบันที่ช่ือวา Ecole des Languages Orientes เมื่อวันที่ 2 กันยายน ป 1844 มีนาย Edmund Dulaurier เปน

Page 9: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

9

ผูอํานวยการ โดยมีการแปลหนังสือภาษามลายูที่ช่ือวา Kitab Pelayaran Abdullah ในป 1850 และมกีารผลิตพจนานกุรมภาษามลาย-ูฝร่ังเศส แตไมเสร็จสมบูรณ นอกจากนั้นสถาบันวิชาการที่ศึกษาเกี่ยวกบัมลายูศึกษา เชน สถาบันที่ช่ือวา Ecole Francais d’Extreme Orient มีการศึกษาวจิัยเกี่ยวกบัชนชาวจามในกลุมประเทศอินโดจีน, สถาบันที่ช่ือวา Institut National des Languaes et civilizations orientales เปนสถานที่ศึกษาเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมตะวันออก ตั้งอยูในกรุงปารีส โดยสถาบันนี้เร่ิมสอนภาษามลายูในป 1841 มีการจัดตั้งฝายภาษามลายูขึน้ในมหาวิทยาลัย La Havre และมหาวิทยาลัย La Rochelle โดยในมหาวทิยาลัย La Rochelle มีการจัดตั้งสถาบันโลกมลายู หรือ Maison du Monde Malais มีชื่อเปนภาษามลายูวา Wisma Dunia Melayu มีผูอํานวยการชื่อ Philippe Grange’ ซ่ึงมีความชํานาญเกี่ยวกับชนชาวบาจาว ท้ังในประเทศมาเลเซีย, อินโดเนเซีย และฟลิปปนส มีสถาบันการศึกษาที่สอนเกีย่วกับภาษาและวัฒนธรรมมลายูอีกหลายแหงในประเทศฝรั่งเศส เชน Ecole des Hautes etudes en sciences sociales (ประวัติศาสตรและมนุษยวิทยา) ของคณะสังคมวิทยาและมนษุยวทิยามหาวิทยาลัยปารีส และคณะมานษุยวทิยาของมหาวทิยาลัย Aix-en-Provence และมีสถาบันที่ทําการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับภูมิภาคมลายูที่มีช่ือเสียงคือ Centre national de la recherché scientifique, Musee Guimet, Musee d’Histoire naturelle Musee del Homeme โดยสถาบันนี้ผลิตวารสารที่เกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใตดวย มีช่ือวา Archipel ตั้งแตป 1973 Philippe Grange’ มลายูศึกษาในประเทศอังกฤษ ประเทศอังกฤษถือเปนอีกประเทศหนึ่งที่มคีวามสําคัญดานมลายูศึกษา ดวยประเทศเนเธอรแลนด หรือ ฮอลันดานั้นเปนเจาอาณานคิมอินโดเนเซยี ดังนั้นเอกสาร ขอมูล วัตถุทางประวัติศาสตร ส่ิงของสําคัญของอินโดเนเซีย ถูกนําไปเก็บรักษายังประเทศเนเธอรแลนด สวนประเทศอังกฤษนั้นเปนเจาอาณานิคมของมาเลเซีย ดังนั้นเอกสาร ขอมลู วัตถุทางประวัติศาสตร ส่ิงของสําคัญของประเทศมาเลเซีย บรูไน ปตตานี สวนหนึ่งจึงถูกนําไปเก็บรักษาไวในประเทศอังกฤษ ดังนั้นเอกสาร ขอมลู งานวิจัย งานที่เกีย่วของกบัมลายูศึกษาจงึถูกเก็บรักษาไวในประเทศทั้งสองเปนจํานวนมาก

Page 10: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

10

ชาวอังกฤษเริม่ศึกษาเกี่ยวกบัมลายูศึกษาโดยเฉพาะเรื่องภาษามลายูมาตั้งแตศตวรรษที่ 16 มีการผลิตพจนานกุรมภาษาอังกฤษ-ภาษามลายูตั้งแตศตวรรษที่ 16 เชน Spalding (1614), Bowrey (1701), Marden (1812), Wilkinson (1901) การศึกษาเกีย่วกับมลายูศึกษาในประเทศอังกฤษนัน้ แรกเริ่มเปนเรื่องของปจเจกบุคคลมากกวาจะเปนของสถาบันวิชาการ นักวิชาการทีศ่ึกษาเกี่ยวกับมลายูศึกษา เชน Blagden, Clifford, Crawfurd, Stamford Raffles, Gimlette, Leyden, Logan, Marden, Maxwell, Newbold, Shellabear, William Skeat, Swettenham และWinstedt การศึกษาดานมลายูศึกษาทีเ่ร่ิมเกีย่วของกับสถาบันวิชาการนัน้ เมื่อมกีารจดัตั้งสถาบันที่ช่ือวา School of Oriental and African Studies อยูภายใต University of London จึงมีการศึกษาดานมลายูศึกษาภายใตสถาบันดังกลาว และเอกสาร ขอมูล งานวิจัย งานที่เกีย่วของกับมลายูศกึษาจํานวนหนึ่งถูกเก็บรักษาไวที่ School of Oriental and African Studies นอกจากสถาบนัขางตนแลว ยังมีการเรยีนการสอนเกีย่วกับมลายูศึกษาที่มหาวิทยาลัยฮัลล (University of Hull) โดยสถาบันที่ช่ือวา School of Oriental and African Studies จะเนนดานสังคมวิทยา สวนมหาวิทยาลัยฮัลลจะเนนดานมานษุยวิทยา

มลายูศึกษาในประเทศญี่ปุน การเรียนการสอนภาษาและวฒันธรรมมลายูเร่ิมมีขึ้นนานแลวในประเทศญี่ปุน กลาวกันวาภาษามลายูเร่ิมมี

การเรียนการสอนในประเทศญี่ปุนตั้งแตป 1908 ที่ Tokyo University of Foreign Studies (TUFS) อยางไรก็ตามนักวิชาการบางคน กลาววาประเทศญี่ปุนมีการเรียนการสอนภาษามลายูตั้งแตป 1925 ที่ Tenri University คนญี่ปุนเปนคนที่ผลิตและแปลหนังสือวรรณกรรมภาษามลายูจํานวนมาก ตามรายงานการวิจยัของ Yamaguchi Masao นักวชิาการจาก Setsunan University กลาววาหนังสือที่เกาแกที่สุดคือ พจนานุกรมภาษามลายู-ญ่ีปุนในป 1908และหนังสือการฝกพูดภาษามลายูทีไ่ดรับการแปลเปนภาษาญี่ปุนในป1910 ภายในสงครามโลกครั้งที่สอง มีงานเขียนมากกวา 100 เลม ทั้งที่เปนหนงัสือไวยากรณ หนังสืออานเลน ตําราภาษา การฝกพูด ภาษาศาสตร พจนานกุรม และอื่นๆ

ในปจจุบนัมีการเรียนการสอนวิชามลายู/อินโดเนเซียศึกษาในระดับปรญิญาตรีที่มหาวิทยาลัยตางๆ เชน Tokyo University of Foreign Studies (TUFS), Tenri University, Osaka University of Foreign Studies (OUFS), Kyoto Sanyo University (KSU) และ Setsunan University (SU) สําหรับระดบัปริญญาโทนั้นมีการเปดสอนในมหาวิทยาลัยตางๆ เชน Tokyo University of Foreign Studies (TUFS), Tenri University, Osaka University of Foreign Studies (OUFS สวนการเรียนการสอนเกี่ยวกับภาษามลายูนั้นมมีหาวิทยาลัยทีเ่ปดสอน ประมาณ 20 แหง

มลายูศึกษาในประเทศเกาหลีใต สําหรับประเทศเกาหลีมีการเรียนการสอนเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมมลายในหลายมหาวิทยาลัย เพราะ

ประเทศเกาหลีก็จําเปนตองธุรกิจการคากบักลุมประเทศภูมิภาคมลายู ในประเทศเกาหลีใตมีมหาวิทยาลัยที่สอนเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมมลายูที่มีช่ือเสียง เชน Hankuk University of Foreign Studies (HUFS), Pusan University of Foreign Studies(PUSF)

Page 11: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

11

มลายูศึกษาในละตินอเมริกา นอกจากประเทศที่กลาวมาแลวขางตน การเรียนการสอนเกี่ยวกับมลยศูึกษายังมีอีกในหลายประเทศ เชน

ประเทศอารเจนตินา ในภาควิชาบูรพาศึกษา (School of Oriental Studies)ของคณะรฐัศาสตร มหาวิทยาลัย เดล ซัลวาดอร (Universidad Del Salvador) ภายใตการนําของ ดร. อิสมาแอล ควีเลส (Dr. Ismail Quiles)

ผลผลิตวิชาเอกมลายูศึกษาแหง มอ. ปตตานี ในมอ. ปตตานี มีสองสาขาวิชาที่มีความสมัพันธกันคือแผนกวิชาภาษามลายู และแผนกวิชามลายูศกึษา แม

ในปจจุบนัทั้งสองแผนกวิชาไดรวมกนัเปนแผนกวิชาภาษามลายูและมลายูศึกษา แตการเรียนการสอนมีความแตกตางกัน นั้นคือวิชาเอกภาษามลายูจะทําการศึกษาทุกดานเกี่ยวกบัภาษามลาย ู และ วรรณกรรมมลายู สวนวิชาเอกมลายูศกึษาจะทําการศึกษาเกี่ยวกับภาษา วรรณกรรม ประวัติศาสตร การเมืองการปกครอง กฎหมาย เศรษฐกิจ สังคม ของชาติพันธุมลายู เปนวิชาเอกที่มลัีกษณะบูรณาการ นอกจากนักศกึษาตองเรียนกับอาจารยวิชาเอกมลายูศกึษาแลว ยังตองเรียนวิชาภาษามลายกูับอาจารยจากวิชาเอกภาษามลายู เรียนวิชาภูมิศาสตรภูมภิาคมลายูกับ ศาสตราจาย ดร. ครองชัย หัตถา จากภาควิชาภมูิศาสตร เรียนวิชาระเบียบวิธีการวิจยัทางสังคมศาสตรกับ ผศ. มานพ จิตตภูษา จากภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

วิชาเอกมลายูศกึษาก็เหมือนวชิาเอกอื่นๆของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ที่ผลิตบัณทิตออกมารับใชสังคม มีทั้งที่ประสบความสําเร็จและไดรับการยอมรบัจากสังคม ตอไปนี้คือสวนหนึ่งของบณัทิตมลายูศึกษา

นายอันวาร หะยดีามะ นายอับดุลฮันนาน หวาหลํา สองอดีตนักศึกษาวิชาเอกมลายูศึกษา ทีป่จจุบันทํางานเกี่ยวกับการประมงน้ําลึกระหวางประเทศ โดยทําหนาที่เปนผูดแูลบริษัทการประมงไทยในประเทศมาเลเซีย มีฐานการปฏิบัติงานอยูในรัฐซาราวัค

Page 12: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

12

อาจารยวนิดา เตะหลง อาจารยประจําคณะศิลปศาสตร อาจารยมูฮัมหมัดอาหลี มาลินี ม. สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ ม. เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย รัตตภูมิ จ.สงขลา นายยาฮารี กาเซ็ง เจาหนาที่ฝายพฒันานักศกึษา นายนายบูรฮานูดิง นิเกาะ วิทยาลัยอิสลามศึกษา ม. สงขลานครินทร เจาหนาที่สํานักงานยตุธิรรมจังหวัดปตตาน ี นายซาการียา อาแว ครูภาษามลายู นางสาว อะอิฉะ ขุนฤทธิ์ ผูชวยหวัหนาฝายจัดซื้อ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวดปตตาน ี บริษัทซุปเปอรชีปจํากัด จังหวดัภูเก็ต

Page 13: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

13

นางสาวนิตยา เหมหมนั นางสาวนูรีดา สะมะแอ เจาหนาที่สํานักงานวัฒนธรรมจังหวดัสตูล เจาหนาที่ภาคพื้นดนิ สายการบนิแอรเอเชีย ประจํากรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย นางสาวแวซูฮัยณ ี อูมา นางสาวนัสรินทร แซซะ ประกอบธุรกิจสวนตวัในรัฐเปอรลิส มาเลเซีย เจาหนาที่ปฏิบัติงานโครงการพัฒนาเดก็และเยาวชน โครงการรวมระหวางสถานพินิจสงขลากับยูนเิซฟ นางสาวรุสมีนี สามานุง มาลาตี หวังใบอะ เจาหนาที่ตรวจสอบสัญชาติและพฤติการณ เจาหนาที่โครงการพระราชดําริ ฯ สํานักงานหนังสือเดนิทางชั่วคราว จังหวดัยะลา อําเภอสะบายอย จังหวัดสงขลา

Page 14: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

14

นางสาวฟาตีมะห นิกือจิ นางสาวนูรฮูดา ฮะสะแต เจาหนาที่ประสานงานทางการศึกษาระหวางกลุมอาเซี่ยน ครูภาษามลายู โรงเรียนสตรียะลา โครงการรวมระหวางกรมอาเซี่ยนกับกระทรวงศึกษาธกิาร

Study Abroad ปจจุบัน มอ. โดยเฉพาะคณะมนุษยศาสตรไดมีการสงเสริมใหนักศกึษาไดเดนิทางไปทัศนศึกษา หรือ ศึกษาชวงส้ันๆในประเทศเพื่อนบาน หรือที่เรียกวา Study Abroad ซ่ึงจะทําใหนกัศึกษารูจักประเทศเพื่อนบานมากยิ่งขึ้น สําหรับนักศึกษามลายูศึกษานั้น สามารถกลาวไดวา “เราทํามานานแลว” และไมเพียงเดนิทางไปเรียนรูเกีย่วกบัวิถีชีวิต วัฒนธรรมของชาวมลายูในประเทศมาเลเซียเทานัน้ แตบางคนไดเดนิทางไปยังประเทศสิงคโปร อินโดเนเซีย ฟลิปปนส และบรูไน จนสามารถกลาวไดวานกัศึกษามลายูศึกษาไดเดินทางไปยังกลุมประเทศโลกวัฒนธรรมมลายู (Malay Culture World)มาทุกประเทศแลว เพียงไมมกีารโฆษณาประชาสัมพันธใหประชาคม มอ. ปตตานีไดรับรูเทานั้น ตอไปนี้เปนสิ่งที่นกัศึกษามลายูศกึษาไดสัมผัสมาแลว

Page 15: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

15

นักศึกษาวิชาเอกมลายูศึกษา เดนิทางไปประเทศอินโดเนเซีย โดยเดินทางไปยงัพิพิธภัณฑฆาชามาดา และพิพิธภัณฑแหงชาติ อินโดเนเซีย ซ่ึงตั้งอยูในกรุงจาการตา นอกจากนั้นเดินทางไปยังบริเวณพื้นที่ซุนดาเกอลาปา พื้นที่แรกที่มกีารสรางเมืองจาการตา รวมทั้งเดนิทางไปยังมหาวิทยาลัยอินโดเนเซีย, สถาบันศิลปะกรุงจาการตา และสถาบันเทคโนโลยี่บันดงุ เมืองบันดุง นางสาวซีตีอาอีเสาะ อูมา และนางสาวฟาตีมะห นิกือจิ นางสาวซัลมา อาดัม นักศึกษาวชิาเอกมลายูศกึษา เดนิทางไปกรุงมะนิลา นักศึกษาวิชาเอกมลายูศกึษาผูเดินทางเขารวมแขงขัน โดยไดเดินทางไปมหาวิทยาลัยแหงฟลิปปนส(UP) การอานคัมภีรอัลกุรอานที่ประเทศบรูไน

Page 16: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

16

นางสาวซีตีอาเอเสาะ อูมา และนายมะบักกรี เจะเลาะ นางสาวกามีละ การเด และนางสาวอาพีนี โตะแว รวมสังเกตการณการเลือกตั้งครงที่ 12 ของมาเลเซีย รวมคณะวจิัยสํารวจเอกสารทางประวัติศาสตรปตตานี ในหอจดหมายเหตุแหงชาติของมาเลเซียและสิงคโปร นักศึกษามลายูศึกษารวมโครงการครอบครัวอุปถัมภที ่ นักศึกษามลายูศึกษารวมโครงการฝกอบรมการเขียน รัฐนัครีซัมบีลัน มาเลเซีย และเยีย่มตํานกักษัตริยทองถ่ิน จัดโดยสมาคมนกเขียนแหงชาติมาเลเซีย (PENA) (Undang Luak) แหงเมืองเริมบาว รัฐนัครีซัมบีลัน จัดที่รีสอรตแหงหนึ่งในรัฐสลังงอร มาเลเซีย

Page 17: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

17

นักศึกษามลายูศึกษารวมการจําลองพิธีการแตงงานตาม นักศึกษามลายูศึกษารวมโครงการครอบครัวอุปถัมภที ่ จารีตประเพณีอาดัตเปอรปาเตะห (Adat Perpateh) อําเภอบือรา รัฐปาหัง โดยนักศึกษาไดเรียนรูถึงวิถีชีวิต ของชาวมีนังกาเบา (Minangkabau) รัฐนัครีซัมบีลัน ของชาวสวนปาลมน้ํามันในประเทศมาเลเซีย สภาพวันสดุทายของโครงการครอบครัวอุปถมภที่รัฐปาหัง ประเทศมาเลเซีย ความสัมพันธระหวางนักศกึษา กับครอบครัวอุปถัมภไดแสดงออกในวนัสุดทาย นกัศึกษาสวนหนึง่ยังคงมีความสัมพันธกับนกัศึกษา มกีาร ติดตอซ่ึงกนัและกนั ในโครงการครอบครัวอุปถัมภที่ไดจัดทกุปนี ้ มีอยูครอบครัวหนึ่งทีใ่หความรักกับนักศกึษา โดยใหเงินคาขนมวันละ 10 ริงกิต (100 บาท) จนจบโครงการ

Page 18: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

18

โครงการ Study Abroad ที่ช่ือวา โครงการรูจักประเทศเพื่อนบาน ใชเวลาในการเดินทาง 1 เดือน โดยเดินทางไปทุกรัฐในแหลมมลายู และประเทศสิงคโปร ทําใหนักศกึษามลายูศึกษาไดรูจักสภาพบานเมือง วิถีชีวิตของชาวมาเลเซียในทกุรัฐในแหลมมลายู และประเทศสิงคโปร โดยเฉพาะในรัฐนัครีซัมบีลัน มีคุณอับดุลราซัค หลานของภรรยานายกรฐัมนตรีมาเลเซียเปนผูชวยเหลือในการเดนิทาง นักศึกษามลายูศึกษาทีไ่ดรับทุนการศึกษาภาษาอินโดเนเซีย นกัศึกษามลายูศึกษาเขารวมโครงการคายเยาวชน ทุน Darmasiswa เปนเวลา 1 ป ที่ประเทศอินโดเนเซีย กับเยาวชนมาเลเซียและอินโดเนเซีย ทีรั่ฐมะละกา

Page 19: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

19

การลงภาคสนามภายในจงัหวัดชายแดนภาคใต การลงภาคสนามของนักศึกษาวิชาเอกมลายูศึกษาไมเพยีงลงภาคสนามเพื่อรูจักประเทศเพื่อนบานเทานั้น

การลงภาคสนามในพื้นทีจ่ังหวัดชายแดนภาคใตกไ็ดดําเนินการทุกภาคการเรียน โดยเฉพาะในสวนที่เกีย่วของกบัอารยธรรมมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต นักศึกษามลายูศึกษาลงพืน้ที่บริเวณอาวปตตานี ภายใต นักศึกษามลายูศึกษาทัศนศกึษา ณ สุสานเชคซาอิด การนําของ ศ. ดร. ครองชย หัตถา นักภูมิศาสตรเชิง อัลบาซีซา ผูทําใหเจาเมืองปตตานีเขารับศาสนาอิสลาม ประวัติศาสตร (Historical Geography) จากภาควิชาภูม-ิ ศาสตร นักศึกษามลายูศึกษาทัศนศึกษา ณ เมืองเกายะรัง นักศึกษามลายศูึกษาทัศนศกึษา ณ เรือนพกัเกา (วัง)ของ อําเภอยะรัง จังหวดัปตตานี พระยาภูผาภักดี อดีตเจาเมืองนราธิวาส ที่จงัหวัดนราธิวาส

Page 20: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

20

เกร็ดความรูโลกมลาย ูการจัดตั้งประเทศมาเลเซีย ประเทศเพื่อนบานที่ช่ือวามาเลเซียนั้น แมวาจะมีชายแดนที่ติดตอกับประเทศไทย ทัง้ระหวางอําเภอสะเดา

จังหวดัสงขลากับรัฐเคดะหและรัฐเปอรลิส จังหวัดยะลากับรัฐเปรัค จังหวัดสตลูกับรัฐเปอรลิส และจังหวัดนราธิวาสกับรัฐกลันตัน เมื่อเราอยูที่จังหวัดนราธิวาส เราจะรูวาฝงรัฐกลันตันมีวนัหยุดคือวนัศุกรและวนัเสาร แตถาเราอยูที่จังหวดัยะลา วนัหยุดของรัฐเปรคักลับเปนวนัเสารและวันอาทิตย หรือเราอยูที่อําเภอสะเดา จังหวดัสงขลา เราจะรูวาฝงรัฐเคดะหมีวนัหยุดคือวันศกุรและวันเสาร แตรัฐเปอรลิสกลับเปนวนัเสารและวนัอาทิตย สรางความสับสนแกเราเปนอยางมาก นั้นเปนเพราะเราไมคอยรูจักประเทศเพื่อนบาน

ประเทศสหพนัธรัฐมาลายา หรือ Federation of Malaya ไดรับเอกราชเมื่อ 31 สิงหาคม 1957 โดยการรวม

ของรัฐตางๆที่มีโครงสรางแตกตางกัน 3 ระบบ คือ 1. รัฐที่เรียกวา Federated Malay States ประกอบดวยรัฐสลังงอร รัฐเปรัค รัฐปาหัง และรัฐนคัรีซัมบีลัน รัฐเหลานี้กอนไดรับเอกราช จะมีชาวอังกฤษทําหนาที่ปกครองรัฐควบคูกบัสุลตานเรียกวา Resident มีวันหยุดประจําสัปดาหคือ วันเสารและวนัอาทิตย 2. รัฐที่เรียกวา Unfederated Malay States ประกอบดวยรัฐกลันตัน รัฐตรังกานู รัฐเคดะห รัฐเปอรลิสและรัฐโยโฮร รัฐเหลานี้กอนไดรับเอกราช จะมีชาวอังกฤษทําหนาที่เปนที่ปรึกษาใหแกสุลตานเรียกวา Adviser มีวันหยุดประจําสปัดาหคือ วนัศกุรและวันเสาร แตในปจจุบนัรัฐโยโฮรและรัฐเปอรลิส ไดเปลี่ยนวนัหยุดเปนวนัเสารและวันอาทิตย 3. รัฐที่เรียกวา Straits

Settlements ประกอบดวยรัฐมะละกาและรัฐปนัง เปนรัฐที่อังกฤษเขามาปกครองโดยตรง มวีันหยุดประจําสัปดาหคือ วันเสารและวันอาทิตย เมื่อเราทราบความเปนมาของสหพันธรัฐมาลายา กส็ามารถไขขอสงสัยถึงวันหยุดที่แตกตางกันของแตละรัฐได แผนที่รัฐในแหลมมลายูทีม่ีระบบการปกครอง 3 รูปแบบ

Page 21: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

21

สวนประเทศมาเลเซีย หรือ Malaysia ไดรับการจัดตั้งเมื่อ 16 กันยายน 1963 โดยการรวมประเทศสหพันธรัฐมาลายาเขากับสิงคโปร, รัฐซาบะห และรัฐซาราวัค ซ่ึงรัฐซาบะห และรัฐซาราวัคนั้นกอนการรวมเปนประเทศมาเลเซียยังเปนดินแดนอาณานิคมของอังกฤษอยู สวนบรูไนซึ่งเห็นดวยกับการเขาเปนสวนหนึ่งของประเทศมาเลเซีย แตตอมาถอนตัวเนื่องจากไมสามารถตกลงในเรื่องตําแหนงพระราชาธิบดีและผลประโยชนน้ํามันที่บรูไนไมยอมใหรัฐบาลกลางเขามารับผิดชอบ

เราอาจไมทราบวาแมแตในปจจุบันประชาชนจากรัฐตางๆที่ตั้งอยูในแหลมมลายู หรือ ประเทศสหพันธรัฐมาลายาเดิม เมื่อตองการจะเดินทางไปยังรัฐซาบะห และรัฐซาราวัคสามารถอยูไดเพยีง 3 เดือน ถาจะอยูนานกวานั้นก็ตองดําเนนิการตามระเบียบของสํานกงานตรวจคนเขาเมืองของรัฐซาบะหหรือรัฐซาราวัค แมแตขาราชการที่มาจากรัฐตางๆทีต่ั้งอยูในแหลมมลายู เมื่อตองไปทํางานในรัฐซาบะหหรือรัฐซาราวัค ขาราชการดังกลาวตองทํา Work Permit

กอนการจดัตั้งประเทศมาเลเซียนั้น ทางรัฐซาบะหและรัฐซาราวัคไดตั้งเงื่อนไขการเขารวมเปนสวนหนึ่ง

ของประเทศมาเลเซีย โดยทางรัฐซาบะหไดเสนอขอตกลง 20 ประการ สวนรัฐซาราวัคไดเสนอขอตกลง 18 ประการ โดยขอตกลงทัง้สองรัฐมีเนื้อหาที่แตกตางกนับาง แตโดยภาพรวมแลวมีลักษณะทีค่ลายกัน ซ่ึงอยางไรก็ตามขอตกลง 20 ประการของรัฐซาบะหกลายเปนขอตกลงที่รูจักมากกวา ขอตกลง 20 ประการของรฐัซาบะหท่ีตั้งเงื่อนไขในการเขารวมเปนสวนหนึ่งของมาเลเซีย 1. ศาสนา : แมวาจะไมตอตานศาสนาอิสลามเปนศาสนาประจําชาติของมาเลเซีย แตไมมีศาสนาประจําชาติใน บอรเนียวเหนือ และทุกกฎหมายที่เกี่ยวกับศาสนาอิสลามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญของสหพันธรัฐมาลายาจะตอง ไมนํามาใชในบอรเนยีวเหนือ 2. ภาษา : 1. ภาษามลายูจะตองเปนภาษาประจําชาติของสหพันธรัฐ 2. การใชภาษาอังกฤษยังคงใชตอไปเปนเวลา 10 ปนับจากวนักอตั้งประเทศมาเลเซีย 3. ภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการของบอรเนียวเหนือสําหรับการติดตอทั้งในระดบัรัฐและระดบัประเทศ โดยไมม ี การจํากัดระยะเวลา 3. รัฐธรรมนูญ : แมวาจะยอมรับวารัฐธรรมนูญของสหพนธรัฐมาลายาเปนพื้นฐานของรัฐธรรมนูญมาเลเซีย แต รัฐธรรมนูญของมาเลเซียจะตองไดรับความเหน็ชอบจากบรรดารัฐอิสระที่ไดเขารวมกัน จะตองไมใชการราง รัฐธรรมนูญที่ไดรับความเห็นชอบจากรัฐในที่แตกตางกันและในสถานการณที่แตกตางกัน รัฐธรรมนูญแหงรัฐ สําหรับบอรเนียวเหนือจําเปนตองมี 4. ประมุขสหพันธรัฐ : ประมุขของรัฐในบอรเนียวเหนอืไมสามารถเปนประมุขของสหพันธรัฐ 5. ช่ือของสหพันธรัฐ : มาเลเซีย (Malaysia) ไมใช มลายูรายา (Melayu Raya)

Page 22: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

22

6. การตรวจคนเขาเมือง (Imigration) : การควบคุมดูแลการอพยพของผูคนจากภายนอก(มาเลเซีย)มายังพื้นที่ตางๆ ของมาเลเซียอยูภายใตอํานาจของรัฐบาลกลาง แตการอพยพของผูคนจากภายนอก(มาเลเซีย)มายังพื้นที่ของบอร เหนยีวเหนอืตองไดรับการเห็นชอบจากรัฐบาลของรัฐ รัฐบาลสหพันธรัฐไมมีอํานาจในการหามผูหนึ่งผูใดทีจ่ะเขา ไปยังบอรเนียวเหนือในเรื่องที่เกี่ยวของกับกิจการของรัฐบาลทองถ่ิน ยกเวนในเรื่องความมั่นคงเทานั้น บอรเนียวเหนือควรมีอํานาจที่ไมจํากดัในการควบคุมดูแลตอผูหนึ่งผูใด ยกเวนผูที่เขามาปฏิบัติงานภายใตรัฐบาล สหพันธรัฐที่มาจากรัฐอื่นๆในบอรเนียวเหนือ 7. สิทธิของการถอนตัวจากสหพันธรัฐ : ไมควรมีสิทธิของการแยกตัว หรือการถอนตัวจากสหพันธรัฐ 8. การแตงตั้งคนพื้นเมือง(Borneanisation) : จะตองดําเนนิการแตงตั้งคนพื้นเมืองชาวบอรเนียวเหนอืเขามา ปฏิบัติงานในภาคราชการโดยดวน 9. ขาราชการชาวอังกฤษ : ตองสงเสริมใหขาราชการชาวอังกฤษปฏิบัติหนาที่ตอไป จนกวาตําแหนงของพวกเขาจะ สามารถนําชาวพื้นเมืองจากบอรเนียวเหนือที่มีคุณสมบัติมาแทนที่ได 10. สัญชาติ : จากรายงานของ Cobbold ยอหนาที่ 148 (k) ( มีการจดัตัง้คณะทํางาน โดยมี Lord Cameron

Cobbold เปนประธาน สําหรับการสํารวจความคดิเหน็ของชาวบอรเนียวเหนือและรัฐซาราวัคในการเขารวมเปน สวนหนึ่งของมาเลเซีย) การกําหนดสญัชาติของชาวบอรเนียวเหนอืในสหพันธรฐัมีดังนี ้: 1. ตองไมมีเงื่อนไขการตั้งถ่ินฐานเปนเวลา 5 ป 2. เพื่อใหสอดคลองกับกฎหมายของเรา วรรค (II) (a) จะตองเปน “ 7 ป จาก 10 ป” ไมใช “ 8 ป จาก 12 ป” 3. วรรค (II) จะตองไมกีดกัน้ผูหนึ่งผูใดที่มีบิดามารดาเปนบุคคลสัญชาติอ่ืน แตเกิดในบอรเนียวเหนือหลังจาก การจัดตั้งประเทศมาเลเซีย ผูบุคคลผูนั้นตองไดรับสัญชาติของสหพันธรัฐ 11. ภาษีและการคลัง : บอรเนียวเหนือจะตองมีอํานาจดูแลการคลัง กองทุนการพัฒนา และภาษีดวยตนเอง 12. สถานะพิเศษของชนพื้นเมือง : โดยหลักการพื้นฐานชนพื้นเมืองของบอรเนียวเหนือตองมีสถานะพิเศษเหมอืนที่ ชาวมลายูในสหพันธรัฐมาลายาไดรับ แตหลักการที่ปฏิบัติอยูในสหพันธรัฐมลายาไมจําเปนตองปฏิบติใน บอรเนียวเหนือ 13. รัฐบาลทองถ่ิน : 1. มุขมนตรีไดรับการเลือกจากสมาชกิไมเปนทางการของสภานิติบัญญัติแหงรัฐของบอรเนียวเหนือ 2. บอรเนียวเหนือตองมรีะบบการบริหารการปกครองโดยใชระบบคณะรัฐมนตรี (จนถึงปจจบุัน คณะผูบริหาร รัฐซาบะห มีตําแหนงเปนรัฐมนตรีกระทรวงตางๆของรัฐซาบะห) 14. ระยะเวลาการถายโอนอํานาจ : ภายในเวลา 7 ป อํานาจนิติบัญญัติจะดําเนินการโดยรัฐบาลทองถ่ิน ไมใชการ ดําเนินการโดยรัฐบาลสหพันธรัฐผานรัฐบาลทองถ่ิน 15. การศึกษา : ระบบการศกึษาที่มีอยูในปจจุบันตองอยูภายใตการควบคุมของรัฐบาลทองถ่ิน 16. การปกปอง พิทักษรัฐธรรมนูญ : การแกไข เปลี่ยนแปลง หรือยกเลิก สิทธิพิเศษที่ใหแกบอรเนยีวเหนือ จะ กระทําโดยรัฐบาลสหพันธรัฐไมได ถาไมไดรับการเหน็ชอบจากรัฐบาลทองถ่ินของบอรเนียวเหนือ และการแกไขรัฐธรรมนูญของบอรเนียวเหนือจะกระทําไดโดยอํานาจของประชาชนบอรเนียวเหนือเทานัน้

Page 23: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

23

17. ตัวแทนในสภาผูแทนราษฎรของสหพันธรัฐ : ตองไมยึดหลักจํานวนประชากรของบอรเนียวเหนือเทานัน้ แต ตองยึดหลักขนาดพืน้ที่และความสามารถของบอรเนียวเหนือดวย และโดยหลักการแลวตองมจีํานวนที่ไมนอย กวาสิงคโปร 18. ช่ือผูนํารัฐ : ผูวาการรัฐ (Yang Di Pertua Negara) 19. ช่ือรัฐ : ซาบะห (Sabah) 20. ที่ดิน, ปาไม องคกรบริหารสวนทองถ่ิน และอื่นๆ : บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญสหพันธรัฐเกีย่วกับสภาทีด่ิน สหพันธรัฐ รวมทั้งสภาองคกรบริหารสวนทองถ่ินแหงชาติตองไมเกี่ยวของกับบอรเนียวเหนือ

การที่เราไดรับรูถึงความเปนมาของการจัดตั้งสหพันธรัฐมาลายา ก็ทาํใหเราสามารถไขขอสงสัยถึงทําไมรัฐตางๆในประเทศมาเลเซียจึงมีวันหยุดสุดสปัดาหที่ไมเหมือนกัน และการที่เราไดรับรูถึงความเปนมาของการจัดตั้งประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะขอตกลง 20 ประการของรัฐซาบะห ซ่ึงก็ไดรับการสนบสนุนจากรัฐซาราวัค ก็ทาํใหเราสามารถไขขอสงสัยถึงอํานาจของรัฐซาบะหและรัฐซาราวัคมากขึ้น เราคงจะรูจักประเทศเพื่อนบานมากขึ้นนะครับ

ขาวโลกมลายู มาเลเซียเชื้อสายไทยพุทธไดรับแตงตั้งเปนวุฒิสมาชิก วันนี้ 15 ธันวาคม 2010 ทางสถานีโทรทัศนมาเลเซียไดถายทอดสดรายงานการปฏิญาณตนของสอง

วุฒิสมาชิกใหม คือนางมาเรยีนี มูฮัมหมัดยติ(Mariany Mohammad Yit)และนายบุญสม อีนง (Boon Som A/L Inong)ชาวมาเลเซียเชือ้สายไทยพุทธ ทั้งสองคนเปนสมาชกิของพรรคองคกรมลายูสามัคคีแหงชาติ(United Malays National Organisation)ไดปฏิญาณตนเขารับตําแหนงเปนวุฒิสมาชกิคนใหมของวุฒิสภามาเลเซียตอหนาประธานวุฒิสภา คือ ตนัศรีอาบูซาฮาร อูยัง (Tan Sri Abu Zahar Ujang) ภาพจากโทรทัศนขณะนายบุญสม อีนงกําลังปฏิญาณตนตอหนาประธานวุฒิสภา

Page 24: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

24

นายบุญสม อีนง

นายบุญสม อีนง มีอาย ุ49 ป เปนคนอําเภอสุไหงปาตานี รัฐเคดะห เปนกรรมการของสมาคมชาวสยามแหงมาเลเซีย หรือ Persatuan Siam Malaysia เขามีอาชีพเปนนกัขาว โดยทํางานกับสํานักขาว Kuwait National News Agency (Kuna)เปนเวลา 10 ป ตั้งแตป 1982 ตอมาทํางานกับสาํนักขาว Islamic Republic of Iran National News Agency (Irna) เปนเวลา 12 ป ตั้งแตป 1991

นอกจากัน้เคยทําหนาที่เปนเลขานุการฝายหนังสือพิมพของรัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงานยุคที่ม ี Datuk Mohd Zin Mohamed เปนรัฐมนตรีวาการ และเคยเปนเลขานุการฝายหนังสือพิมพของมุขมนตรีรัฐเคดะห ยคุที่ม ีDatuk Seri Syed Abdul Razak Syed Zain เปนมุขมนตร ี และเคยเปนเจาหนาที่ฝายกิจการพิเศษของมุขมนตรีรัฐเคดะห ยุคที่มี Datuk Seri Mahdzir Khalid เปนมุขมนตรี

เขาเคยจัดพิมพหนังสือที่ช่ือวา "Tekad 2008-2009" เปนหนังสือของกระทรวงแรงงานมาเลเซีย จากขอมูลที่สืบคนไดปรากฏวาเขายังเปนกรรมการของบริษัทเกี่ยวกบัการกอสรางในรัฐเคดะห ที่ช่ือวา Syarikat Bina Dan Kuari Kedah Sdn. Bhd.

ความขัดแยงเกี่ยวกับตําแหนงวุฒิสมาชิกชาวมาเลเซียเชื้อสายไทยพทุธคนท่ี 3 ในป 1996 ทางรัฐบาลมาเลเซียไดแตงตัง้นายเจริญ อินทชาติ (Datuk Charern Intachat) อดีตหวัหนา

ศุลกากรแหงรัฐเคดะห เปนวุฒิสมาชิก นับเปนวุฒิสมาชิกคนแรกทีเ่ปนตัวแทนของชุมชนชาวมาเลเซียเชื้อสายไทยพุทธ ที่มีประชากรทั้งหมด ประมาณ 6 หมื่นคน ซ่ึงตั้งถ่ินฐานกระจัดกระจายอยูในรัฐเคดะห รัฐเปอรลิส รัฐเปรัค รัฐกลันตัน รัฐตรังกานู ฯลฯ นายเจรญิ อินทชาติ

Page 25: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

25

การเลือกนายเจริญ อินทชาติ เพื่อเปนตัวแทนของชุมชนชาวมาเลเซียเชือ้สายไทยพุทธนี้ ผานการลงมติเปนเอกฉันทจากคณะสงฆแหงรัฐเคดะห (Majlis Sanggha Negeri Kedah) ช่ือของนายเจริญ อินทชาตไิดรับการประกาศเสนอเปนวุฒสิมาชิกจาก ดร. มหาเธร โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรใีนขณะนั้น คร้ังที่เขาเดินทางไปพบปะชุมชนชาวมาเลเซียเชื้อสายไทยพุทธที่วัดตีตีอาการ(Wat Titi Akar) อําเภอเปนดัง(Pendang) รัฐเคดะห เมื่อวันที่ 1เมษายน1996 นางชิวชุน เอม

ในป 2002 รัฐบาลมาเลเซียก็ไดแตงตั้งนางชิวชุน เอม(Datuk Siw Chun A/P Eam) นกัธุรกิจจากรัฐเปอรลิส เปนตัวแทนของชุมชนชาวมาเลเซียเชื้อสายไทยพุทธคนที่ 2 ตอจากนายเจริญ อินทชาติ ซ่ึงรับตําแหนงวุฒสิมาชิกเปนเวลา 2 สมัย (มวีาระสมัยละ 3 ป) รวมเปนเวลา 6 ป

การเลือกนางชิวชุนในครั้งนี้ เปนการลงคะแนนในการประชุมประจําปของสมาคมชาวสยามแหงมาเลเซีย (PSM – Persatuan Siam Malaysia) ซ่ึงจัดประชุมที่หอประชุมวัฒนธรรม(Dewan Budaya) บานปุมปง รัฐเคดะห ในการลงคะแนนครั้งนี้ มีผูถูกเสนอชื่อ 6 คน คือ นายไสว (Datuk Sawai), นายสิริ นิลบวั (En. Siri Neng Buah), นางชิวชุน เอีย่ม(Datuk Siw Chun A/L Eam), นายบุญสม อีนง(Boon Som Inong), นายพล อาวังดิน(Eh Pon Awang Din) และ ดร. พรหม พรหมวจิิตร (Dr. Proom Promwichit) ผูมีสิทธิ์เขารอบคือ นายไสว (Datuk Sawai), นายสิริ นิลบัว (En. Siri Neng Buah) และ นางชิวชุน เอีย่ม(Datuk Siw Chun A/L Eam) และในที่สุดผูที่ไดรับการเสนอชื่อใหเปนวุฒิสมาชิก คือ นางชิวชุน เอี่ยม(Datuk Siw Chun A/L Eam)

ตอมานางชิวชุน เอี่ยม(Datuk Siw Chun A/L Eam) ครบวาระการเปนวุฒิสมาชิกเมื่อ19 ธันวาคม 2008 เกิดการชิงการเปนวุฒิสมาชิกในบรรดาผูนําชุมชนชาวมาเลเซียเชื้อสายไทยพุทธ ตราสัญญลักษณสมาคมชาวสยามแหงมาเลเซีย

Page 26: จุลสารมลายูศึกษาปริทัศน์ ฉบับที่ 2

26

ในการประชุมประจําปของสมาคมชาวสยามแหงมาเลเซีย (PSM – Persatuan Siam Malaysia) ซ่ึงจัดขึ้นที่อําเภอสุไหงปตตานี รัฐเคดะห เมื่อ 15 พฤศจิกายน 2008 ในการลงคะแนนครั้งนี้ มผูีถูกเสนอชื่อ 4 คน คือ นายสิริ นิลบัว (En. Siri Neng Buah), นายจาลาร เอนดินพรหม (En. Chalar Endin Proom), นายวินัย(En. Vinai) และนายโอสถ หรือชาตรี (En. Osot @ Chatri) สวนนายวิเชยีร (En. Wichien) ขอถอนตัว

ในการลงคะแนนครั้งนั้นมีผูไดรับการเสนอเปนวุฒิสมาชิก 3 คน คือ นายสิริ นิลบัว (En. Siri Neng Buah), นายจาลาร เอนดินพรหม (En. Chalar Endin Proom)และนายวินัย(En. Vinai)

ในขณะเดยีวกนั นายโชต ิ จาจันทร (En. Eh Chot Cha Chan) หรือครูยอด แหงบานบอเสม็ด อําเภอตุมปต รัฐกลันตัน ในฐานะรองนายกสมาคมชาวสยามแหงมาเลเซีย (PSM – Persatuan Siam Malaysia) ไดเสนอชื่อผูอ่ืนเปนวุฒิสมาชกิ โดยเสนอในนามของสมาคมชาวสยามแหงรัฐกลันตนั (Persatuan Masyarakat Siam Kelantan) สวนนายบุญสม อีนง กรรมการของสมาคมชาวสยามแหงมาเลเซีย (PSM – Persatuan Siam Malaysia) ไดเสนอชื่อวุฒิสมาชิกโดยมีผูใหญบาน (Ketua Kampong)ชาวไทยพุทธทุกคนในรัฐเคดะหลงชือ่สนับสนุน ทําใหการเสนอชื่อผูที่จะเปนวุฒิสมาชิกแตกออกเปน 3 ฝาย ทําใหการเสนอชื่อบุคคลที่จะเปนวุฒิสมาชิกจากชุมชนชาวมาเลเซียเชือ้สายไทยพุทธตองชะงักลง จนเมื่อ 15 ธันวาคม 2010 จึงมีการแตงตั้งนายบุญสม อีนงเปนวุฒิสมาชิกคนที่ 3 เปนตัวแทนจากชุมชนชาวมาเลเซียเชื้อสายไทยพุทธ

งานการประชุมสัมมนาวัฒนธรรมอินโดเนเซีย-มาเลเซีย-ประเทศไทย ในวนัที่ 21 มกราคม 2554 ทางแผนกวิชามลายูศึกษา โดยผานทางภาควิชาภาษาตะวนัออก ไดรวมกับ

คณะมนษุยศาสตร และโครงการจัดตั้งสถาบันสมุทรรัฐเอเชียตะวนัออกเฉียงใตศึกษา ไดรวมจัดเสวนาทางวัฒนธรรมระหวางอินโดเนเซีย-มาเลเซีย-ประเทศไทย โดยมีช่ืองานวา “ Simposium Budaya Segi Tiga Utara ” สําหรับงานเสวนาครั้งนี้มีนกัศึกษาบณัฑิตศึกษาจากมหาวิทยาลัยมุสลิมนูซันตาราอัลวาชลียะห (Universitas Muslim Nusantara AlWashliyah) จาํนวน 37 คน พรอมอาจารยอีก 11 คน และนักวิชาการชาวมาเลเซียจํานวนหนึ่ง

สําหรับผูที่นําเสนอบทความวิชาการครั้งนีป้ระกอบดวย Prof. Dr. Hj. Sri Sulistyawati, SH, MSi อธิการบดีมหาวิทยาลัยมสุลิมนูซันตาราอัลวาชลียะห, Prof. Dr. Ahmad Laut Hasibuan, MPd., Drs. Shafwan Hadi Umry ทั้งสองทานเปนอาจารยมหาวิทยาลัยมุสลิมนซัูนตาราอัลวาชลียะหและ Tan Sri Ismail Hussein จากประเทศมาเลเซีย

งานประชุมสัมมนาครั้งนี้จะจัดขึ้นที่หองมะปราง คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มอ. ปตตาน ี ระหวางเวลา 09.00-12.00 น. ผูสนใจสามารถเขารวมได โดยไมเสยีคาใชจายแตอยางใด

พบกันใหมกับ “จุลสาร มลายูศึกษาปริทัศน” ฉบับท่ี 3