ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554...

100
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง http://www.fpo.go.th THAILAND'S ECONOMIC OUTLOOK 2011 : MARCH ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 เดือนมีนาคม

Upload: art-fpo

Post on 24-Mar-2016

232 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

TRANSCRIPT

Page 1: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลังhttp://www.fpo.go.th

THAILAND'S ECONOMIC OUTLOOK 2011 : MARCH

ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554

เดือนมีนาคม

Page 2: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

THAILAND’S ECONOMIC OUTLOOK 2011 FISCAL POLICY OFFICE

“วิเคราะหสถานการณเศรษฐกิจไดอยางมีคุณภาพ แมนยำ และทันตอเหตุการณ เพ่ือใหสามารถเสนอแนะนโยบายเศรษฐกิจมหภาคไดอยาง

มีประสิทธิภาพ รวมทั้งสรางความเขาใจที่ถูกตองตอสาธารณชน”

กลยุทธ สำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค : “เสาหลักดานเศรษฐกิจมหภาคอยางมืออาชีพ”

เปาประสงค และ ยุทธศาสตร สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง

1. ความย่ังยืนทางการคลัง (Fiscal Sustainability) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการดานการคลัง เพ่ือใหภาคการคลังของประเทศมีความแข็งแกรงย่ังยืน เปนท่ีนาเช่ือถือ และเปนหลักของระบบเศรษฐกิจไทย 2. การพัฒนาความแข็งแกรงของระบบการเงินท่ีย่ังยืน (Sustainable Financial System Development) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการดานการเงิน เพ่ือใหภาคการเงินแข็งแกรง มีประสิทธิภาพ และเอื้อประโยชนตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ 3. เศรษฐกิจและสังคมท่ีย่ังยืน (Sustainable Economic and Social Development) + เสนอแนะนโยบายและมาตรการดานเศรษฐกิจมหภาคและระหวางประเทศเพ่ือใหระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพอยางตอเน่ือง + เสนอแนะนโยบายท่ีเก่ียวของเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของประเทศ + เสนอแนะนโยบายท่ีเก่ียวของเพ่ือกระจายความม่ังคั่ง สูภูมิภาคและเศรษฐกิจฐานราก + เสนอแนะนโยบายท่ีเก่ียวของเพ่ือใหประชาชนมีรายได และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น 4. ความมีประสิทธิภาพ ความทันสมัย และความโปรงใสในการทำงาน (Modernization of Management and Good Governance Promotion) + ดำเนินการเพ่ือใหเปนองคกรเรียนรู เปนท่ียอมรับดานความสามารถของบุคลากร + ดำเนินการเพ่ือใหการทำงานและการใหบริการโปรงใส มีประสิทธิภาพ และตรวจสอบได โดยใชระบบ IT ลดข้ันตอนการทำงาน

คณะผูจัดทำ คณะผูจัดทำ ผูอำนวยการสำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค บุญชัย จรัสแสงสมบรูณ : [email protected]

ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเศรษฐกิจมหภาค ดร.กุลยา ตันติเตมิท : [email protected]

ผูอำนวยการสวนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจ วิภารัตน ปนเปยมรัษฎ : [email protected]

ผูอำนวยการสวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค ณัฐยา อัชฌากรลักษณ : [email protected]

ผูอำนวยการสวนการวิเคราะหเสถียรภาพเศรษฐกิจ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร : [email protected]

ผูอำนวยการสวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สิริกัลยา เรืองอำนาจ : [email protected]

ผูรับผิดชอบรายภาคเศรษฐกิจ ภาคการคลัง พิสิทธ์ิ พัวพันธ : [email protected]

ดร.จงกล คำไล : [email protected]

ยุทธภูมิ จารุเศรนี : [email protected] คงขวัญ ศิลา : [email protected]

วรพล คหัฎฐา : [email protected]

สุธิรัตน จิรชูสกุล : j_suthi01@ yahoo.com

ภาคการคาระหวางประเทศ ดร.พิมพนารา หิรัญกสิ : [email protected] อรุณรัตน นานอก : [email protected]

ตลาดน้ำมัน ยุทธภูมิ จารุเศรนี : [email protected] เศรษฐกิจตางประเทศ ดร.สิริกมล อุดมผล : [email protected]

อารจนา ปานกาญจโนภาส : [email protected] ภาคการเงิน อารจนา ปานกาญจโนภาส : [email protected]

อัตราการแลกเปลี่ยน จรสพร เฉลิมเตียรณ : [email protected]

เฑียร เทียมศักด์ิ : [email protected]

ภาคอุตสาหกรรม ธรรมฤทธ์ิ คุณหิรัญ : [email protected]

อรอุมา หนูชวย : [email protected] ภาคเกษตรกรรม กาญจนา จันทรชิต : [email protected]

ภาคการทองเท่ียว คงขวัญ ศิลา : [email protected]

ภาคการบริโภค การลงทุน และอสังหาริมทรัพย วรพล คหัฎฐา : [email protected]

กาญจนา จันทรชิต : [email protected]

ภาคการจางงาน อรรถพล จรจันทร : [email protected]

Page 3: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)
Page 4: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 2

หนา 1. ประมาณการเศรษฐกิจไทย บทสรุปผูบริหาร 3

Executive Summary 6

ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 (ณ เดือนมีนาคม 2554) 9

1.1 สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 10

1.2 ผลการประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 25

2. ภาคการคลัง : สรุปสถานการณดานการคลังในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 36

3. บทวิเคราะหเศรษฐกิจ : Macroeconomic Analysis Briefings 3.1 แผนดินไหวในญ่ีปุนกับแรงสั่นสะเทือนตอเศรษฐกิจไทย 44

3.2 สงครามทองคำสีดำกับภาระภาครัฐ 50

3.3 พันธบัตรรัฐบาล : ภาระหนักของรัฐบาลญี่ปุน 58

3.4 สรุปโครงการแกปญหาหน้ีนอกระบบ 62

3.5 ไทยคาขายกับใคร 68

3.6 สงครามเงินฝาก 79

3.7 แนวโนมเศรษฐกิจป 54 กับความทาทายทางเศรษฐกิจ 85

4. ภาคการเงิน : รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินไทยในไตรมาสท่ี 1 ป 2554 92

5. Thailand’s Key Economic Indicators 96

สารบัญ

คณะผูจัดทำ : สำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง โทรศัพท 02-273-9020 ตอ 3257 โทรสาร 02-298-5602 / 02-618-3397 http:// www.fpo.go.th

THAILAND’S ECONOMIC OUTLOOK 2011 : MARCH

FISCAL POLICY OFFICE

Page 5: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 3

บทสรุปผูบริหาร บทสรุปผูบริหาร ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554

(ณ เดือนมีนาคม 2554) (ณ เดือนมีนาคม 2554)

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ประเมินวาเศรษฐกิจไทยในป 2554 จะยังคงขยายตัวอยูในชวงคาดการณท่ีรอยละ 4.0–5.0 เชนเดียวกับที่ประมาณการไวเดิมเม่ือเดือนธันวาคม 2553 โดยเปนการขยายตัวที่ชะลอลงจาก ปกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 7.8 ซึ่งเปนการปรับเขาสูการขยายตัวในระดับปกติ จากปกอนหนาที่เศรษฐกิจไทยขยายตัวสูงมาก ประกอบกับปจจัยภายนอกโดยเฉพาะราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกท่ีมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นมาก ตลอดจนปญหาภัยพิบัติในประเทศญ่ีปุน อยางไรก็ตาม ยังมีปจจัยบวกจากการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกท่ีชัดเจนข้ึนโดยลำดับ นอกจากน้ี เศรษฐกิจภายในประเทศโดยเฉพาะภาคการใชจายภายในประเทศ ในป 2554 ยังคงมีแนวโนมขยายตัว อยางแข็งแกรง โดยเฉพาะการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน เพราะฉะนั้นการขยายตัวของเศรษฐกิจในป 2554 ถือเปนการปรับเขาสูสมดุลมากขึ้น เพราะเปนการปรับสมดุลใหอุปสงคท้ังภายในประเทศและภายนอกประเทศเปนแรงขับดันเศรษฐกิจไปควบคูกัน

ในป 2554 เสถียรภาพเศรษฐกิจของไทยยังคงม่ันคง โดยเสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศคาดวาอัตราเงินเฟอ

ท่ัวไปในป 2554 จะอยูท่ีชวงประมาณการรอยละ 3.1–4.1 สวนอัตราเงินเฟอพ้ืนฐานคาดวาจะอยูท่ีชวงประมาณการรอยละ 2.0–3.0 ขณะที่เสถียรภาพเศรษฐกิจภายนอกประเทศยังอยูในเกณฑดีเชนกัน โดยดุลบัญชีเดินสะพัดในป 2554 คาดวาจะเกินดุลรอยละ 3.2–4.0 ของ GDP เกินดุลลดลงจากปท่ีแลวเล็กนอย เนื่องจากการฟนตัวของการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนตลอดจนราคาน้ำมันท่ีสูงขึ้น

อยางไรก็ตาม ในการประมาณการเศรษฐกิจจำเปนตองคำนึงถึงปจจัยเสี่ยงท่ีตองติดตามอยางใกลชิด ไมวาจะเปน

การฟนตัวของเศรษฐกิจญ่ีปุนจะมีความรวดเร็วมากนอยเพียงใด สถานการณความไมสงบทางการเมืองในแถบตะวันออกกลางท่ีจะสงผลตอความผันผวนของราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก อีกท้ังสถานการณการเคล่ือนยายเงินทุนจากตางประเทศซึ่งอาจมีผลตอความผันผวนของคาเงินบาท

1. เศรษฐกิจไทยในป 2554 1.1 ดานการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

เศรษฐกิจไทยในป 2554 คาดวาจะกลับมาขยายตัวในระดับปกติ โดยมีชวงคาดการณท่ีระดับรอยละ 4.0–5.0 ซึ่ง แรงสงสำคัญมาจากการใชจายภายในประเทศท่ีคาดวาจะยังคงมีแนวโนมขยายตัวตอเน่ืองจากป 2553 โดยการบริโภค ภาคเอกชนคาดวาจะขยายตัวไดที่ชวงคาดการณที่รอยละ 3.7–4.7 ตามการฟนตัวของรายไดเกษตรกร อันเน่ืองมาจากราคา

สินคาเกษตรในตลาดโลกท่ีสูงขึ้นมากและการจางงานท่ีดีขึ้น ขณะท่ีการลงทุนภาคเอกชนคาดวาจะขยายตัวไดดีตอเน่ืองที่ ชวงคาดการณที่รอยละ 8.2–10.2 โดยไดรับปจจัยสนับสนุนจากความเชื่อมั่นของนักลงทุนท่ีมีแนวโนมปรับตัวดีขึ้น ประกอบกับ

อัตราการใชกำลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมท่ีเนนการผลิตเพ่ือสงออกท่ีอยูในระดับสูงต้ังแตป 2553 อยางไรก็ตาม การฟนตัวอยางเปราะบางของเศรษฐกิจโลก ประกอบกับปญหาภัยพิบัติในประเทศญ่ีปุนและฐานท่ีสูงในป กอนหนา คาดวาจะสงผลใหการสงออกสินคาและบริการในป 2554 ขยายตัวชะลอลง โดยมีชวงคาดการณท่ีรอยละ 5.5–7.5

Page 6: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 4

สวนปริมาณการนำเขาสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัวระหวางรอยละ 6.6–8.6 สำหรับการใชจายภาครัฐในป 2554 คาดวาการบริโภคภาครัฐจะขยายตัวในชวงคาดการณที่รอยละ 2.7–3.7 ตามบทบาทของภาครัฐในการสนับสนุนเศรษฐกิจ ที่เร่ิมชะลอลงในชวงท่ีภาคเอกชนสามารถขับเคล่ือนเศรษฐกิจไดมากข้ึน ขณะท่ีการลงทุนภาครัฐคาดวาจะขยายตัวเรงข้ึนมาอยูระหวางรอยละ 3.0–5.0 ตามการเบิกจายงบลงทุนในป 2554 ที่เปนไปอยางตอเน่ือง

1.2 ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจ สำหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจภายในประเทศคาดการณวา อัตราเงินเฟอท่ัวไปในป 2554 จะอยูระหวางรอยละ 3.1–4.1

อันเปนผลจากราคาน้ำมันในตลาดโลกท่ีคาดวาจะอยูในระดับสูงจากปญหาความไมสงบในตะวันออกกลาง และการสูงขึ้นของ

ราคาสินคาโภคภัณฑ สวนอัตราการวางงานคาดวาจะอยูในระดับต่ำโดยมีชวงคาดการณท่ีรอยละ 0.8–1.0 ของกำลังแรงงานรวม ในดานเสถียรภาพภายนอกประเทศคาดวา ดุลบัญชีเดินสะพัดจะเกินดุลลดลงมาอยูระดับ 11.1–14.6 พันลานดอลลารสหรัฐ หรือประมาณรอยละ 3.2–4.0 ของ GDP เน่ืองจากคาดวาจะเกินดุลการคาลดลงเหลือ 10.8–12.8 พันลานดอลลารสหรัฐ ตามมูลคาสินคานำเขาขยายตัวในอัตราเรงกวามูลคาสินคาสงออก โดยคาดวามูลคาสินคานำเขาในป 2554 จะขยายตัว ในชวงคาดการณที่รอยละ 15.8–17.8 ในขณะท่ีมูลคาสินคาสงออกคาดวาจะขยายตัวในชวงคาดการณที่รอยละ 13.3–15.3

โดยมีรายละเอียดสรุปผลการประมาณการเศรษฐกิจ ดังน้ี

Page 7: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 5

f = ประมาณการ โดยสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)

ตารางสรุปสมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกิจป 2554 (ณ เดือนมีนาคม 2554)

2553 2554f (ณ มีนาคม 2554) ชวง

สมมติฐานหลัก สมมติฐานภายนอก 1) อัตราการขยายตัวเฉล่ีย 14 ประเทศคูคาหลัก (รอยละตอป) 4.8 3.2–3.7

2) ราคาน้ำมันดิบดูไบ (ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) 78.2 90.0–100.0

3) ราคาสินคาสงออกในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอป) 9.1 6.0–8.0

4) ราคาสินคานำเขาในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอป) 8.1 7.6–9.6

สมมติฐานดานนโยบาย 5) อัตราแลกเปล่ียน (บาทตอดอลลารสหรัฐ) 31.7 29.2–31.2

6) อัตราดอกเบ้ียนโยบายของไทย ณ สิ้นป (รอยละตอป) 2.00 2.75–3.75

7) รายจายภาคสาธารณะตามปงบประมาณ (ลานลานบาท) 2.52 2.75–2.78

ผลการประมาณการ 1) อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละตอป) 7.8 4.0–5.0

2) อัตราการขยายตัวของการบริโภครวม (รอยละตอป) 5.0 3.6–4.6

- การบริโภคภาคเอกชน (ณ ราคาคงท่ี) (รอยละตอป) 4.8 3.7–4.7

- การบริโภคภาครัฐ (ณ ราคาคงท่ี) (รอยละตอป) 6.0 2.7–3.7

3) อัตราการขยายตัวของการลงทุนรวม (รอยละตอป) 9.4 6.3–8.3

- การลงทุนภาคเอกชน (ณ ราคาคงท่ี) (รอยละตอป) 13.8 8.2–10.2

- การลงทุนภาครัฐ (ณ ราคาคงท่ี) (รอยละตอป) -2.2 3.0–5.0

4) อัตราการขยายตัวของปริมาณสงออกสินคาและบริการ (รอยละตอป) 14.7 5.5–7.5

5) อัตราการขยายตัวของปริมาณนำเขาสินคาและบริการ (รอยละตอป) 21.5 6.6–8.6

6) ดุลการคา (พันลานดอลลารสหรัฐ) 14.1 10.8–12.8

- สินคาสงออกในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอป) 28.5 13.3–15.3

- สินคานำเขาในรูปดอลลารสหรัฐ (รอยละตอป) 36.6 15.8–17.8

7) ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันลานดอลลารสหรัฐ) 14.7 11.1–14.1

- รอยละของ GDP 4.6 3.2–4.0

8) อัตราเงินเฟอทั่วไป (รอยละตอป) 3.4 3.1–4.1

อัตราเงินเฟอพ้ืนฐาน (รอยละตอป) 0.9 2.0–3.0

9) อัตราการวางงาน (รอยละของกำลังแรงงานรวม) 1.0 0.8–1.0

Page 8: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 6

Executive Summary Executive Summary Thailand’s Economic Projection for 2011 Thailand’s Economic Projection for 2011

(As of March 2011) (As of March 2011)

The Fiscal Policy Office (FPO), Ministry of Finance, announced that Thai Economy in 2011 is expected to grow within the range of 4.0–5.0 percent, same as December 2011 forecast range, which is slower than 2010 growth of 7.8 percent. This is considered a normalization of growth rate after the stellar growth in the previous year, combined with external factors, especially global crude oil price hike and natural disasters in Japan. However, a clearer sign of global economic recovery would act as a supporting factor. Furthermore, domestic spending growth in 2011, private consumption and investment in particular, remains strong. Thai economic growth in 2011 is therefore a rebalancing of Thai economy, for both domestic and external demands to be, in tandem, the drivers of economic growth.

In 2011 Thailand’s economic stability remains robust. On the internal stability, headline inflation in 2011 is

projected to lie within the range of 3.1–4.1 percent per year, while core inflation is expected to stand between the range of 2.0–3.0 percent. External stability remains resilient, with projected range of current account surplus of 3.2–4.0 percent of GDP in 2011, slightly lower than last year. This is due to the revival of private consumption and investment coupled with the rise in oil price.

However, several risk factors are needed to be closely monitored. These include the speed of recovery of

Japanese economy that awaits further conclusive evaluation, the political turmoil in the Middle East that could affect the volatility of global crude oil price, and lastly the international capital flow situation that might impact Baht exchange rate.

1. Thailand’s Economic Projection for 2011 1.1 Economic Growth

Thai economy in 2011 is forecasted to continue to grow within the normal range of 4.0–5.0 percent. The main driver behind this growth is private domestic spending, which is projected to continue to grow from 2010. Private consumption is forecasted to expand within the range of 3.7–4.7 percent, as farm income is expected to

increase with the rise in agricultural price while employment situation improves. Private investment is also projected to remarkably grow within the range of 8.2–10.2 percent, with improving investor confidence combined with high capital utilization especially in export-oriented industry that has stood high since 2010. On the external side, the fragile recovery of the global economy combined with natural disasters in Japan and high base last year

Page 9: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 7

are expected to cause a soften growth of foreign trade. Export volume of goods and services is thus projected to grow slower within the range of 5.5–7.5 percent, while import volume of goods and services is also expected to grow slower within the range of 6.6–8.6 percent. For public spending, public consumption is forecasted to grow within the range of 2.7–3.7 percent, as the role of public sector in supporting the economy subsides when the private sector could resume its function as the major drive of the economy. Public capital expenditure, on the other hand, is projected to grow faster than last year within the range of 3.0–5.0 percent, with the steady budget disbursement.

1.2 Economic Stability Internal stability outlook is expected to remain resilient. Headline inflation in 2011 is projected to stand

within the range of 3.1–4.1 percent, given that oil price is still expected to remain high from the political unrest in the Middle East. Unemployment is forecasted to remain low within the range of 0.8–1.0 percent of total labor force. On the external front, in 2011 Thailand is projected to record a smaller current account surplus of 11.1–14.1 billion US dollars, equivalent to 3.2–4.0 percent of GDP, as trade surplus is expected to fall within the range of 10.8–12.8 billion US dollars. More specifically, import value of goods is expected to grow within the range of 15.8–17.8 percent, faster than export value of goods, which is forecasted to grow within the range of 13.3–15.3 percent.

Summary table is attached herewith.

Page 10: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 8

f = forecast by Fiscal Policy Office, Ministry of Finance, Thailand

Major Assumptions and Economic Projections of 2011 (As of March 2011)

2010 2011f (As of Mar 11) Range

Major Assumptions Exogenous Variables 1) Average Economic Growth Rate of Major Trading Partners 4.8 3.2–3.7

(percent y-o-y)

2) Dubai Crude Oil Price (U.S. dollar per Barrel) 78.2 90.0–100.0

3) Export price in U.S. dollar (percent y-o-y) 9.1 6.0–8.0

4) Import price in U.S. dollar (percent y-o-y) 8.1 7.6–9.6

Policy Variables 5) Exchange Rate (Baht per U.S. dollar) 31.7 29.2–31.2

6) Repurchase Rate (Policy Rate) at year-end (percent per annum) 2.00 2.75–3.75

7) Fiscal-Year Pubic Expenditure (Trillion Baht) 2.52 2.75 – 2.78

Projections 1) Economic Growth Rate (percent y-o-y) 7.8 4.0–5.0

2) Real Consumption Growth (percent y-o-y) 5.0 3.6–4.6

- Real Private Consumption 4.8 3.7–4.7

- Real Public Consumption 6.0 2.7–3.7

3)Real Investment Growth (percent y-o-y) 9.4 6.3–8.3

- Real Private Investment 13.8 8.2–10.2

- Real Public Investment -2.2 3.0–5.0

4) Export Volume of Goods and Services (percent y-o-y) 14.7 5.5–7.5

5) Import Volume of Goods and Services (percent y-o-y) 21.5 6.6–8.6

6) Trade Balance (billion U.S. dollar) 14.1 10.8–12.8

- Export Value of Goods in U.S. dollar (percent y-o-y) 28.5 13.3–15.3

- Import Value of Goods in U.S. dollar (percent y-o-y) 36.6 15.8–17.8

7) Current Account (billion U.S. dollar) 14.7 11.1–14.1

- Percentage of GDP 4.6 3.2–4.0

8) Headline Inflation (percent y-o-y) 3.4 3.1–4.1

Core Inflation (percent y-o-y) 0.9 2.0–3.0

9) Unemployment Rate (percentage of total labor force) 1.0 0.8–1.0

Page 11: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 9

ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 ประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 (ณ เดือนมีนาคม 2554) (ณ เดือนมีนาคม 2554)

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) คาดวาเศรษฐกิจไทยในป 2554 จะขยายตัวในชวงคาดการณท่ีรอยละ 4.0–5.0 ขยายตัวชะลอลงจากป 2553 ท่ีขยายตัวรอยละ 7.8 โดยมีการปรับปรุงขอมูลและสมมติฐานท่ีสำคัญ ดังน้ี

ปรับปรุงฐานขอมูลอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในป 2553 ที่รอยละ 7.8 และไตรมาสท่ี 4 ป 2553 ที่รอยละ 3.8 ตามที่สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) แถลงเมื่อวันท่ี 21 พฤศจิกายน 2553

เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจมหภาคในเดือนมกราคมและเดือนกุมภาพันธ หรือ 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 1

ป 2554 จากหนวยงานตาง ๆ บงชี้วา ในดานการผลิต ภาคอุตสาหกรรมมีการชะลอตัวลงอยางเห็นไดชัด โดยอุตสาหกรรมเคร่ืองอิเล็กทรอนิกสหดตัวลง ในขณะท่ีการผลิตอาหารและเคร่ืองดื่มชะลอตัวลงมาก หลังจากมีการเรงการผลิตในชวงปกอนหนา ในขณะท่ีภาคเกษตรมีสัญญาณการขยายตัวตอเน่ืองจากราคาสินคาเกษตรในตลาดโลกท่ีปรับตัวสูงขึ้นมาก เปนแรงจูงใจใหเกษตรกรเรงเก็บเก่ียว อีกท้ังภาคบริการดานการทองเท่ียวยังคงมีสัญญาณขยายตัวอยางตอเน่ือง จากจำนวนนักทองเท่ียว ตางชาติท่ีอยูในระดับสูงเปนประวัติการณในเดือนกุมภาพันธ 2554 สะทอนถึงการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะเศรษฐกิจภูมิภาคท่ีฟนตัวอยางแข็งแกรง สวนในดานการใชจายพบวา เคร่ืองชี้การบริโภคและลงทุนสงสัญญาณขยายตัว อยางตอเน่ืองจากปกอนหนา สำหรับการสงออกสินคาและบริการมีสัญญาณขยายตัวตอเน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจของประเทศคูคา ทั้งตลาดหลัก เชน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุน และตลาดใหม เชน จีน กลุมประเทศอาเซียน ลาตินอเมริกา

และทวีปแอฟริกาท่ีฟนตัวอยางตอเน่ือง สวนการนำเขาสินคาและบริการยังคงมีการขยายตัวในระดับสูงตอเน่ืองจากไตรมาสท่ี 4

ป 2553 เชนกัน จากการนำเขาในหมวดเช้ือเพลิงและวัตถุดิบและก่ึงสำเร็จรูปที่ขยายตัวตอเน่ือง ทั้งน้ี การขยายตัวของการสงออกสินคาเม่ือเทียบกับการนำเขาสงผลใหดุลการคาในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 1 ป 2554 เกินดุลเล็กนอย

การเปล่ียนแปลงสมมติฐานท่ีสำคัญ ไดแก (1) ปรับปรุงอัตราการขยายตัวของ 14 ประเทศคูคาท่ี ประกาศจริงของแตละประเทศคูคา ถึงแมวาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของหลายประเทศไดผานภาวะวิกฤตมาแลวและมีสัญญาณฟนตัวอยางเห็นไดชัด แตในอีกหลายประเทศยังคงมีสัญญาณการฟนตัวท่ีเปราะบางและไมแนนอน สศค. จึงปรับเพ่ิมอัตราการขยายตัวของ 14 ประเทศคูคาในป 2554 เพียงเล็กนอยข้ึนมาอยูที่รอยละ 3.4 (2) กำหนดสมมติฐานราคาน้ำมันดิบดูไบในป 2554 ใหอยูที่ 95.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ตามสถานการณราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกท่ีมีแนวโนมสูงขึ้น

อยางตอเน่ือง จากสถานการณความไมสงบทางการเมืองในตะวันออกกลาง (3) ปรับสมมติฐานราคาสงออกและนำเขาในป 2553 ใหขยายตัวท่ีรอยละ 7.0 และรอยละ 8.6 ตามลำดับ (4) ปรับสมมติฐานอัตราแลกเปลี่ยนบาทตอดอลลารสหรัฐในป

2554 ใหออนคาลงเล็กนอยมาอยูที่ 29.2–31.2 บาทตอดอลลารสหรัฐ (5) กำหนดสมมติฐานอัตราดอกเบ้ียนโยบายในป 2554 ใหอยูในชวงรอยละ 2.75–3.75 ตอป และ (6) รายจายภาคสาธารณะในปงบประมาณ 2554 (ตั้งแตเดือนตุลาคม 2553–กันยายน

2554) อยูที่ 2.75–2.78 ลานลานบาท

โดยมีรายละเอียดสมมติฐานและผลการประมาณการ ดังน้ี

Page 12: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 10

สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจไทยสมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554 ป 2554

1. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ 14 ประเทศคูคาหลักของไทย

“สศค.คาดวา ในป 2554 เศรษฐกิจคูคาหลักของไทย 14 ประเทศจะขยายตัวรอยละ 3.4 ชะลอลงเล็กนอยจากป 2553 ท่ีขยายตัวที่รอยละ 4.8 เนื่องจากเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียโดยเฉพาะญ่ีปุนและจีนท่ีคาดวาจะขยายตัวชะลอลงจากปกอนหนา ประกอบกับการฟนตัวของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปที่ยังคงเปนไปอยางเปราะบาง”

1.1 เศรษฐกิจจีน (ตลาดสงออกใหญอันดับ 1 ของไทย : สัดสวนการสงออกรอยละ 11.0 ของมูลคาสงออกสินคารวมในป 2553)

ในป 2553 เศรษฐกิจจีนขยายตัวที่รอยละ 10.3 เพิ่มขึ้นจากปกอนหนาท่ีขยายตัวท่ีรอยละ 9.2 เนื่องจากอุปสงคภายในประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้น สะทอนไดจากยอดคาปลีกสินคาอุปโภคบริโภคในป 2553 ซึ่งขยายตัว

ในระดับสูงท่ีรอยละ 23.3 เพ่ิมขึ้นจากปกอนหนาท่ีขยายตัวรอยละ 15.5 และการสงออก (ในรูปดอลลารสหรัฐ) ในป

ตารางที่ 1 อัตราการขยายตัวเฉลี่ยของเศรษฐกิจคูคาหลักของไทย 14 ประเทศ

ที่มา : รวบรวมและประมาณการโดย สศค.

2553 ท้ังป 2552 2553 Q1 Q2 Q3 Q4 2554f 14 ประเทศ (78.7%) -0.2 4.8 5.4 5.2 4.5 4.3 3.4 1. จีน (11.0%) 9.2 10.3 11.9 10.3 9.6 9.8 9.0 2. ญี่ปุน (10.5%) -6.3 3.9 5.6 3.1 4.9 2.2 1.3 3. สหรัฐอเมริกา (10.3%) -2.6 2.8 2.4 3.0 3.2 2.7 2.9 4. สหภาพยุโรป (9.8%) -4.1 1.7 0.8 2.0 1.9 2.0 1.5 5. ฮองกง (6.7%) -2.7 6.8 8.1 6.4 6.7 6.2 4.5 6. สิงคโปร (5.4%) -0.8 14.5 16.4 19.4 10.5 12.5 4.4 7. ออสเตรเลีย (5.4%) 1.3 2.7 2.1 3.3 2.4 2.7 3.1 8. มาเลเซีย (4.6%) -1.7 7.2 10.1 8.9 5.3 4.8 5.0 9. อินโดนีเซีย (3.8%) 4.6 6.1 5.6 6.1 5.8 6.9 6.3 10. เวียดนาม (3.0%) 5.3 6.8 5.9 6.3 7.4 7.2 6.6 11. ฟลิปปนส (2.5%) 1.1 7.3 7.8 8.2 6.3 7.1 4.8 12. อินเดีย (2.2%) 6.7 8.6 8.6 8.9 8.9 8.2 8.5 13. เกาหลีใต (1.8%) 0.2 6.1 8.1 7.2 4.4 4.8 4.6 14. ไตหวัน (1.7%) -1.9 10.8 13.6 12.9 10.7 6.9 4.2

ประเทศคูคาหลัก เรียงตามสัดสวนมูลคาสงออก

ในป 2553

ภาพที่ 1 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีน (รอยละ)

ที่มา : CEIC

Page 13: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 11

2553 ยังขยายตัวเพ่ิมขึ้นในระดับสูงที่รอยละ 31.3 จากปกอนหนาท่ีหดตัวท่ีรอยละ -15.9 ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจพบวา เงินเฟอทั่วไปในป 2553 อยูที่ระดับเฉล่ียท่ีรอยละ 3.4 เพ่ิมขึ้นจากปกอนหนาท่ีระดับเฉล่ียท่ีรอยละ -0.7 จากราคาอาหารท่ี เพ่ิมขึ้นเปนสำคัญ

ในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 เศรษฐกิจจีนมีสัญญาณชะลอลงเล็กนอย โดยการสงออกและ การนำเขา (ในรูปดอลลารสหรัฐ) ขยายตัวเฉล่ียรอยละ 21.3 และรอยละ 36.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ตามลำดับ ชะลอลงจากป 2553 ที่การสงออกและการนำเขา (ในรูปดอลลารสหรัฐ) ขยายตัวเฉลี่ยท่ีรอยละ 31.3 และรอยละ 38.9 ตามลำดับ สำหรับอุปสงคภายในประเทศพบวา ยอดคาปลีกสินคาบริโภคของจีนในเดือนมกราคม–กุมภาพันธ 2554 ขยายตัวเฉลี่ยรอยละ 15.8 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ลดลงจากป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 18.4 ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจ พบวา ในเดือนมกราคม–กุมภาพันธ 2554 เงินเฟอทั่วไปอยูที่ระดับเฉลี่ยท่ีรอยละ 4.9 เพ่ิมขึ้นจากปกอนหนาท่ีระดับเฉลี่ยท่ี รอยละ -0.7 ตอกย้ำความกังวลตอความเส่ียงดานเงินเฟอของเศรษฐกิจจีน

ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจจีนจะขยายตัวรอยละ 9.0 หรือในชวงคาดการณท่ีรอยละ 8.5–9.5 ชะลอลง

จากปกอนหนาท่ีขยายตัวท่ีรอยละ 10.3 จากสัญญาณชะลอตัวลงของอุปสงคภายนอกประเทศและภายในประเทศ ที่สะทอนจากการสงออกและยอดคาปลีกท่ีชะลอลง และดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรมที่จัดทำโดยทางการจีน (NBS Manufacturing Purchasing Manager Index) ในชวงเดือนมกราคม–กุมภาพันธ 2554 อยูที่ระดับเฉลี่ย 52.6 ลดลงจาก คาเฉล่ียในป 2553 ที่ 53.8 โดยดัชนีที่อยูสูงกวาระดับ 50 บงชี้สัญญาณการขยายตัวตอเน่ืองในภาคการผลิตของจีน ถึงแมจะมีสัญญาณชะลอลงบางก็ตาม ประกอบกับมาตรการเพ่ือควบคุมปริมาณสินเช่ือและเงินเฟอในจีน ซึ่งทำใหคาดวาเศรษฐกิจจีนจะชะลอลงในป 2554 สำหรับปจจัยเส่ียงของเศรษฐกิจจีนน้ันจะเปนเรื่องความเสี่ยงดานเงินเฟอ โดยเฉพาะราคาอาหารในจีน และการชะลอตัวของเศรษฐกิจยุโรปและสหรัฐอเมริกาซ่ึงเปนประเทศคูคาหลักของจีนเปนสำคัญ

1.2 เศรษฐกิจญ่ีปุน (ตลาดสงออกใหญอันดับ 2 ของไทย : สัดสวนการสงออกรอยละ 10.5 ของมูลคาสงออก

สินคารวมในป 2553) ในป 2553 เศรษฐกิจญ่ีปุนขยายตัว

รอยละ 3.9 จากการขยายตัวของภาคการสงออก การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนเปนสำคัญ ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจพบวา อัตราการวางงานในป 2553 คงท่ีจากคาเฉล่ียของปกอนหนาท่ีระดับเฉลี่ยท่ีรอยละ 5.1 ของกำลังแรงงานรวม ขณะท่ีอัตราเงินเฟอทั่วไปยังคง

ติดลบรอยละ -0.7 แตดีขึ้นเล็กนอยจากคาเฉล่ียในป 2552 ที่ติดลบถึงรอยละ -1.3 สงผลใหธนาคารกลางญ่ีปุนยังคง

อัตราดอกเบ้ียนโยบาย (Overnight Call) ในระดับต่ำท่ี รอยละ 0-0.1 เพ่ือสนับสนุนการลงทุนและการจางงาน

ภายในประเทศ ในชวง 2 เดือนแรกของป 2554

เศรษฐกิจญ่ีปุนยังมีสัญญาณการฟนตัวที่ไมชัดเจน โดยความเช่ือมั่นผูบริโภคในชวงเดือนมกราคม–กุมภาพันธ 2554 ซึ่งเปนหน่ึงในเคร่ืองชี้การบริโภคภาคเอกชนอยูในระดับเฉลี่ยที่ 40.9 ลดลงจากคาเฉล่ียของป 2553 ที่ระดับ 41.4 ขณะท่ีดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (Manufacturing Purchasing Manager Index) ในเดือนมกราคม–กุมภาพันธ 2554 อยูในระดับเฉลี่ยท่ี 52.2 เพ่ิมขึ้นจากคาเฉลี่ยในป 2553 ที่ระดับ 51.3 บงชี้ถึงการขยายตัวของภาคการผลิต

ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจญ่ีปุนจะขยายตัวรอยละ 1.3 หรือในชวงคาดการณรอยละ 1.2–1.4 ตอป ลดลงจากปกอนหนา โดยมีปจจัยหลักจากผลกระทบจากเหตุการณแผนดินไหวและสึนามิที่เกิดขึ้นเม่ือวันท่ี 11 มีนาคม 2554

ที่จะสงผลกระทบตอภาคการผลิตและภาคการสงออกของญ่ีปุน อยางไรก็ตาม คาดวาทางการญ่ีปุนจะออกมาตรการดาน การคลังและการเงินเพ่ือฟนฟูเศรษฐกิจภายในประเทศในไตรมาสที่ 2 เปนตนไป เพ่ิมเติมจากการอัดฉีดสภาพคลองของธนาคารกลางญ่ีปุนในวงเงินรวมกวา 25 ลานลานเยน อันจะเปนผลใหเศรษฐกิจญี่ปุนขยายตัวในอัตราที่เรงขึ้นในปลายป

ภาพที่ 2 แหลงท่ีมาและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละ)

ที่มา : CEIC คำนวณโดย สศค.

Page 14: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 12

2554 ทั้งน้ี การอัดฉีดสภาพคลองดังกลาวจำแนกเปนการเพ่ิมสภาพคลองแกธนาคารพาณิชยวงเงิน 15 ลานลานเยน หรือประมาณ 183,000 ลานดอลลารสหรัฐ และแผนการจัดซื้อสินทรัพยทางการเงินเพ่ิมเติมในวงเงิน 10 ลานลานเยน ผานการซ้ือทรัพยสิน อาทิ พันธบัตรรัฐบาลระยะส้ัน 1 ลานลานเยน หุนกูภาคเอกชน 1.5 ลานลานเยน หนวยลงทุนในกองทุนท่ีซื้อขาย ในตลาดหลักทรัพย 450,000 ลานเยน และหนวยลงทุนในกองทุนอสังหาริมทรัพย (REIT)

1.3 เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา (ตลาดสงออกใหญอันดับ 3 ของไทย : สัดสวนการสงออกรอยละ 10.3 ของ

มูลคาสงออกสินคารวมในป 2553) เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาในป 2553

ขยายตัวที่รอยละ 2.8 ดีขึ้นมากจากปกอนหนาที่หดตัวกวารอยละ -2.6 จากการขยายตัวของการลงทุนและ การบริโภคภาคเอกชน รวมท้ังการสะสมสินคาคงคลัง เปนสำคัญ ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจพบวา ในป 2553 อัตราการวางงานของสหรัฐอเมริกายังคงอยูในระดับสูงท่ีรอยละ 9.6 ของกำลังแรงงานรวม ซึ่งสูงกวาระดับกอนวิกฤตเศรษฐกิจที่ประมาณรอยละ 5 ขณะท่ีเงินเฟอทั่วไปอยูที่รอยละ 1.6 สงผลใหธนาคารกลางสหรัฐอเมริกายังคงอัตราดอกเบ้ียนโยบาย (Fed Fund Rate) ในระดับต่ำท่ีรอยละ 0.0–0.25 เพ่ือสนับสนุนการลงทุนและการจางงานภายในประเทศ

ในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 อุปสงคในประเทศของสหรัฐอเมริกามีสัญญาณขยายตัวท่ีดี โดยยอดคาปลีกของสหรัฐอเมริกาในเดือนมกราคม–กุมภาพันธ 2554 ขยายตัวเฉล่ียท่ีรอยละ 8.5 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน เพ่ิมขึ้นจากป 2553 ที่ขยายตัวเฉล่ียท่ีรอยละ 6.6 บงชี้ถึงสัญญาณท่ีดีขึ้นของการบริโภคภาคเอกชนซ่ึงมีสัดสวนกวารอยละ 70 ของ GDP

ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะขยายตัวเปนบวกท่ีรอยละ 2.9 หรือในชวงคาดการณท่ีรอยละ 2.4–3.4 ซึ่งเปนการขยายตัวเพ่ิมขึ้นจากปกอนหนา จากเคร่ืองชี้ทางเศรษฐกิจท่ีสำคัญ เชน 1) ดัชนีความเชื่อมั่น ผูบริโภคในเดือนมกราคม–กุมภาพันธ 2554 ซึ่งอยูที่ระดับเฉลี่ยท่ี 67.6 เพ่ิมขึ้นจากป 2553 ที่ระดับ 53.4 บงชี้ความเชื่อมั่น ที่เพ่ิมขึ้นของผูบริโภคท่ีมีตอการจางงานและเศรษฐกิจภายในประเทศ ซึ่งนับเปนปจจัยชี้นำวาการบริโภคภาคเอกชนในป 2554

จะขยายตัวเพ่ิมสูงข้ึน 2) ดัชนีผูจัดการฝายจัดซ้ือภาคอุตสาหกรรม (ISM Manufacturing Purchasing Manager Index) ในเดือนมกราคม–กุมภาพันธ 2554 อยูที่ระดับเฉล่ียท่ี 61.1 ดีขึ้นจากป 2553 ที่ระดับ 57.3 และ 3) ดัชนีผูจัดการฝายซื้อ

ภาคบริการ (ISM Non-Manufacturing Purchasing Manager Index) ในเดือนมกราคม–กุมภาพันธ 2554 อยูที่ระดับเฉลี่ยท่ี

59.6 เพ่ิมขึ้นจากป 2553 ที่ระดับ 54.0 บงชี้สัญญาณท่ีดีขึ้นในภาคการผลิตและภาคบริการของสหรัฐอเมริกาในป 2554 1.4 เศรษฐกิจสหภาพยุโรป 16 ประเทศ (ตลาดสงออกใหญอันดับ 4 ของไทย : สัดสวนการสงออกรอยละ

9.8 ของมูลคาสงออกสินคารวมในป 2553) เศรษฐกิจยูโรโซนในป 2553 ขยายตัวรอยละ 1.7 ดีขึ้นจากปกอนหนาที่หดตัวรอยละ -4.1 จาก

การบริโภคภาคเอกชนและการสงออกเปนสำคัญ ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจพบวา อัตราการวางงานในป 2553 ยังอยูใน ระดับสูงที่รอยละ 10.0 ของกำลังแรงงานรวม เพ่ิมขึ้นจากปกอนหนาท่ีระดับเฉลี่ยท่ีรอยละ 9.5 ของกำลังแรงงานรวม ดานเงินเฟอทั่วไปในป 2553 อยูที่รอยละ 1.6 เพ่ิมขึ้นจากปกอนหนาท่ีรอยละ 0.4 จากการเพ่ิมขึ้นของราคาเช้ือเพลิงเปนสำคัญ

ในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 เศรษฐกิจยูโรโซนมีสัญญาณขยายตัวที่ดีแตยังมีความเสี่ยงดานเงินเฟอ โดยดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อภาคการผลิตและภาคบริการในเดือนมกราคม–กุมภาพันธ 2554 อยูที่ระดับเฉลี่ยท่ี 57.6

และระดับ 56.4 ตามลำดับ เพ่ิมขึ้นจากคาเฉล่ียในป 2553 ที่ระดับ 55.4 และระดับ 54.5 ตามลำดับ บงชี้สัญญาณท่ีดีขึ้น ในภาคการผลิตและภาคบริการในชวงครึ่งแรกของป 2554 ดานเงินเฟอทั่วไปในชวงเดือนมกราคม–กุมภาพันธ 2554 อยูที่ระดับเฉลี่ยท่ีรอยละ 2.5 เพ่ิมขึ้นจากคาเฉล่ียของป 2553 บงชี้ความเส่ียงดานอัตราเงินเฟอที่เพ่ิมข้ึน โดยเงินเฟอที่เพ่ิมขึ้น

ภาพที่ 3 แหลงที่มาและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละ)

ที่มา : CEIC คำนวณโดย สศค.

Page 15: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 13

สวนหนึ่งเกิดจากคาเงินยูโรที่ปรับออนคาลงมากเมื่อ เทียบกับคาเงินดอลลารสหรัฐในชวงท่ีผานมา

ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจของกลุมประเทศยูโรโซนจะขยายตัวรอยละ 1.5 หรือในชวงคาดการณท่ีรอยละ 1.4–1.6 โดยคาดวาสถานการณ ทางเศรษฐกิจยูโรโซนจะดีขึ้นจากปกอนหนาท่ีหดตัว รอยละ -4.1 จากภาคการผลิตและภาคการสงออกท่ีมี แนวโนมที่ดีในชวงคร่ึงแรกของป อยางไรก็ตาม สถานการณทางเศรษฐกิจในญี่ปุนซึ่งเปนหน่ึงในประเทศคูคาหลักและปญหาหน้ีสาธารณะในหลายประเทศในกลุมยูโรโซน ยังคงเปนปจจัยเส่ียงตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจของยุโรปในระยะตอไป

1.5 เศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศ (สัดสวนการสงออกรอยละ 19.3 ของมูลคาสงออกสินคารวมในป 2553)

เศรษฐกิจอาเซียน 5 ประเทศ (สิงคโปร มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย และฟลิปปนส) ในป 2553 ขยายตัวเรงขึ้นจากปกอนหนา จากอุปสงคท้ังในประเทศและตางประเทศที่ฟนตัวอยางชัดเจน โดยในป 2553 การสงออก

ซึ่งเปนสัดสวนสำคัญของเศรษฐกิจกลุมประเทศอาเซียนดังกลาวขยายตัวตอเน่ือง แมวาจะชะลอลงบางในชวงคร่ึงหลังของ ป 2553 จากปจจัยฐานท่ีเร่ิมสูงขึ้นและจากการชะลอลงของเศรษฐกิจโลก ขณะท่ีการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวไดดีตอเนื่อง อยางไรก็ตาม หากวิเคราะหดานเสถียรภาพภายในประเทศพบวา ระดับเงินเฟอปรับตัวเพ่ิมสูงข้ึนมากในป 2553 โดยเฉพาะเวียดนามท่ีอัตราเงินเฟอเฉลี่ยในป 2553 อยูระดับสูงกวารอยละ 9.2 ดานอัตราวางงานของกลุมประเทศอาเซียนปรับตัวลดลงตอเน่ือง ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโดยเฉพาะภาคการผลิตและการลงทุน

ตารางที่ 2 การเติบโตทางเศรษฐกิจและแหลงท่ีมาของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (%)

ประเทศ สิงคโปร (5.4%) มาเลเซีย (4.6%) อินโดนีเซีย (3.8%) เวียดนาม (3.0%) ฟลิปปนส (2.5%) GDP ป 2553 (%yoy) 14.5 7.2 6.1 6.8 7.3 การบริโภคภาคเอกชน 1.6 3.6 2.7 n/a 4.3 การบริโภคภาครัฐ 1.2 0.0 0.0 n/a 0.2 การลงทุนรวม 1.4 2.0 2.0 n/a 2.9 การสงออกสุทธิ 10.5 -3.3 0.8 n/a 1.3 การเปล่ียนแปลงของสินคาคงคลัง -0.2 4.9 2.2 n/a -1.3

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ภาพที่ 5 อัตราการขยายตัวของการสงออก (รอยละตอป)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ภาพที่ 4 แหลงท่ีมาและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (รอยละ)

ที่มา : CEIC คำนวณโดย สศค.

ภาพที่ 6 ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (รอยละตอป)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

Page 16: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 14

เศรษฐกิจของประเทศในอาเซียน 5 ประเทศในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสท่ี 1 ป 2554 มีแนวโนมชะลอตัวลง จากภาคการสงออกซึ่งเปนสัดสวนสำคัญของเศรษฐกิจกลุมประเทศอาเซียนท่ีขยายตัวในอัตราท่ีชะลอลงในชวงดังกลาว เน่ืองจาก (1) ปจจัยฐานที่เริ่มสูงขึ้น และ (2) เศรษฐกิจคูคาสำคัญขยายตัวชะลอลง (ภาพท่ี 5) ดานดัชนีผลผลิต ภาคอุตสาหกรรมของประเทศคูคาในภูมิภาคอาเซียนโดยรวมปรับตัวดีขึ้น จากอุปสงคในประเทศท่ีขยายตัวตอเน่ืองจากไตรมาสกอนหนา

ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจของประเทศในอาเซียน 5 ประเทศจะยังสามารถขยายตัวไดอยางตอเน่ือง แตคาดวาจะชะลอลงจากป 2553 เน่ืองจากปจจัยฐานท่ีเร่ิมปรับตัวสูงข้ึน โดยในป 2554 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศภูมิภาคอาเซียนจะเร่ิมเขาสูภาวะปกติ (ตารางท่ี 1) อยางไรก็ตาม ปจจัยเส่ียงสำคัญสำหรับป 2554 คือแรงกดดันจากภาวะเงินเฟอที่คาดวาจะเพ่ิมตอเน่ือง ตามราคาน้ำมันและราคาอาหารในตลาดโลกท่ีมีแนวโนมเพ่ิมสูงขึ้น

1.6 เศรษฐกิจประเทศคูคาอื่น ๆ ในเอเชียและออสเตรเลีย (สัดสวนการสงออกรอยละ 17.8 ของมูลคาสงออก

สินคารวมในป 2553) เศรษฐกิจประเทศคูคาอื่น ๆ (ฮองกง ออสเตรเลีย อินเดีย เกาหลีใต และไตหวัน) ในป 2553

ขยายตัวในระดับสูง โดยเปนผลมาจากอุปสงคภายในประเทศทั้งการบริโภคภาคเอกชนและการลงทุนเปนสำคัญ ทั้งน้ี เศรษฐกิจไตหวัน อินเดีย ฮองกง เกาหลีใต และออสเตรเลีย ในป 2553 ขยายตัวในระดับสูงท่ีรอยละ 10.8 รอยละ 8.2 รอยละ 6.8 รอยละ 6.1 และรอยละ 2.7 ตามลำดับ (ตารางท่ี 3)

ตารางที่ 3 การเติบโตทางเศรษฐกิจและแหลงท่ีมาของการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (%)

ประเทศ ฮองกง (6.2%) ออสเตรเลีย (6.1%) อินเดีย (2.1%) เกาหลีใต (1.8%) ไตหวัน (1.5%) GDP 53 (%yoy) 6.8 2.7 8.2 6.1 10.8 การบริโภคภาคเอกชน 3.6 1.5 3.5 2.2 2.1 การลงทุนรวม 1.6 1.5 4.6 1.7 4.0 การบริโภคภาครัฐ 0.2 0.6 -0.5 0.5 0.2 การสงออกสุทธิ 0.3 -1.6 1.2 -0.1 2.3 การเปล่ียนแปลงของสินคาคงคลัง 1.0 0.5 -0.8 1.6 2.2

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

เศรษฐกิจประเทศคูคาอื่น ๆ ในเอเชียและออสเตรเลียในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 ยังคงขยายตัวไดดี ในขณะที่อัตราเงินเฟอยังคงเปนปจจัยเสี่ยงตอการขยายตัวของเศรษฐกิจ โดยภาคการผลิตของกลุมประเทศ

ดังกลาวมีแนวโนมขยายตัวตอเน่ืองจากปกอนหนา เห็นไดจาก (1) ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อ (Purchasing Manager Index : PMI) ที่อยูระดับสูงกวา 50 ในประเทศอินเดียและฮองกง และ (2) ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมของเกาหลีและไตหวันท่ีอยูใน

ภาพที่ 7 ดัชนีคำสั่งซื้อและผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

ภาพที่ 8 อัตราการเฟอท่ัวไป (รอยละ)

ที่มา : CEIC รวบรวมโดย สศค.

Page 17: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 15

ระดับสูงเชนกัน (ภาพท่ี 7) สอดคลองกับการขยายตัวในภาคการสงออกซึ่งเปนสวนท่ีขับเคลื่อนหลักของเศรษฐกิจใน กลุมประเทศดังกลาว ซึ่งยังคงขยายตัวในระดับสูงตอเน่ืองจากปกอนหนา อยางไรก็ตาม อัตราเงินเฟอที่เพ่ิมสูงข้ึนอยาง ตอเนื่องและมีแนวโนมปรับตัวเพ่ิมขึ้นในระยะตอไปตามการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก และทิศทางราคาน้ำมันท่ีเพ่ิมขึ้นจากปญหาความไมสงบในตะวันออกกลาง ยังคงเปนปจจัยเส่ียงตอการขยายตัวของเศรษฐกิจในภูมิภาคดังกลาวผาน ภาคการบริโภคเอกชนท่ีมีกำลังซื้อที่ลดลงจากสินคาและบริการท่ีมีราคาสูงขึ้น (ภาพท่ี 8)

ในป 2554 สศค.คาดวาเศรษฐกิจในกลุมประเทศดังกลาวจะขยายตัวชะลอลงจากปกอนหนา โดยปจจัยหลักของการขยายตัวของเศรษฐกิจในกลุมประเทศดังกลาว คือการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกท่ีมีทิศทางชะลอตัวลง โดยเฉพาะในกลุมประเทศยุโรปที่ยังคงมีความเสี่ยงดานหน้ีสาธารณะ ญ่ีปุนจากภัยพิบัติแผนดินไหวและสึนามิ และจีน ซึ่งปจจัยเส่ียงดังกลาวอาจสงผลกระทบตอภาคการสงออกของกลุมประเทศดังกลาวใหปรับตัวลดลงเชนกัน

2. ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก

“ในป 2554 คาดวาราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยอยูท่ี 95.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล (ชวงคาดการณอยูท่ี

90.0-100.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) เพิ่มขึ้นจากป 2553 ท่ีอยูท่ีระดับ 78.2 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล โดยมีปจจัยหลักมาจากอุปสงคท่ีกลับมาขยายตัวตอเน่ืองจากป 2553 หลังจากหดตัวอยางตอเน่ืองเปนเวลากวา 2 ป ท้ังน้ี การขยายตัวท่ีเกิดขึ้นเปนผลมาจากความตองการของประเทศนอกกลุม OECD โดยเฉพาะประเทศจีน ประเทศอินเดีย และประเทศในกลุมเอเชียเปนสำคัญ นอกจากน้ี สหรัฐอเมริกาและประเทศในทวีปยุโรปไดเผชิญกับสภาพอากาศท่ี หนาวเย็นผิดปกติจากปรากฏการณลานีญา (La Nina) ในชวงไตรมาสที่ 4 ป 2553 ท่ีตอเนื่องมาจนถึงไตรมาสแรกของป 2554 ทำใหมีความตองการน้ำมันเพ่ือใชในการทำความรอนเพ่ิมสูงขึ้น ประกอบกับภัยพิบัติท่ีเกิดขึ้นในประเทศญี่ปุนน้ัน ถือเปนอีกปจจัยหน่ึงท่ีทำใหมีความตองการน้ำมันเพื่อทดแทนการผลิตกระแสไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียรภายในประเทศเพ่ิมสูงขึ้น ในขณะที่ดานอุปทานยังเพิ่มขึ้นจากท้ังกลุมประเทศ OPEC และกลุมประเทศนอก OPEC โดยเฉพาะประเทศซาอุดีอาระเบีย ประเทศอิรัก และประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส อยางไรก็ดี การเพิ่มขึ้นเปนไปไดอยางจำกัด เน่ืองจากไดรับผลกระทบจากสถานการณความไมสงบทางการเมืองของประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง เชน ประเทศอียิปต ประเทศลิเบีย และประเทศตูนิเซีย ซึ่งเปนผูผลิตและสงออกน้ำมันดิบรายใหญของโลก สงผลใหมีการเก็งกำไรจากการซื้อขายสัญญาน้ำมันดิบลวงหนาเพิ่มขึ้น”

ภาพที่ 9 สมมติฐานราคาน้ำมันดิบดูไบ ในป 2554

ที่มา : Reuters

Page 18: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 16

ราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยป 2554 คาดวาจะปรับตัวเพิ่มขึ้นสูระดับ 95.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล (ชวงคาดการณอยูท่ี 90.0-100.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) เพิ่มขึ้นจากป 2553 ท่ีอยู ณ ระดับ 78.2 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล โดยในชวงไตรมาสแรกป 2554 ราคาน้ำมันดิบดูไบเฉล่ียอยูที่ระดับ 100.5 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล โดยปรับตัว

ขึ้นไปอยูในระดับสูงสุดในรอบ 19 เดือน ที่ระดับ 112.2 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ในวันท่ี 2 มีนาคม 2554 และมีแนวโนมที่จะสูงขึ้นตอเน่ือง ทั้งน้ี ภัยพิบัติแผนดินไหวและสึนามิที่ญ่ีปุนเมื่อวันท่ี 11 มีนาคม 2554 มีสวนทำใหราคาน้ำมันปรับตัวสูงขึ้น

เน่ืองจากญี่ปุนตองนำเขาน้ำมันมากข้ึนเพ่ือใชในการทำความรอนและผลิตกระแสไฟฟาภายในประเทศ เพ่ือทดแทนการผลิตจากโรงไฟฟานิวเคลียรที่ตองหยุดดำเนินการ

ปจจัยหลักท่ีมีผลตอราคาน้ำมันดิบดูไบในป 2554 ไดแก 1) อุปสงคท่ีกลับมาขยายตัวไดอีกคร้ัง หลังจากท่ีหดตัวอยางตอเน่ืองมานานกวา 2 ป โดยไดแรงขับเคล่ือนหลักมาจากอุปสงคจากประเทศนอกกลุม OECD เชน จีนและอินเดียเปนสำคัญ ประกอบกับสภาพอากาศหนาวเย็นท่ีผิดปกติมาต้ังแตชวงไตรมาสที่ 4 ป 2553 เน่ืองจาก ปรากฏการณลานีญา สงผลใหความตองการน้ำมันเพ่ือใชในการทำความรอนเพ่ิมสูงขึ้น นอกจากน้ัน ภัยพิบัติแผนดินไหวและ

สึนามิในญ่ีปุนถือเปนอีกปจจัยหน่ึงท่ีทำใหมีความตองการน้ำมันทดแทนการผลิตกระแสไฟฟาภายในประเทศเพ่ิมสูงข้ึน ขณะท่ี 2) อุปทานน้ำมันดิบคาดวาจะเพิ่มขึ้นไดในกรอบท่ีจำกัด โดยเปนผลมาจากสถานการณความไมสงบทางการเมืองของประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง เชน ประเทศอียิปต ประเทศลิเบีย และประเทศตูนิเซีย ซึ่งเปนผูผลิตและสงออก น้ำมันดิบรายใหญของโลก ซึ่งจะสงผลใหนักลงทุนเก็งกำไรจากการซ้ือขายสัญญาน้ำมันลวงหนาเพ่ิมขึ้น

1) อุปสงคน้ำมันดิบเพ่ิมขึ้นตามการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก International Energy Agency (IEA) คาดวาในป 2554 ความตองการน้ำมันดิบทั่วโลกจะอยูที่ 89.4 ลานบารเรลตอวัน และถาเทียบกับป 2553 ที่อยูที่ระดับ 87.9 ลานบารเรลตอวัน จะเปนการปรับตัวเพ่ิมขึ้น 1.4 ลานบารเรลตอวัน หรือขยายตัวท่ีรอยละ 1.7 ตอป ขยายตัวตอเนื่อง หลังจากท่ีหดตัวติดตอกันมาเปนเวลากวา 2 ป ในป 2551 และป 2552 ทั้งน้ี การขยายตัวท่ีเกิดข้ึนเปนผลมาจากความตองการของประเทศนอกกลุม OECD เปนสำคัญ

• โดยประเทศในกลุม OECD คาดวาในป 2554 มีความตองการใชน้ำมันดิบรวมที่ 46.0 ลานบารเรล ตอวัน ลดลงจากป 2553 ที่ 0.1 ลานบารเรลตอวัน หรือหดตัวเพียงเล็กนอยท่ีรอยละ 0.2 เน่ืองจากความตองการใชน้ำมันดิบ ในกลุมสหภาพยุโรปที่ลดลง ขณะท่ีคาดวาสหรัฐอเมริกาจะมีความตองการใชน้ำมันดิบสูงขึ้นในป 2554 ที่ 24.0 ลานบารเรลตอวัน หรือขยายตัวท่ีรอยละ 0.3 จากป 2553 สำหรับสถานการณแผนดินไหวและสึนามิที่ญ่ีปุนนั้นทำใหความตองการน้ำมันชะลอตัวลงในระยะส้ัน แตความตองการน้ำมันดิบโลกจะเพ่ิมขึ้นในระยะกลางและระยะยาว เน่ืองจากญ่ีปุนตองนำเขาน้ำมันปริมาณมากเพ่ือใชทำความรอนและผลิตกระแสไฟฟาภายในประเทศ เพ่ือทดแทนการผลิตจากโรงไฟฟานิวเคลียรท่ีตองปดไป โดยญ่ีปุนเปนประเทศท่ีนำเขาน้ำมันดิบเปนอันดับ 3 ของโลก

• ในขณะท่ีประเทศนอกกลุม OECD คาดวาในป 2554 มีความตองการใชน้ำมันดิบรวมที่ 43.3 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับป 2553 ที่อยูที่ 41.8 ลานบารเรลตอวัน หรือเพ่ิมขึ้น 1.5 ลานบารเรลตอวัน คิดเปนการขยายตัว

รอยละ 3.6 สาเหตุสำคัญมาจากความตองการน้ำมันในจีนท่ีเพ่ิมสูงขึ้น เน่ืองจากรฐับาลจีนตองการควบคุมมลพิษซึ่งปลอยจากโรงงานไฟฟาท่ีใชถานหิน จึงมีความตองการท่ีจะเปล่ียนไปใชพลังงานจากน้ำมันดีเซลซ่ึงมีมลพิษต่ำกวา นอกจากน้ัน ยังมีความตองการน้ำมันในระดับสูงเพ่ือใชในภาคการขนสง ภาคอุตสาหกรรม และภาคการกอสรางท่ีเติบโตไดดี สำหรับ

สถานการณความไมสงบทางการเมืองของอยิีปตที่ผานมาน้ันสงผลกระทบตออุปสงคเพียงเล็กนอย 2) อุปทานน้ำมันดิบโลกที่เพ่ิมขึ้นโดยเฉพาะจากกลุม OPEC คาดวาในป 2554 ปริมาณน้ำมันท่ีผลิตท่ัวโลก

จะอยูที่ 88.9 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับป 2553 ที่อยูที่ 88.1 ลานบารเรลตอวัน หรือเพ่ิมขึ้น 0.8 ลานบารเรลตอวัน คิดเปนอัตราการขยายตัวรอยละ 1.02 ตอป

• ในกลุม OPEC คาดวากำลังการผลิตน้ำมันดิบในป 2554 จะอยูที่ 35.3 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับ

ป 2553 ที่อยูที่ระดับ 34.5 ลานบารเรลตอวัน หรือเพ่ิมขึ้น 0.8 ลานบารเรลตอวัน คิดเปนอัตราขยายตัวรอยละ 2.3 ตอป โดยกลุม OPEC ไดเร่ิมเพ่ิมการผลิตข้ึนมาอยางตอเน่ืองตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2552 ตามราคาน้ำมันดิบท่ีสูงข้ึนตอเน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจที่ฟนตัวไดในชวงครึ่งหลังของป 2552 ทั้งนี้ การผลิตที่เพ่ิมขึ้นเปนผลมาจากการเพิ่มผลผลิตของประเทศซาอุดีอาระเบีย ประเทศอิรัก และประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตสเปนหลัก โดยอิรักมีการผลิตน้ำมันมากท่ีสุดในรอบ 20 ป ที่ 2.8 ลานบารเรลตอวัน ณ เดือนกุมภาพันธ 2554 อยางไรก็ตาม สถานการณความไมสงบในลิเบียท่ีลุกลามมาจากการชุมนุม

ทางการเมืองในประเทศอียิปตมีผลทำใหอุปทานลดลง โดยลิเบียมีกำลังการผลิตน้ำมันดิบท่ี 1.6 ลานบารเรลตอวัน คิดเปน

Page 19: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 17

สัดสวนรอยละ 4.5 ของกำลังการผลิต OPEC หรือเปนผูผลิตน้ำมันใหญอันดับ 8 ของ OPEC และรอยละ 1.8 ของกำลัง การผลิตของโลกในป 2553 ซึ่งลิเบียเปนประเทศท่ีมีการสงออกน้ำมันดิบเปนอันดับ 12 ของโลก หรือมีมูลคาสงออกน้ำมันดิบ 1.2 ลานบารเรลตอวัน โดยในเดือนกุมภาพันธ 2554 ลิเบียไดลดการผลิตลงรอยละ 13.7 ของการผลิตทั้งหมด ซึ่งหากสถานการณความไมสงบทางการเมืองลุกลามไปทั่วในกลุมประเทศผูผลิตน้ำมันดิบในตะวันออกกลาง อาทิ ซาอุดีอาระเบียและอิหราน ซึ่งเปนผูผลิตน้ำมันดิบอันดับ 1 (8.1 ลานบารเรลตอวัน) และอันดับ 2 ของโลก (3.7 ลานบารเรลตอวัน) ตามลำดับ จะสงผลใหราคาน้ำมันดิบปรับตัวเพ่ิมขึ้นอยางรุนแรงได ประกอบกับนักลงทุนอาจทำการปองกันความเส่ียงและเก็งกำไรจากการซ้ือขายสัญญาน้ำมันลวงหนา ซึ่งจะทำใหราคาน้ำมันย่ิงปรับตัวสูงขึ้น

• สวนในกลุม Non-OPEC คาดวากำลังการผลิตในป 2554 อยูที่ระดับ 53.6 ลานบารเรลตอวัน เทียบกับป 2553 ที่อยูที่ 52.8 ลานบารเรลตอวัน เพ่ิมขึ้น 0.8 ลานบารเรลตอวัน คิดเปนการขยายตัวรอยละ 1.5 ตอป เน่ืองจากการผลิตที่เพ่ิมขึ้นจากกลุมประเทศลาตินอเมริกา รัสเซีย จีน เม็กซิโก บราซิล และประเทศโคลัมเบีย เพ่ือใหรองรับการขยายตัว ทางเศรษฐกิจไดอยางเพียงพอ อยางไรก็ตาม สถานการณความไมสงบทางการเมืองในประเทศอารเจนตินา ประเทศอียิปต และประเทศลิเบีย และความเสี่ยงจากพายุเฮอรริเคนท่ีเม็กซิโกและอุทกภัยในออสเตรเลีย จะทำใหอุปทานเพ่ิมขึ้นไดในกรอบ ที่จำกัด

3. ราคาสินคาสงออกและนำเขา (ในรูปดอลลารสหรัฐ) ในป 2554 คาดวาราคาสินคาสงออกจะขยายตัวรอยละ 7.0 (ชวงคาดการณท่ีรอยละ 6.0-8.0) เนื่องจากราคา

สินคาเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรท่ีปรับตัวสูงขึ้นตอเน่ือง โดยเฉพาะยางพารา มันสำปะหลัง และปาลมน้ำมัน ผลจากความตองการของประเทศคูคาของไทยท่ีเพิ่มสูงขึ้นตามอุปสงคในตลาดโลกที่ฟนตัวอยางตอเน่ือง ประกอบกับเหตุการณภัยพิบัติในประเทศญี่ปุนสงผลกระทบตอพ้ืนท่ีเพาะปลูกของญ่ีปุน ซึ่งคิดเปนสัดสวนรอยละ 28 ของจีดีพีภาคเกษตร ทำใหญี่ปุนมีความตองการนำเขาสินคาเกษตรมากขึ้นเพื่อการบริโภคภายในประเทศ และสงผลใหราคาสินคาเกษตรใหสูงขึ้นในท่ีสุด ขณะที่คาดวาราคาสินคานำเขาจะขยายตัวสูงขึ้นท่ีรอยละ 8.6 (ชวงคาดการณท่ีรอยละ 7.6-9.6) สาเหตุหลักจากราคาเช้ือเพลิงท่ีขยายตัวเพิ่มขึ้นมากตามการเพ่ิมขึ้นของราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก เน่ืองจากอุปสงคท่ีเพิ่มขึ้นจากจีนและอินเดีย ประกอบกับความกังวลในอุปทานน้ำมันท่ีคาดวาจะลดลงจากผลกระทบการจลาจลในตะวันออกกลางและประเทศลิเบียท่ีอาจจะมีความยืดเยื้อ

อัตราการขยายตัวของราคาสินคาสงออก (รูปดอลลารสหรัฐ)

ที่มา : กระทรวงพาณิชย และ สศค.

อัตราการขยายตัวของราคาสินคานำเขา (รูปดอลลารสหรัฐ)

ภาพที่ 10 อัตราการขยายตัวของราคาสินคาสงออกและนำเขา (รูปดอลลารสหรัฐ) ในป 2554

Page 20: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 18

3.1 ราคาสินคาสงออกในรูปดอลลารสหรัฐ ราคาสินคาสงออกในป 2554 คาดวาจะขยายตัวรอยละ 7.0 (ชวงคาดการณท่ีรอยละ 6.0-8.0)

ตอเน่ืองจากป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 9.1 เน่ืองจากคาดวาราคาสินคาอุตสาหกรรมซึ่งมีสัดสวนสูงรอยละ 75.3 ของดัชนี ราคารวม จะขยายตัวเพ่ิมขึ้นตามอุปสงคในตลาดโลกท่ีฟนตัวจนใกลเคียงระดับกอนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ โดยราคาสินคาอุตสาหกรรมในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 ขยายตัวรอยละ 4.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ประกอบกับราคาสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 ซึ่งมีสัดสวนรองลงมาที่รอยละ 11.3 และรอยละ 6.6 ตามลำดับ ปรับตัวข้ึนสูงถึงรอยละ 18.5 และรอยละ 9.0 ตามลำดับ โดยเฉพาะยางพารา มันสำปะหลัง และปาลมน้ำมัน มีราคาปรับตัวเพ่ิมสูงมาก โดยในชวง 2 เดือนแรก ราคายางพาราขยายตัวถึงรอยละ 50.8 เน่ืองจากความตองการจากประเทศคูคาของไทยโดยเฉพาะจีนอยูในระดับสูง ประกอบกับปญหาภัยพิบัติในประเทศญ่ีปุนสงผลกระทบตอพ้ืนท่ีเพาะปลูกของญ่ีปุน ซึ่งคิดเปนสัดสวนรอยละ 28 ของจีดีพีภาคเกษตร ทำใหญ่ีปุนมีความตองการนำเขาสินคาเกษตรมากข้ึนเพ่ือใชบริโภคภายในประเทศ สงผลใหราคาสินคาเกษตรปรับตัวสูงข้ึน

3.2 ราคาสินคานำเขาในรูปดอลลารสหรัฐ

ราคาสินคานำเขาในป 2554 คาดวาจะขยายตัวเรงขึ้นท่ีรอยละ 8.6 (ชวงคาดการณท่ีรอยละ 7.6-9.6) เทียบกับป 2553 ที่ขยายตัวท่ีรอยละ 8.1 ตามการฟนตัวของภาวะเศรษฐกิจโลกในป 2553 เน่ืองจากราคาสินคาประเภท เชื้อเพลิงซึ่งมสีัดสวนรอยละ 20.85 ของดัชนีราคารวมจะขยายตัวเพ่ิมขึ้นมาก โดยในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 ขยายตัวสูง ที่รอยละ 21.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ตามการเพ่ิมขึ้นของราคาน้ำมันดิบโลก เน่ืองจากอุปสงคที่เพ่ิมขึ้นจากจีนและอินเดีย ประกอบกับความกังวลในอุปทานน้ำมันท่ีคาดวาจะลดลงจากผลกระทบการจลาจลในตะวันออกกลางและประเทศลิเบียท่ีอาจมคีวามยืดเย้ือ นอกจากน้ัน ราคาสินคาประเภทวัตถุดิบและก่ึงสำเร็จรูปที่มีสัดสวนมากท่ีสุดถึงรอยละ 43.5 ก็ขยายตัวไดดี โดยในชวง 2 เดือนแรกขยายตัวท่ีรอยละ 6.7 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน เปนไปตามการฟนตัวของภาคอุตสาหกรรมท่ีมีการเรงการผลิตเพ่ิมขึ้นจนเขาสูภาวะปกติ

4. อัตราแลกเปลี่ยนบาทตอดอลลารสหรัฐ “สศค.คาดวาในป 2554 คาเงินบาทเฉลี่ยจะแข็งขึ้นตอเน่ืองจากป 2553 มาอยูท่ี 30.2 บาทตอดอลลารสหรัฐ

(โดยมีชวงคาดการณท่ีประมาณ 29.2–31.2 บาทตอดอลลารสหรัฐ)”

ภาพที่ 11 สมมติฐานอัตราแลกเปลี่ยนบาทตอดอลลารสหรัฐ เฉลี่ยในป 2553 และป 2554

ที่มา : Reuters

Page 21: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 19

4.1 สถานการณคาเงินบาทในชวงที่ผานมา หากพิจารณาทิศทางความเคลื่อนไหวของคาเงินบาทตอดอลลารสหรัฐในปจจุบันเทียบกับตนป 2554

แลว จะพบวาคาเงินบาทออนคาลงรอยละ 0.63 (ภาพท่ี 12) เน่ืองจากมีเงินทุนไหลออกจากตลาดทุนไทยต้ังแตตนป สาเหตุสำคัญจากเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาท่ีมีแนวโนมฟนตัวดีในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 ประกอบกับสถานการณ ความไมสงบในตะวันออกกลาง สงผลใหนักลงทุนดึงเงินกลับไปถือสินทรัพยดอลลารสหรัฐที่ถือวามีความปลอดภัยสูง (Safe Haven) อยางไรก็ตาม ตั้งแตชวงกลางเดือนกุมภาพันธเปนตนมา นักลงทุนตางชาติไดกลับเขามาลงทุนในประเทศไทย ทำใหคาเงินบาทกลับมาแข็งคาข้ึนอีกคร้ัง

ภาพที่ 12 อัตราแลกเปลี่ยนบาทตอดอลลารสหรัฐ รายวัน

ที่มา : Reuters / สศค.

เมื่อพิจารณาจากดุลการชำระเงิน (Balance of Payment) ในชวง 2 เดือนแรกของปเกินดุลสะสมแลว 6.0 พันลานดอลลารสหรัฐ

ภาพที่ 13 ดุลการชำระเงินของประเทศไทยป 2553-2554

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย

Page 22: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 20

4.2 แนวโนมของคาเงินบาทในระยะถัดไป ในป 2554 คาดวาคาเงินบาทเฉล่ียตอดอลลารสหรัฐจะมีแนวโนมแข็งคาข้ึนมาอยูที่ระดับ 30.2 บาทตอดอลลาร

สหรัฐ (โดยมีชวงคาดการณอยูที่ระดับ 29.2–31.2 บาทตอดอลลารสหรัฐ) จากปจจัยหลัก 2 ปจจัย ไดแก (1) ดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยในป 2554 ท่ีนาจะยังคงเกินดุลตอเน่ืองจากการสงออกและภาคการทองเท่ียว

ของไทยท่ียังคงขยายตัวไดดี เน่ืองจากเศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคกลับสูภาวะปกติ ทำให คาดวาความตองการสินคาสงออกของไทยจะมีอยูอยางตอเน่ือง ทั้งน้ี ภาคการสงออกและภาคการทองเท่ียวของไทยท่ีคาดวาจะยังขยายตัวไดในเกณฑท่ีดีจะสงผลใหบัญชีเดินสะพัดของไทยในป 2554 เปนบวก ซึ่งจะเปนปจจัยสนับสนุนใหคาเงินบาท มีแนวโนมแข็งคาข้ึน

(2) ดุลเงินทุนของไทยในระยะตอไปที่คาดวาจะยังคงเกินดุลอยางตอเน่ือง จากการไหลเขาของเงินทุนเคลื่อนยายมาลงทุนในตลาดทุนไทยและตลาดภูมิภาค โดยสวนหน่ึงยังคงมาจากการปรับสัดสวนการลงทุนของนักลงทุนออกจากสหรัฐอเมริกาและยุโรปซึ่งยังไมมีทิศทางการฟนตัวท่ีชัดเจนจากปญหาการจางงานและหน้ีสาธารณะ มาลงทุน ในประเทศแถบภูมิภาคเอเชียซ่ึงนักลงทุนมองวามีการขยายตัวในระดับที่แข็งแกรง ตลอดจนมาตรการอัดฉีดสภาพคลองของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา หรือ QE2 ที่มีมูลคาสูงถึง 6 แสนลานดอลลารสหรัฐ ซึ่งจะสงผลใหสภาพคลองของเงินดอลลารสหรัฐในระยะถัดไปเพ่ิมมากขึ้น และอาจสงผลใหคาเงินดอลลารสหรัฐในระยะถัดไปมีแนวโนมออนคาลงเมื่อเทียบกับคาเงินบาทดวย

5. อัตราดอกเบี้ยนโยบาย “สศค.คาดการณวาในป 2554 อัตราดอกเบี้ยนโยบายจะปรับตัวสูงขึ้นมาอยูท่ีรอยละ 3.25 ตอป (ชวงคาดการณ

รอยละ 2.75–3.75 ตอป)”

คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ธนาคารแหงประเทศไทยไดดำเนินนโยบายการเงินแบบ เขมงวดมากขึ้น หลังจากท่ีคงอัตราดอกเบ้ียไวที่ระดับต่ำท่ีรอยละ 1.25 ตอป เพ่ือสนับสนุนการฟนตัวของเศรษฐกิจไทยใน ชวงวิกฤตเศรษฐกิจโลกเปนเวลากวา 16 เดือน โดยนับตั้งแตครึ่งหลังของป 2553 กนง.ไดประกาศปรับขึ้นอัตราดอกเบ้ียนโยบาย 5 ครั้ง มาอยูที่รอยละ 2.50 จากการท่ีเศรษฐกิจไทยสามารถขยายตัวไดอยางตอเน่ือง และแรงกดดันจากอัตราเงินเฟอที่คาดวาจะปรับตัวเพ่ิมขึ้นตามราคาน้ำมันในตลาดโลกท่ีมีแนวโนมสูงขึ้น

ภาพที่ 14 อัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราเงินเฟอพ้ืนฐาน

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย รวบรวมโดย สศค.

Page 23: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 21

ในปลายป 2554 สศค.คาดวาอัตราดอกเบี้ยนโยบายจะปรับตัวสูงขึ้นไปอยูท่ีรอยละ 3.25 ตอป (ชวงคาดการณท่ีรอยละ 2.75-3.75 ตอป) เน่ืองจากการขยายตัวของเศรษฐกิจท่ีแข็งแกรง กอปรกับแรงกดดันดานเงินเฟอจากราคาน้ำมันในตลาดโลกท่ีมีแนวโนมสูงขึ้น จะสงผลใหอัตราเงินเฟอปรับตัวสูงข้ึน ทำใหคาดวา กนง.จะปรับขึ้นอัตราดอกเบ้ียนโยบายเพ่ือควบคุมการขยายตัวของอัตราเงินเฟอพ้ืนฐานใหอยูในกรอบเปาหมายท่ีรอยละ 0.5-3.0

ภาพที่ 15 สมมติฐานอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ณ สิ้นป

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย ประมวลผลโดย สศค.

6. รายจายภาคสาธารณะประจำปงบประมาณ 2554 “ปงบประมาณ 2554 รายจายภาคสาธารณะ ประกอบดวย (1) รายจายรัฐบาล (2) รายจายองคกรปกครอง

สวนทองถ่ิน (อปท.) และ (3) รายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ คาดวาจะสามารถเบิกจายไดจำนวน 2.75-2.78 ลานลานบาท เพิ่มจากปงบประมาณ 2553 ซึ่งมีรายจายภาคสาธารณะจำนวน 2.52 ลานลานบาท หรือคิดเปนการขยายตัวรอยละ 9.0–10.1”

6.1 กรอบวงเงินงบประมาณรายจายของรัฐบาล

ปงบประมาณ 2554 รัฐบาลตั้งกรอบวงเงินงบประมาณรายจายจำนวน 2,070,000 ลานบาท ซึ่งเปน

การดำเนินนโยบายงบประมาณแบบขาดดุลจำนวน 420,000 ลานบาท หรือประมาณรอยละ 3.9 ของ GDP ภายใตประมาณการการจัดเก็บรายไดรัฐบาลเทากับ 1,650,000 ลานบาท โดยโครงสรางงบประมาณรายจายของรัฐบาลแบงออกเปน

(1) รายจายประจำจำนวน 1,661,482 ลานบาท (2) รายจายเพ่ือชดใชเงินคงคลังจำนวน 30,346 ลานบาท (3) รายจายลงทุนจำนวน 345,617 ลานบาท และ (4) รายจายชำระคืนตนเงินกูจำนวน 32,554 ลานบาท นอกจากน้ี รัฐบาลไดมีการจัดทำ งบประมาณเพ่ิมเติมกลางปจำนวน 99,968 ลานบาท โดยเปนรายจายเพ่ือชดใชเงินคงคลังจำนวน 84,143 ลานบาท และ

รายจายเพ่ือการฟนฟูภัยพิบัติและเงินอุดหนุนให อปท.จำนวน 15,825 ลานบาท

Page 24: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 22

ตารางที่ 4 กรอบโครงสรางงบประมาณประจำปงบประมาณ 2553 และ 2554 (หนวย : ลานบาท)

โครงสรางงบประมาณ ปงบประมาณ 2553 ปงบประมาณ 2554 เพิ่ม/ลด รอยละ

1. วงเงินงบประมาณรายจาย 1,700,000 2,070,000 21.8 - สัดสวนตอ GDP 17.0 19.4 1.1 รายจายประจำ 1,434,710 1,661,482

15.8 - สัดสวนตองบประมาณ 84.4 80.2

1.2 รายจายเพ่ือชดใชเงินคงคลัง - 30,346 100.0

- สัดสวนตองบประมาณ - 1.5

1.3 รายจายลงทุน 214,369 345,617 61.2

- สัดสวนตองบประมาณ 12.6 16.7

1.4 รายจายชำระคืนตนเงินกู 50,921 32,555 -36.1

- สัดสวนตองบประมาณ 3.0 1.6

2. ประมาณการรายได 1,350,000 1,650,000 22.2 - สัดสวนตอ GDP 13.5 15.5 3. ดุลงบประมาณ -350,000 -420,000 20.0 - สัดสวนตอ GDP 3.5 3.9 ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) เบื้องตน 10,000,900 10,650,960 6.5

ที่มา : สำนักงบประมาณ

ตารางที่ 5 สมมติฐานการเบิกจายรายจายของรัฐบาลกลางปงบประมาณ 2554 (หนวย : ลานบาท)

ปงบประมาณ 2553 ปงบประมาณ 2554 คาดการณ ณ เดือน มี.ค. 2554 1. รายจายรัฐบาล (1.1+1.2) 2,004,313 2,194,101-2,221,902 1.1 รายจายงบประมาณ (1)+(2)+(3)+(4) 1,784,413 2,143,904 (1) รายจายประจำ 1,444,760 1,677,267

(2) รายจายลงทุน 183,115 247,980

(3) รายจายเหล่ือมป 156,538 118,689

(4) รายจายเพ่ิมเติม (งบกลางป) - 99,968

- ชดใชเงินคงคลัง - 84,143

- เพ่ือฟนฟูภัยพิบัติและอุดหนุน อปท. - 15,825

รายจายรัฐบาลประจำป (1)+(2)+(4) 1,627,875 2,025,215

อัตราเบิกจายรายจายงบประมาณรอยละ/+งบเพ่ิมเติม 95.8% 93.0%/93.3%

(จากวงเงินงบประมาณรายจาย/+งบเพ่ิมเติม) 1,700,000 2,070,000/2,169,968

1.2 รายจายนอกงบประมาณ แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 219,901 50,196-77,998

ที่มา : ขอมูลจาก สศค. สศช. และคาดการณโดย สศค.

Page 25: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 23

สำหรับงบประมาณรายจายประจำป 2554 คาดวารัฐบาลจะสามารถเบิกจายไดจำนวน 2,197,830 ลานบาท (ชวงคาดการณท่ีจำนวน 2,194,101–2,211,902 ลานบาท) (รวมงบประมาณกลางปงบประมาณ 2554 จำนวน 99,968 ลานบาท) ภายใตสมมติฐานการเบิกจายรายจายประจำปงบประมาณ 2554 คิดเปนรอยละ 93.3 ของกรอบวงเงินงบประมาณ (รวมงบประมาณกลางป) ซึ่งแบงเปนการเบิกจายรายจายประจำจำนวน 1,677,267 ลานบาท และรายจายลงทุนจำนวน 247,980 ลานบาท โดยคิดเปนอัตราการเบิกจายรายจายลงทุนท่ีรอยละ 72.0 ของ กรอบวงเงินรายจายลงทุน และรายจายเหล่ือมปคาดวาจะสามารถเบิกจายไดจำนวน 118,689 ลานบาท

นอกจากนี้ รัฐบาลไดมีแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 โดยมีกรอบวงเงินลงทุนจำนวน 350,000 ลานบาท โดยคาดวาในปงบประมาณ 2554 คาดวาจะมีการเบิกจายเงินลงทุนจากแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ในชวงคาดการณในกรณีฐานและกรณีสูงที่จำนวน 50,196–77,998 ลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 14.3 และรอยละ 22.3 ของกรอบเงินลงทุนโครงการไทยเขมแข็ง 350,000 ลานบาท

6.2 งบประมาณรายจายขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน

องคกรปกครองสวนทองถ่ิน (อปท.) คาดวาจะมีการเบิกจายงบประมาณรวมท้ังสิ้น 301,455 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 5.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน เน่ืองจาก อปท.มีฐานรายไดเพ่ือการใชจายงบประมาณในทองถิ่นท่ี สูงข้ึนตามการฟนตัวของภาวะเศรษฐกิจของประเทศ สะทอนไดจากการท่ี อปท.มีการเบิกจายงบประมาณทองถ่ินจริงในชวงไตรมาสแรกของปงบประมาณ 2554 แลวจำนวน 63,312 ลานบาท

ตารางที่ 6 สมมติฐานการเบิกรายจายองคกรปกครองสวนทองถ่ินในปงบประมาณ 2554

ที่มา : สศค. สศช. และคาดการณโดย สศค.

(หนวย : ลานบาท)

ปงบประมาณ 2553 ปงบประมาณ 2554 คาดการณ ณ เดือน มี.ค. 2554 รายจายทองถ่ิน 286,557 301,455

6.3 งบประมาณรายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจ งบประมาณลงทุนประจำป 2554 ของรัฐวิสาหกิจที่พรอมดำเนินการมีจำนวน 315,370 ลานบาท สามารถ

แบงออกไดดังน้ี 1) รัฐวิสาหกิจที่ใชปงบประมาณ (เร่ิมดำเนินการวันท่ี 1 ตุลาคม 2553–30 กันยายน 2554) มีงบลงทุนท่ีพรอมดำเนินการจำนวน 114,755 ลานบาท และ 2) รัฐวิสาหกิจที่ใชปปฏิทิน (เร่ิมดำเนินการวันท่ี 1 มกราคม 2554–ธันวาคม 2554) มีงบลงทุนอนุมัติที่พรอมดำเนินการจำนวน 200.6 พันลานบาท

ทั้งนี้ คาดวาท้ังปงบประมาณ 2554 รัฐวิสาหกิจจะสามารถเบิกจายงบลงทุนไดประมาณรอยละ 75 ของ กรอบวงเงินลงทุนรัฐวิสาหกิจ หรือหากคิดเปนระบบบัญชีรายไดประชาชาติ (SNA) คาดวาจะเบิกจายลงทุนไดจำนวน 252,491 ลานบาท

ตารางที่ 7 สมมติฐานการเบิกจายรายจายลงทุนของรัฐวิสาหกิจในปงบประมาณ 2554

ที่มา : ขอมูลจาก สศช. สคร. และคาดการณโดย สศค.

(หนวย : ลานบาท)

ปงบประมาณ 2553 ปงบประมาณ 2554 คาดการณ ณ เดือน มี.ค. 2554 รายจายลงทุนรัฐวิสาหกิจ 315,370 252,491

Page 26: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 24

6.4 สรุปรวมรายจายภาคสาธารณะ จากสมมติฐานการใชจายของรัฐบาล องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ

ในปงบประมาณ 2554 ที่กลาวขางตน ทำใหคาดวาในปงบประมาณ 2554 รายจายภาคสาธารณะสามารถเบิกจายไดในชวงคาดการณจำนวน 2,748,046–2,775,848 ลานบาท ซึ่งประกอบดวย 1) รายจายรัฐบาล 2,194,101–2,221,902 ลานบาท และรายจายจากแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 คาดวาจะสามารถเบิกจายไดในชวงคาดการณจำนวน 50,196–77,998 ลานบาท 2) รายจายองคกรปกครองสวนทองถิ่น 301,455 ลานบาท และ 3) รายจายลงทุนรัฐวิสาหกิจจำนวน 252,491 ลานบาท

ตารางที่ 8 สมมติฐานการเบิกรายจายภาคสาธารณะในปงบประมาณ 2554

ที่มา : ขอมูลจาก สศช. สคร. และคาดการณโดย สศค.

(หนวย : ลานบาท)

ปงบประมาณ 2553 ปงบประมาณ 2554 คาดการณ ณ เดือน มี.ค. 2554 1. รายจายรัฐบาล (1.1+1.2) 2,004,313 2,194,101-2,221,902 1.1 รายจายงบประมาณ (1)+(2)+(3)+(4) 1,784,413 2,143,904 (1) รายจายประจำ 1,444,760 1,677,267

(2) รายจายลงทุน 183,115 247,980

(3) รายจายเหล่ือมป 156,538 118,689

(4) รายจายเพ่ิมเติม (งบกลางป) - 99,968

- ชดใชเงินคงคลัง - 84,143

- เพ่ือฟนฟูภัยพิบัติและอุดหนุน อปท. - 15,825

รายจายรัฐบาลประจำป (1)+(2)+(4) 1,627,875 2,025,215

อัตราเบิกจายรายจายงบประมาณรอยละ/+งบเพ่ิมเติม 95.8% 93.0%/93.3%

(จากวงเงินงบประมาณรายจาย/+งบเพ่ิมเติม) 1,700,000 2,070,000/2,169,968

1.2 รายจายนอกงบประมาณ แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 219,901 50,196 -77,998

2. รายจายทองถ่ิน 286,557 301,455 3. รายจายลงทุนรัฐวิสาหกิจ 230,285 252,491 4. รายจายภาคสาธารณะ (1+2+3) 2,521,156 2,748,046–2,775,848

Page 27: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 25

ผลการประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554ผลการประมาณการเศรษฐกิจไทยป 2554

1. ดานการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

“สศค.ประเมินวา เศรษฐกิจไทยในป 2554 จะขยายตัวในชวงคาดการณท่ีรอยละ 4.0-5.0 เมื่อเทียบกับป 2553 ท่ีเศรษฐกิจขยายตัวรอยละ 7.8”

สศค.ประเมินวา เศรษฐกิจไทยในป 2554 มีแนวโนมกลับไปขยายตัวในระดับปกติ โดยจะขยายตัว

ในชวงคาดการณท่ีรอยละ 4.0-5.0 โดยสาเหตุของการชะลอตัวมาจากปจจัยภายนอกโดยเฉพาะราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกที่มีแนวโนมปรับตัวสูงข้ึนมาก ตลอดจนปญหาภัยพิบัติในประเทศญ่ีปุน ซึ่งการขยายตัวท่ีชะลอลงน้ีถือวาเปนการปรับเขาสู การขยายตัวในระดับปกติ จากปกอนหนาท่ีเศรษฐกิจไทยขยายตัวสูงมากจากปจจัยฐานต่ำ อยางไรก็ตาม เศรษฐกิจภายในประเทศโดยเฉพาะภาคการใชจายภายในประเทศ ในป 2554 ยังคงมีแนวโนมขยายตัวอยางแข็งแกรง โดยเฉพาะการบริโภค และการลงทุนภาคเอกชน อีกท้ังเสถียรภาพเศรษฐกิจยังอยูในระดับแข็งแกรงท้ังภายในและภายนอก

ภาพที่ 16 ประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)

1.1 การบริโภคภาคเอกชนและการบริโภคภาครัฐท่ีแทจริง 1.1.1 การบริโภคภาคเอกชนท่ีแทจริง

การบริโภคภาคเอกชนท่ีแทจริงในไตรมาสที่ 4 ป 2553 ขยายตัวรอยละ 3.8 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ชะลอลงจากไตรมาสท่ี 3 ป 2553 ท่ีขยายตัวรอยละ 5.0 เน่ืองจากปจจัยฐานท่ีเร่ิมปรับตัวสูงข้ึน แตอยางไรก็ตามถือไดวายังขยายตัวในเกณฑดี แมวาจะขยายตัวในอัตราชะลอลงจากไตรมาสกอน (ทั้งน้ี เมื่อขจัดปจจัย ทางฤดูกาลแลวพบวา การบริโภคภาคเอกชนในไตรมาสท่ี 4 ป 2553 ขยายตัวรอยละ 1.2 จากไตรมาสกอนหนา) สงผลให ท้ังป 2553 การบริโภคภาคเอกชนท่ีแทจริงขยายตัวรอยละ 4.8 เมื่อเทียบกับป 2552 ที่หดตัวเล็กนอยรอยละ -1.1 บงชี้วา การบริโภคภาคเอกชนมีการฟนตัวอยางแข็งแกรง โดยมีปจจัยสำคัญท่ีสนับสนุนการใชจายของภาคครัวเรือน ไดแก 1) อัตรา

Page 28: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 26

การวางงานที่อยูในระดับต่ำท่ีรอยละ 1.0 ของกำลังแรงงานรวมในป 2553 2) รายไดเกษตรกรที่ขยายตัวในระดับสูงถึงรอยละ 19.7 จากราคาผลผลิตเกษตรสำคัญปรับตัวสูงมากข้ึน ตามความตองการของตลาดโลก ในขณะท่ีอุปทานคอนขางตึงตัว เน่ืองจากไดรับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศท่ีแปรปรวน และ 3) มาตรการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาลที่ออกมาอยาง

ตอเน่ือง โดยเฉพาะมาตรการลดคาครองชีพ 5 มาตรการ 6 เดือน ไดชวยชะลอความรอนแรงของอัตราเงินเฟอที่มีแนวโนมเพ่ิมขึ้น ตามการปรับตัวสูงขึ้นของราคาน้ำมัน โดยอัตราเงินเฟอของป 2553 อยูที่รอยละ 3.3 ทั้งน้ี เมื่อพิจารณาการบริโภคภาคเอกชนจำแนกรายหมวดสำคัญพบวา ในป 2553 การบริโภคหมวดอาหาร เครื่องดื่ม ยาสูบ และเครื่องนุงหม (มีสัดสวนประมาณ รอยละ 33.0 ของการบริโภคภาคเอกชนรวม) ขยายตัวรอยละ 1.1 จากป 2552 ที่หดตัวรอยละ -1.6 สวนการบริโภคสินคาคงทน (มีสัดสวนประมาณรอยละ 20.0 ของการบริโภคภาคเอกชนรวม) พบวา ขยายตัวในอัตราเรงที่รอยละ 25.1 จากปกอน ที่หดตัวรอยละ -7.1 โดยเฉพาะการบริโภคสินคาหมวดยานยนตขยายตัวในอัตราเรงขึ้นสูงมากที่รอยละ 41.6 จากปกอนหนา ที่หดตัวรอยละ -6.3 ในขณะท่ีหมวดเคร่ืองใชไฟฟาในบานขยายตัวในอัตราเรงเชนกันท่ีรอยละ 9.5 จากปกอนท่ีหดตัวเล็กนอยรอยละ -0.6 สวนการบริโภคในหมวดอื่น ๆ เชน การบริโภคสินคาก่ึงคงทนและสินคาไมคงทน พบวา ขยายตัวเพ่ิมขึ้นเชนกัน ที่รอยละ 6.7 และรอยละ 2.7 ตามลำดับ ซึ่งสะทอนใหเห็นวาการบริโภคภาคเอกชนในป 2553 ฟนตัวอยางแข็งแกรงจาก ป 2552 ที่ไดรับผลกระทบจากปญหาวิกฤตเศรษฐกิจโลก

ภาพที่ 17 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชนท่ีแทจริง

ที่มา : สศค.

ในป 2554 การบริโภคภาคเอกชนท่ีแทจริงคาดวาจะขยายตัวอยูในชวงรอยละ 3.7-4.7 ตอเน่ืองจาก ป 2553 โดยไดรับปจจัยบวกจาก 1) แรงสงจากการฟนตัวอยางแข็งแกรงของอุปสงคในประเทศในป 2553 2) กำลังซื้อของประชาชนที่คาดวาจะยังคงขยายตัวในระดับสูง สะทอนไดจากอัตราการวางงานท่ีคาดวาจะยังคงอยูในระดับต่ำท่ีรอยละ 0.9

ของกำลังแรงงานรวม อีกท้ังรายไดเกษตรกรที่คาดวาจะปรับตัวสูงขึ้นตามราคาพืชผลทางการเกษตรที่สำคัญ ตามอุปสงคที่มีอยางตอเน่ือง ในขณะท่ีปริมาณผลผลิตคอนขางตึงตัวเน่ืองจากสภาพภูมิอากาศท่ีไมเอ้ืออำนวยตอการเพาะปลูก จะทำใหประชาชนมีความเช่ือมั่นตอรายไดของครัวเรือนในอนาคตและเร่ิมกลับมาใชจายมากข้ึน และ 3) ความตอเน่ืองของมาตรการกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐ ทั้งแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 รวมถึงการปรับขึ้นของเงินเดือนขาราชการและคาจางขั้นต่ำทั่วประเทศ ซึ่งจะชวยเสริมกำลังซื้อของประชาชนเพิ่มขึ้นดวย ท้ังน้ี จากขอมูลเชิงประจักษพบวา การบริโภคภาคเอกชนในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 ยังคงขยายตัวอยางตอเน่ือง สะทอนไดจากเคร่ืองชี้วัดเศรษฐกิจดานการบริโภค ภาคเอกชน โดยเฉพาะการจัดเก็บภาษีมูลคาเพ่ิม ณ ระดับราคาคงท่ี ซึ่งเปนเคร่ืองชี้วัดการบริโภคภาคเอกชนโดยรวม ที่ขยายตัว

ตอเน่ืองที่รอยละ 10.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน สอดคลองกับปริมาณการจำหนายรถยนตนั่งและรถจักรยานยนต ซึ่งเปนเคร่ืองชี้ดานการบริโภคภาคเอกชนในหมวดสินคาคงทน ขยายตัวในอัตราเรงท่ีรอยละ 49.6 และรอยละ 11.1 ตามลำดับ

Page 29: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 27

โดยไดรับปจจัยบวกจากรายไดภาคครัวเรือนซึ่งยังอยูในเกณฑดี ตามรายไดเกษตรกรท่ียังคงขยายตัวในระดับสูงท่ีรอยละ 29.2 ในขณะท่ีอัตราเงินเฟออยูที่รอยละ 3.0 ซึ่งไมเปนอุปสรรคตอการบริโภคภาคเอกชน อยางไรก็ตาม ปจจัยเส่ียงท่ีคาดวาจะ สงผลกระทบตอการบริโภคภาคเอกชนในป 2554 ไดแก 1) การฟนตัวของเศรษฐกิจโลกที่ยังคงเปราะบางเน่ืองจากท่ัวโลกตองเผชิญกับปจจัยเส่ียงเพ่ิมมากข้ึน โดยเฉพาะในเร่ืองปญหาภัยธรรมชาติ เชน สึนามิในประเทศญ่ีปุน ฯลฯ ซึ่งจะกระทบตอรายไดจากการสงออกของประเทศ และ 2) แนวโนมอัตราเงินเฟอที่คาดวาจะปรับตัวสูงขึ้นตามราคาน้ำมันและราคาสินคาโภคภัณฑ

1.1.2 การบริโภคภาครัฐท่ีแทจริง

การบริโภคภาครัฐท่ีแทจริงในไตรมาสที่ 4 ของป 2553 ขยายตัวรอยละ 1.8 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวรอยละ 3.7 โดยมาจากคาตอบแทนแรงงานขยายตัวรอยละ 2.3 และรายจายคาซื้อสินคาและบริการสุทธิขยายตัวรอยละ 1.2 และเม่ือขจัดผลทางฤดูกาลแลวพบวา การบริโภคภาครัฐขยายตัวจากไตรมาสกอนหนารอยละ 2.0 ทำใหในป 2553 การบริโภคภาครัฐท่ีแทจริงขยายตัวรอยละ 6.0 ทั้งนี้ การขยายตัวของการบริโภคภาครัฐในไตรมาสท่ี 4 เปนผลมาจากการเบิกจายรายจายประจำจากงบประมาณรายจาย ประจำปงบประมาณ 2554 จำนวน 553.3 พันลานบาท คิดเปนการขยายตัวรอยละ 39.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน และเมื่อพิจารณาทั้งปงบประมาณ 2553 รายจายเพ่ือการบริโภคภาครัฐในสวนงบประจำสามารถเบิกจายไดทั้งส้ินจำนวน 1,444.8 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 98.1 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ 2553

ภาพที่ 18 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการบริโภคภาครัฐท่ีแทจริง

ที่มา : สศค.

ในป 2554 การบริโภคภาครัฐท่ีแทจริงคาดวาจะขยายตัวในชวงรอยละ 2.7-3.7 ขยายตัวชะลอลงจากป 2553 ท่ีขยายตัวรอยละ 6.0 โดยเปนผลมาจากปจจัยฐานท่ีสูงในชวงเดียวกันของปกอน ประกอบกับเม็ดเงินจากโครงการ

ไทยเขมแข็งที่คงเหลือใหเบิกจายลดลง อยางไรก็ดีในปงบประมาณ 2554 รัฐบาลไดมีการอนุมัติวงเงินงบประมาณรายจายประจำจำนวน 1.66 ลานลานบาท เพ่ิมขึ้นจากปงบประมาณ 2553 ที่มีวงเงินงบประมาณรายจายประจำจำนวน 1.43 ลานบาท หรือเพ่ิมขึ้นจำนวน 226.8 พันลานบาท หรือคิดเปนอัตราการขยายตัวรอยละ 15.8 ทั้งน้ี การบริโภคภาครัฐที่แทจริงในป 2554 ยังคงไดรับปจจัยสนับสนุนจากการท่ีรัฐบาลไดมีการอนุมัติการปรับข้ึนเงินเดือนขาราชการและคาจางข้ันต่ำ และการเรงรัด การเบิกจายงบประมาณรายจายประจำใหไดรอยละ 97.2 ของวงเงินงบประมาณรายจายประจำ

Page 30: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 28

1.2 การลงทุนภาคเอกชนและการลงทุนภาครัฐท่ีแทจริง 1.2.1 การลงทุนภาคเอกชนท่ีแทจริง

การลงทุนภาคเอกชนท่ีแทจริงในไตรมาสที่ 4 ป 2553 ขยายตัวรอยละ 9.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ชะลอลงจากไตรมาสกอนท่ีขยายตัวรอยละ 14.6 เน่ืองจากปจจัยฐานท่ีเร่ิมปรับตัวสูงขึ้น ทั้งน้ี เมื่อขจัดปจจัยทางฤดูกาลแลวพบวา การลงทุนภาคเอกชนในไตรมาสท่ี 4 หดตัวเล็กนอยท่ีรอยละ -1.2 จากไตรมาสกอน สงผลใหในป 2553 การลงทุนภาคเอกชนท่ีแทจริงขยายตัวรอยละ 13.8 ขยายตัวข้ึนมากเม่ือเทียบกับป 2552 ที่หดตัวในระดับสูงรอยละ -13.1 โดยไดรับปจจัยบวกจาก 1) ฐานการลงทุนท่ีต่ำในป 2552 เน่ืองจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลก 2) ภาคการผลิตใน กลุมสินคาอุตสาหกรรมเพ่ือการสงออก โดยเฉพาะอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส เคร่ืองใชไฟฟา และอุตสาหกรรมยานยนต มีสัญญาณฟนตัวอยางชัดเจนตามการฟนตัวข้ึนอยางตอเน่ืองของเศรษฐกิจประเทศคูคาหลัก ทำใหผูประกอบการเร่ิมสั่งซื้อและลงทุนในเครื่องจักรมากขึ้น 3) มาตรการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาลโดยเฉพาะมาตรการดานภาษีในการกระตุน ภาคอสังหาริมทรัพย มีสวนชวยใหการลงทุนในภาคการกอสรางขยายตัวเพ่ิมขึ้น และ 4) อัตราดอกเบ้ียท่ีอยูในระดับต่ำชวย เอื้อใหการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวไดดี ทั้งนี้ เม่ือพิจารณาในรายละเอียดพบวา การลงทุนในเครื่องมือเครื่องจักร (มีสัดสวนประมาณรอยละ 75.0 ของการลงทุนภาคเอกชนรวม) ขยายตัวในอัตราเรงท่ีรอยละ 14.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป 2552 ที่หดตัวรอยละ -15.3 สอดคลองกับการลงทุนในหมวดการกอสรางภาคเอกชน (มีสัดสวนประมาณรอยละ 25.0 ของการลงทุนภาคเอกชนรวม) ขยายตัวในอัตราเรงเชนกันท่ีรอยละ 10.6 เมื่อเทียบกับป 2552 ที่หดตัวรอยละ -5.1 โดยเฉพาะการกอสรางอาคารท่ีอยูอาศัย อาคารพาณิชย และอาคารโรงงานท่ีขยายตัวในระดับสูงจากปกอนมาก

ภาพที่ 19 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชนท่ีแทจริง

ที่มา : สศค.

ในป 2554 การลงทุนภาคเอกชนท่ีแทจริงคาดวาจะขยายตัวอยูในชวงรอยละ 8.2-10.2 ตอเน่ืองจากป 2553 ท่ีขยายตัวรอยละ 13.8 โดยไดรับปจจัยสนับสนุนจาก 1) แรงสงจากการฟนตัวของการใชจายภายในประเทศในป 2553 ที่คาดวายังสงผลตอเน่ืองในป 2554 และ 2) ความเช่ือมั่นของนักลงทุนท่ีมีแนวโนมดีขึ้น ตามการฟนตัวของเศรษฐกิจและภาคการผลิต ประกอบกับอัตราการใชกำลังการผลิตภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมท่ีเนนการผลิตเพ่ือสงออก

ที่อยูในระดับสูงตั้งแตป 2553 ทำใหคาดวาจะมีการลงทุนเพ่ิมขึ้น ท้ังน้ี จากขอมูลเชิงประจักษพบวา ในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 การลงทุนภาคเอกชนยังคงขยายตัวไดในเกณฑดี สะทอนจากเคร่ืองชี้เศรษฐกิจดานการลงทุน เชน ปริมาณการนำเขาสินคาทุนหักรายการพิเศษ (เคร่ืองบิน เรือ รถไฟ) ขยายตัวรอยละ 12.8 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา

สอดคลองกับปริมาณการจำหนายรถยนตเชิงพาณิชยที่ยังขยายตัวในอัตราเรงท่ีรอยละ 33.2 สะทอนวาการลงทุนภาคเอกชนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักรฟนตัวอยางตอเน่ือง ในขณะท่ีการลงทุนภาคเอกชนในหมวดการกอสรางท่ีวัดจากเคร่ืองชี้เศรษฐกิจ

Page 31: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 29

อาทิ ปริมาณการจำหนายเหล็กและปูนซีเมนต ยังคงขยายตัวไดดีที่รอยละ 19.7 และรอยละ 1.1 ตามลำดับ อยางไรก็ตาม ปจจัยเส่ียงท่ีคาดวาจะสงผลกระทบตอการลงทุนภาคเอกชนในป 2554 ไดแก 1) อัตราดอกเบ้ียท่ีมีแนวโนมปรับตัวสูงข้ึน ซึ่งจะเปนการเพ่ิมตนทุนของการลงทุนภาคเอกชนและมีผลตอการตัดสินใจซื้อที่อยูอาศัยของผูบริโภค 2) ทิศทางคาเงินบาทท่ีมีแนวโนมแข็งคา จะเปนปจจัยกดดันการสงออกสินคาของไทยและสงผลตอเน่ืองตอการลงทุนได 3) ทิศทางตนทุนการผลิต ที่ปรับเพ่ิมขึ้น โดยเฉพาะราคาน้ำมันและราคาวัสดุกอสรางท่ีสะทอนตนทุนภาคการกอสราง และ 4) ปญหาภัยพิบัติจากธรรมชาติที่ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยอาจตองเผชิญมากข้ึนในป 2554 จะเปนปจจัยกดดันการฟนตัวของเศรษฐกิจโลก ซึ่งจะสงผลกระทบตอเน่ืองตอการลงทุนใหมในประเทศและการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ เน่ืองจากตองจัดสรรเงินทุนเพ่ือซอมแซมทรัพยสินและส่ิงปลูกสรางท่ีไดรับความเสียหายจากภัยพิบัติตาง ๆ

1.2.2 การลงทุนภาครัฐท่ีแทจริง

การลงทุนภาครัฐท่ีแทจริงในไตรมาสที่ 4 ป 2553 หดตัวรอยละ -3.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน หดตัวลดลงจากไตรมาสกอนหนาท่ีหดตัวรอยละ -5.4 และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแลวพบวา การลงทุนภาครัฐ หดตัวจากไตรมาสกอนหนารอยละ -3.2 ซึ่งเปนผลมาจากการลงทุนในการกอสรางและเคร่ืองมือเคร่ืองจักรของภาครัฐที่ ปรับตัวดีขึ้น โดยเฉพาะรัฐบาลกลางและองคกรปกครองสวนทองถิ่นท่ีมีโครงการลงทุนภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 โดยการลงทุนภาครัฐที่แทจริงในหมวดการกอสรางขยายตัวรอยละ 3.6 ปรับตัวเพ่ิมขึ้นจากไตรมาสกอนหนาท่ีขยายตัวรอยละ 0.1 โดยการกอสรางของรัฐบาลกลางและองคกรปกครองสวนทองถ่ินขยายตัวรอยละ 6.1 ปรับตัวเพ่ิมขึ้นจากไตรมาสกอนหนาท่ีขยายตัวรอยละ 0.2 ซึ่งการกอสรางหลักสวนใหญเปนการกอสรางโครงการตอเน่ืองจากไตรมาสกอนหนาโดยเฉพาะโครงการภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 เชน โครงการบริหารจัดการแหลงน้ำและเพ่ิมพ้ืนท่ีชลประทาน โครงการพัฒนาทางหลวง และโครงการถนนไรฝุน ฯลฯ สำหรับการกอสรางของรัฐวิสาหกิจขยายตัวรอยละ 0.5 ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสกอนหนา เปนผลมาจากโครงการตอเน่ือง เชน โครงการรถไฟฟาสายสีมวงเสนทางบางใหญ–ราษฎรบูรณะ (ชวงบางใหญ–บางซ่ือ) ของการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย โครงการกอสรางบานเอ้ืออาทรระยะท่ี 2 ระยะท่ี 3 ระยะท่ี 4 และ ระยะท่ี 5 ของการเคหะแหงชาติ โครงการขยายโครงขาย Broadband IP ของบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ฯลฯ ขณะท่ี การลงทุนภาครัฐที่แทจริงในหมวดการลงทุนในเครื่องมือเครื่องจักรหดตัวรอยละ -15.4 ดีขึ้นเล็กนอยจากไตรมาสกอนหนา ที่หดตัวรอยละ -17.5 โดยรัฐบาลกลางและองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีการลงทุนเพ่ิมสูงข้ึนซึ่งขยายตัวรอยละ 23.9 เมื่อเทียบกับ

ชวงเดียวกันของปกอน ในขณะท่ีการลงทุนของรัฐวิสาหกิจหดตัวรอยละ -29.6 เน่ืองจากไตรมาสนี้ไมมีการนำเขาเครื่องบิน เพ่ือการพาณิชยของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) และเม่ือพิจารณาท้ังปงบประมาณ 2553 รายจายเพ่ือการลงทุนภาครัฐในสวนงบลงทุนสามารถเบิกจายไดท้ังสิ้นจำนวน 183.1 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 80.6 ของกรอบวงเงิน

งบประมาณรายจายลงทุนประจำปงบประมาณ 2553 ทำใหในป 2553 การลงทุนภาครัฐท่ีแทจริงหดตัวรอยละ -2.2

ภาพที่ 20 ประมาณการอัตราการขยายตัวของการลงทุนภาครัฐท่ีแทจริง

ที่มา : สศค.

Page 32: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 30

ในป 2554 การลงทุนภาครัฐท่ีแทจริงคาดวาจะขยายตัวในชวงรอยละ 3.0-5.0 เรงขึ้นจากป 2553 ที่หดตัวรอยละ -2.2 ซึ่งเปนผลจากวงเงินงบประมาณรายจายลงทุนในปงบประมาณ 2554 ที่มีวงเงินงบประมาณลงทุนจำนวน 345.6 พันลานบาท เพ่ิมขึ้นจากปงบประมาณ 2553 ที่มีวงเงินงบประมาณลงทุนจำนวน 214.4 พันลานบาท หรือขยายตัวรอยละ

61.2 และคาดวารัฐบาลจะสามารถเรงรัดการเบิกจายงบประมาณรายจายลงทุนใหไดรอยละ 72.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายลงทุน รวมถึงการเบิกจายงบลงทุนจากแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ที่คาดวาในปงบประมาณ 2554 สามารถ เบิกจายไดจำนวน 55.3-78.0 พันลานบาท ทั้งน้ี ในชวงไตรมาสแรกของปงบประมาณ 2554 รายจายลงทุนของรัฐบาลสามารถ

เบิกจายไดจำนวน 33.2 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 9.6 ของวงเงินงบประมาณรายจายลงทุน และการเบิกจายจากแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 สามารถเบิกจายไดจำนวน 22.7 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 6.5 ของกรอบวงเงิน 350.0 พันลานบาท

1.3 ปริมาณการสงออกสินคาและบริการท่ีแทจริง

ปริมาณการสงออกสินคาและบริการท่ีแทจริงในไตรมาสที่ 4 ป 2553 ขยายตัวรอยละ 9.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสกอนท่ีขยายตัวรอยละ 11.7 แตเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแลวพบวา ปริมาณการสงออกสินคาและบริการขยายตัวรอยละ 3.6 จากไตรมาสกอน อันเปนผลจากการฟนตัวอยางตอเน่ืองของเศรษฐกิจคูคา อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาดานมิติสินคาพบวา ปริมาณการสงออกสินคาท่ีแทจริงในหมวดสำคัญ อาทิ

ผลิตภัณฑอิเล็กทรอนิกสและเคร่ืองใชไฟฟามีแนวโนมชะลอตัวลงมาก ขณะท่ียานยนตชะลอตัวลงอยางนาเปนหวง สวนปริมาณ

การสงออกสินคาเกษตรขยายตัวเรงข้ึนรอยละ 2.2 เพ่ิมขึ้นจากไตรมาสกอนหนาท่ีหดตัวรอยละ -7.1 เมื่อพิจารณารายตลาดพบวา การสงออกไปยังตลาดหลัก ไดแก สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปมีสัญญาณการชะลอตัวลง แตยังคงขยายตัวไดอยางตอเน่ือง ในขณะท่ีจีนและญ่ีปุนสงสัญญาณดี เน่ืองมาจากเศรษฐกิจขยายตัวดีอยางตอเน่ือง ทำใหโครงสรางการสงออกในไตรมาสที่ 4 ป 2553 เปลี่ยนแปลง สำหรับตลาดอาเซียนขยายตัวชะลอลงแตยังคงถือวาขยายตัวไดในเกณฑดี สวนการสงออกบริการหดตัวรอยละ -1.0 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา จากผลกระทบของเศรษฐกิจโลกท่ีชะลอตัวลงเน่ืองจาก

ปญหาในกลุมสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา ทำใหนักทองเท่ียวจากกลุมประเทศดังกลาวลดลง สงผลใหท้ังป 2553 การสงออกสินคาและบริการท่ีแทจริงขยายตัวรอยละ 14.7

ภาพที่ 21 ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณการสงออกสินคาและบริการ

ที่มา : สศค.

Page 33: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 31

ในป 2554 ปริมาณการสงออกสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัวในชวงคาดการณท่ีรอยละ 5.5-7.5 ขยายตัวชะลอลงจากปกอนหนา จากเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปที่ยังคงฟนตัวอยางเปราะบาง ประกอบกับ ความเส่ียงจากภัยพิบัติแผนดินไหวและสึนามิที่ประเทศญ่ีปุน ซึ่งอาจสงผลกระทบตอการสงออกสินคาอุตสาหกรรมซึ่งเปนสินคาหลักท่ีประเทศไทยสงออกไปยังตลาดหลักดังกลาว อยางไรก็ตาม ภัยพิบัติในญ่ีปุนดังกลาวสงผลกระทบตอพ้ืนท่ี เพาะปลูก ทำใหคาดวาญ่ีปุนจะมีความตองการนำเขาสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรมากข้ึนเพ่ือการบริโภคภายในประเทศ ซึ่งอาจสงผลดีตอการสงออกสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรของไทย ในขณะท่ีคาเงินบาทท่ีมีแนวโนมแข็งคาข้ึนอาจสงผลตอปริมาณการสงออกสินคาของไทยไปยังกลุมประเทศในแถบตะวันตก แตในปจจุบันการกระจายตัวของตลาด สงออกท่ีกระจายตัวมายังกลุมประเทศในเอเชียมากข้ึน เห็นไดจากในป 2553 ประเทศจีนไดขึ้นมาเปนคูคาอันดับ 1 ของไทยดวยสัดสวนการสงออกถึงรอยละ 11.0 ของมูลคาการสงออกรวม รวมถึงไทยสงออกไปยังกลุมประเทศในแถบอาเซียนได มากข้ึน

1.4 ปริมาณการนำเขาสินคาและบริการท่ีแทจริง

ปริมาณการนำเขาสินคาและบริการท่ีแทจริงในไตรมาสที่ 4 ป 2553 ขยายตัวรอยละ 10.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ชะลอลงจากไตรมาสที่ 3 ท่ีขยายตัวรอยละ 21.3 ทั้งน้ี เม่ือขจัดผลทางฤดูกาลแลวพบวา ปริมาณการนำเขาสินคาและบริการขยายตัวจากไตรมาสกอนหนารอยละ 0.5 สะทอนใหเห็นการขยายตัวของการนำเขาท่ีมีความตอเนื่อง แตมีแนวโนมชะลอลงจากไตรมาสกอน สาเหตุจากการชะลอลงของปริมาณการนำเขาทุกหมวดสินคา โดยปริมาณนำเขาสินคาทุนขยายตัวรอยละ 13.6 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ชะลอลงจากไตรมาสท่ี 3 ที่ขยายตัว รอยละ 27.8 จากปริมาณนำเขาเคร่ืองจักรและเคร่ืองคอมพิวเตอรที่ลดลง สอดคลองกับอัตราการใชกำลังการผลิตใน ภาคอุตสาหกรรมท่ีเริ่มแผวตามคำส่ังซื้อที่ลดลง สำหรับปริมาณการนำเขาสินคาวัตถุดิบขยายตัวรอยละ 11.3 ชะลอลงมากจากไตรมาสกอนหนาท่ีขยายตัวรอยละ 31.2 สาเหตุจากปริมาณนำเขาเคร่ืองเพชรพลอย แผงวงจรไฟฟา และเม็ดพลาสติก ที่ชะลอลงมาก สวนปริมาณการนำเขาสินคาอุปโภคบริโภค โดยเฉพาะจากปริมาณการนำเขาเครื่องใชเบ็ดเตล็ดขยายตัว ชะลอลงมาก รวมถึงปริมาณการนำเขาในหมวดยานพาหนะท่ีชะลอลงเชนกัน ขณะท่ีการนำเขาบริการท่ีแทจริงขยายตัวรอยละ 3.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ลดลงจากไตรมาสท่ี 3 ที่ขยายตัวรอยละ 5.9 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป กอนหนา สงผลใหท้ังป 2553 การนำเขาสินคาและบริการท่ีแทจริงขยายตัวรอยละ 21.5

ภาพที่ 22 ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณการนำเขาสินคาและบริการ

ที่มา : สศค.

Page 34: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 32

ในป 2554 ปริมาณการนำเขาสินคาและบริการคาดวาจะขยายตัวในชวงคาดการณท่ีรอยละ 6.6-8.6 ชะลอลงจากปกอนหนา สาเหตุหลักมาจากตนทุนการผลิตท่ีสูงข้ึนซึ่งสวนหน่ึงเปนผลมาจากราคาน้ำมันในตลาดโลกท่ีมี แนวโนมเพ่ิมสูงข้ึนอยางตอเน่ือง ผลจากเหตุการณการจลาจลในตะวันออกกลางและประเทศลิเบีย ซึ่งเปนผูผลิตและสงออกน้ำมันดิบรายใหญของโลก และผลกระทบจากเหตุการณภัยพิบัติที่ญ่ีปุน เน่ืองจากญ่ีปุนเปนแหลงนำเขาหลักของไทย ทำใหการนำเขาสินคาจากญ่ีปุนอาจชะลอลงมาก อยางไรก็ตาม คาเงินบาทท่ีมีแนวโนมแข็งคาข้ึนจากปกอนหนา นาจะสงผลใหราคาสินคานำเขาในรูปเงินบาทลดลง ซึ่งจะเปนปจจัยสงเสริมใหมีการนำเขาสินคาเพ่ิมมากขึ้น

2. ดานการคาระหวางประเทศ 2.1 มูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ

มูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ ในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 อยูท่ี 34.9 พันลานดอลลารสหรัฐ คิดเปนการขยายตัวรอยละ 25.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ชะลอลงเล็กนอยจากชวง 2 เดือนแรกของป 2553 ท่ีขยายตัวรอยละ 27.3 และเม่ือหักผลของการสงออกทองคำออกพบวา มูลคาสงออกในชวง 2 เดือนแรกของ ป 2554 ขยายตัวรอยละ 21.8 ทั้งน้ี การขยายตัวของมูลคาการสงออกสินคามีการเรงตัวข้ึนในบางหมวดสินคา โดยเฉพาะหมวดสินคาเกษตรกรรม อยางไรก็ตาม สินคาอุตสาหกรรมจำพวกช้ินสวนอิเล็กทรอนิกสและเคร่ืองใชไฟฟา รวมท้ังหมวดสินคาอุตสาหกรรมเกษตรมีการขยายตัวชะลอลง นอกจากน้ี เมื่อพิจารณารายตลาดพบวา มูลคาการสงออกสินคาขยายตัว ไดดีในเกือบทุกตลาดโดยเฉพาะตลาดหลักท่ีกลับมาขยายตัวไดดีอีกคร้ังหน่ึง หลังจากท่ีชะลอตัวมากในไตรมาสท่ี 4 ป 2553 โดยการสงออกไปยังจีน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญ่ีปุน ขยายตัวรอยละ 21.7 รอยละ 20.4 รอยละ 21.0 และรอยละ 34.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ตามลำดับ อีกท้ังการสงออกไปยังตลาดภูมิภาค โดยเฉพาะตลาดอาเซียน-5 ยังคงขยายตัวดีที่รอยละ 17.5

ภาพที่ 23 ประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ

ที่มา : สศค.

ในป 2554 คาดวามูลคาสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐจะขยายตัวในชวงคาดการณท่ีรอยละ 13.3-15.3 ชะลอลงจากป 2553 ผลจากปจจัยฐานสูง อีกท้ังคาดวาเศรษฐกิจของประเทศคูคาหลักของไทยจะยังคงมีทิศทางการฟนตัวท่ีเปราะบางและมีความเส่ียง โดยเฉพาะกลุมประเทศท่ีเปนตลาดหลัก โดยเฉพาะญ่ีปุนซึ่งประสบปญหา

Page 35: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 33

ภัยธรรมชาติ อยางไรก็ตาม เศรษฐกิจของประเทศคูคาในภูมิภาคเอเชียคาดวาจะมีทิศทางการฟนตัวท่ีเปนไปอยางตอเน่ือง ซึ่งจะเปนปจจัยผลักดันใหมูลคาการสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐยังคงขยายตัวได แมจะเปนอัตราท่ีชะลอลงก็ตาม

2.2 มูลคานำเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ

มูลคานำเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ ในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 อยูที่ 33.5 พันลานดอลลารสหรัฐ คิดเปนการขยายตัวรอยละ 24.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ขยายตัวชะลอลงมากจากชวง 2 เดือนแรกของป 2553 ท่ีขยายตัวรอยละ 64.4 โดยเปนผลจากปจจัยฐานท่ีเร่ิมปรับเขาสูสภาพปกติ โดยการนำเขาสินคาในหมวดสินคาอุปโภคบริโภค สินคาวัตถุดิบ สินคาทุน และยานพาหนะ ขยายตัวรอยละ 18.9 รอยละ 23.2 รอยละ 36.0 และรอยละ 27.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา ตามลำดับ อยางไรก็ตาม การนำเขาสินคาเช้ือเพลิงขยายตัวสูงถึงรอยละ 40.4 ตามราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกท่ีปรับตัวสูงข้ึน ทั้งน้ี หากหักทองคำแลว มูลคานำเขาสินคาในชวง 2 เดือนแรกของ ป 2554 จะขยายตัวรอยละ 26.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา บงชี้วาในชวงเดือนมกราคม–กุมภาพันธ 2554 มีการนำเขาทองคำชะลอลงจากชวงเดียวกันของปกอนหนา

ภาพที่ 24 ประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลคานำเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐ

ที่มา : สศค.

ในป 2554 คาดวามูลคานำเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐจะขยายตัวในชวงคาดการณท่ีรอยละ 15.8-17.8 ชะลอตัวลงจากป 2553 อันมีสาเหตุสำคัญมาจากการชะลอตัวของอุปสงคภายในประเทศ และภาคการผลิต ที่คาดวาจะชะลอตัวลงกลับไปอยูในระดับปกติ จากปกอนหนาท่ีขยายตัวสูง ทำใหความตองการการนำเขาสินคาวัตถุดิบและสินคาทุนลดลง อยางไรก็ตาม เงินบาทท่ีมีแนวโนมแข็งคาข้ึนคาดวาจะสงผลใหมูลคานำเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐไมชะลอลงมากนัก

2.3 ดุลการคา

ดุลการคาในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 เกินดุล 1.4 พันลานดอลลารสหรัฐ เพิ่มขึ้นจากชวง 2 เดือนแรกของป 2553 ท่ีเกินดุล 1.0 พันลานดอลลารสหรัฐ อันเปนผลจากมูลคาการสงออกสินคาท่ีสูงกวามูลคา

การนำเขาสินคา โดยมูลคาการสงออกสินคาอยูที่ 34.9 พันลานดอลลารสหรัฐ ในขณะท่ีมูลคาการนำเขาสินคาอยูที่ 33.5 พันลานดอลลารสหรัฐ

Page 36: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 34

ภาพที่ 25 ประมาณการดุลการคา

ที่มา : สศค.

ในป 2554 คาดวาดุลการคาจะเกินดุลในชวงคาดการณท่ี 10.8-12.8 พันลานดอลลารสหรัฐ ลดลงเล็กนอยจากป 2553 โดยเปนผลจากแนวโนมอุปสงคจากตางประเทศชะลอลงตามอัตราการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกที่ ชะลอลง อยางไรก็ตาม การเติบโตของเศรษฐกิจคูคาใหมโดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียคาดวาจะทำใหการสงออกสินคาของไทยขยายตัวไดดี และยังคงมีมูลคาสงูกวาการนำเขาสินคา

3. ดานเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 3.1 ดุลบัญชีเดินสะพัด

ดุลบัญชีเดินสะพัดในชวง 2 เดือนแรกของป 2554 เกินดุล 4.9 พันลานดอลลารสหรัฐ เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากชวง 2 เดือนแรกของป 2553 ท่ีเกินดุล 3.8 พันลานดอลลารสหรัฐ โดยดุลการคาตามระบบดุลการชำระเงินเกินดุล 1.4 พันลานดอลลารสหรัฐ และดุลบริการ เงินโอน และเงินบริจาคเกินดุลสูงที่ 3.5 พันลานดอลลารสหรัฐ เน่ืองจากรายรับ คาบริการทองเที่ยวและคาบริการขนสงปรับตัวดีขึ้นตามการเพ่ิมขึ้นของนักทองเที่ยวตางชาติ ตามเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย ที่สงสัญญาณฟนตัวอยางชัดเจนข้ึน

ภาพที่ 26 ประมาณการดุลบัญชีเดินสะพัด

ที่มา : สศค.

Page 37: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 35

ในป 2554 ดุลบัญชีเดินสะพัดคาดวาจะเกินดุลในชวงคาดการณท่ี 11.1-14.1 พันลานดอลลารสหรัฐ หรือประมาณรอยละ 3.2-4.0 ของ GDP ลดลงเล็กนอยจากป 2554 โดยเปนผลจากดุลการคาที่คาดวาจะปรับตัวลดลง ตามมูลคาการนำเขาสินคาท่ีขยายตัวสูงข้ึน สวนหน่ึงจากราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกท่ีปรับตัวสูงข้ึน ขณะท่ีดุลบริการ เงินโอน และเงินบริจาค คาดวาจะเกินดุลเล็กนอยตามรายรับจากภาคบริการท่ีมีแนวโนมเพ่ิมขึ้น

3.2 อัตราเงินเฟอ

อัตราเงินเฟอในไตรมาสท่ี 1 ป 2554 อยูท่ีรอยละ 3.0 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันปกอน เพ่ิมขึ้นจากไตรมาสท่ี 4 ป 2553 ที่ขยายตัวรอยละ 2.9 อันเปนผลจาก 1) ดัชนีราคาในหมวดยานพาหนะและน้ำมันเช้ือเพลิงท่ีขยายตัวรอยละ 2.7 โดยราคาน้ำมันขายปลีกในประเทศโดยเฉพาะกลุมราคาน้ำมันเบนซินมีการปรับตัวสูงข้ึนตามราคาน้ำมันดิบ ในตลาดโลก อยางไรก็ตาม รัฐบาลยังคงมีมาตรการบรรเทาผลกระทบโดยตรึงราคาน้ำมันดีเซลไวไมใหเกิน 30 บาทตอลิตร จนถึงปลายเดือนเมษายน 2554 2) ราคาสินคาหมวดอาหาร โดยเฉพาะในหมวดผักและผลไมขยายตัวสูงขึ้นรอยละ 4.6 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา เน่ืองจากสภาพภูมิอากาศท่ีเปล่ียนแปลงประกอบกับปญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ ที่ทำใหผลผลิตทางการเกษตรลดลง และสงผลตอเน่ืองใหราคาสินคาในหมวดเคร่ืองประกอบอาหารและอาหารสำเร็จรูป มีราคาสูงขึ้นตามตนทุนวัตถุดิบที่เพ่ิมขึ้น และ 3) ดัชนีราคาไฟฟา เชื้อเพลิง น้ำประปา และแสงสวาง ขยายตัวรอยละ 3.4 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา เน่ืองจากมีการยกเลิกมาตรการลดภาระคาครองชีพในสวนของคาน้ำประปาเมื่อ เดือนเมษายน 2553 ทำใหประชาชนกลับมามีรายจายในสวนน้ีดังเดิม

ภาพที่ 27 ประมาณการอัตราเงินเฟอท่ัวไป

ที่มา : สศค.

ในป 2554 อัตราเงินเฟอคาดวาจะปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปกอนมาอยูท่ีรอยละ 3.1-4.1 เน่ืองจากผลของ

1) อุปสงคตอน้ำมันดิบในตลาดโลกที่ยังคงมีความตองการอยางตอเน่ืองตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ ประกอบกับสถานการณความไมสงบทางการเมืองของประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง อาทิ ลิเบีย รวมถึงความตองการใชน้ำมันเพ่ือทดแทนพลังงานนิวเคลียรที่เพ่ิมขึ้นจากญ่ีปุนซึ่งจะสงผลใหราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกปรับตัวสูงข้ึน และจะสงผลใหราคา

น้ำมันขายปลีกในประเทศปรับตัวตาม 2) การส้ินสุดมาตรการของรัฐในการบรรเทาคาครองชีพในสวนของคาน้ำประปา ซึ่งจะทำใหแรงกดดันดานเงินเฟอของป 2554 มากกวาป 2553 3) ราคาสินคาเกษตรในตลาดโลกโดยเฉพาะราคาในหมวดอาหาร คาดวาจะปรับเพ่ิมขึ้นจากสภาพอากาศท่ีไมเอ้ืออำนวย ที่ทำใหอุปทานขาวในตลาดโลกลดลง ประกอบกับความตองการนำเขาจากญี่ปุนที่เพ่ิมขึ้นหลังจากเหตุภัยพิบัติทำความเสียหายแกแหลงเพาะปลูกเกษตรกรรมที่สำคัญ และ 4) อุปสงคในประเทศที่คาดวาจะขยายตัวดีข้ึนตามเศรษฐกิจที่ฟนตัวอยางตอเนื่อง สำหรับอัตราเงินเฟอพื้นฐานท่ีไมรวมราคาสินคาในหมวดพลังงาน

และอาหารสด คาดวาจะปรับตัวเพ่ิมขึ้นจากป 2553 มาอยูที่รอยละ 2.5 (ชวงคาดการณที่รอยละ 2.0–3.0 เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปกอน)

Page 38: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 36

ภาคการคลัง ภาคการคลัง

บทสรุปผูบริหาร

ในปงบประมาณ 2554 รัฐบาลไดจัดทำงบประมาณขาดดุลแบบผอนคลาย (Expansionary Fiscal Policy) เพ่ือสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยมีกรอบวงเงินงบประมาณรายจายจำนวน 2,070.0 พันลานบาท และประมาณการรายไดจำนวน 1,650.0 พันลานบาท สงผลใหมีการขาดดุลงบประมาณจำนวน -420.0 พันลานบาท รวมถึงการจัดทำโครงการแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ที่ตอเน่ืองจากปงบประมาณ 2553 วงเงินจำนวน 350.0 พันลานบาท นอกจากน้ี รัฐบาลยังไดมีการจัดทำงบประมาณเพ่ิมเติมกลางปอีกจำนวน 99.9 พันลานบาท โดยเปนการชดใชเงินคงคลัง

จำนวน 84.1 พันลานบาท และเพ่ือการฟนฟูภัยพิบัติและอุดหนุนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน (อปท.) จำนวน 15.8 พันลานบาท สถานการณดานการคลังลาสุดพบวา ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลมีรายไดสุทธิ

(หลังหักจัดสรรใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน (อปท.)) จำนวนท้ังสิ้น 654.5 พันลานบาท สูงกวาประมาณการตามเอกสาร งบประมาณ 82.2 พันลานบาท หรือรอยละ 14.4 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 93.4 พันลานบาท หรือรอยละ 16.6 ซึ่งการจัดเก็บรายไดที่สูงกวาประมาณการฯ นี้เปนผลมาจากการจัดเก็บภาษีที่สูงกวาประมาณการของ (1) กรมสรรพากร โดยเฉพาะจากภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีมูลคาเพ่ิม และภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา (2) กรมสรรพสามิต โดยเฉพาะจากภาษีรถยนต ภาษีสุรา และภาษีน้ำมัน (3) กรมศุลกากร จากอากรขาเขา และ (4) การนำสงรายไดของรัฐวิสาหกิจ เปนสำคัญ

สำหรับผลการเบิกจายงบประมาณของรัฐบาลในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลเบิกจายเงินงบประมาณท้ังสิ้นจำนวน 988.2 พันลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 26.1 ประกอบดวย (1) รายจายของปงบประมาณปจจุบันจำนวน 913.4 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 30.6 หรือคิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 44.1 ของ กรอบวงเงินงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ 2554 (2.07 ลานลานบาท) โดยแบงออกเปน (1.1) รายจายประจำจำนวน 789.1 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 31.8 (1.2) รายจายลงทุนจำนวน 124.3 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 23.3 และ

(2) รายจายเหล่ือมปเบิกจายไดจำนวน 74.8 พันลานบาท หดตัวรอยละ -11.5 นอกจากน้ี รัฐบาลไดมีการเบิกจายงบประมาณจากแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 จำนวน 265.4 พันลานบาท (สะสมตั้งแตเดือนกันยายน 2552–กุมภาพันธ 2554) คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 75.8 จากกรอบวงเงินลงทุนจำนวน 350.0 พันลานบาท

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาล ขาดดุลเงินงบประมาณจำนวน -343.4 พันลานบาท และเม่ือรวมกับการขาดดุลเงินนอกงบประมาณจำนวน -5.3 พันลานบาท สงผลใหดุลเงินสด (กอนกู) ขาดดุลจำนวน -348.6 พันลานบาท ทำใหเงินคงคลังปลายงวด ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ 2554 มีจำนวนท้ังสิ้น 169.8 พันลานบาท

สำหรับหนี้สาธารณะคงคาง ณ สิ้นเดือนมกราคม 2554 มีจำนวนท้ังสิ้น 4,263.0 พันลานบาท คิดเปน

สัดสวนรอยละ 41.94 ของ GDP ซึ่งเปนการลดลงจากหน้ีที่รัฐบาลกูโดยตรง ซึ่งลดลงสุทธิ -18.0 พันลานบาท โดยรายการ ที่สำคัญเกิดจากการไถถอนต๋ัวเงินคลังจำนวน 21.7 พันลานบาท เปนสำคัญ ทั้งน้ี หน้ีสาธารณะคงคางจำแนกไดเปน (1) หน้ีที่รัฐบาลกูโดยตรง (2) หน้ีรัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน (3) หน้ีรัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน และ (4) หน้ีกองทุนเพ่ือการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน

รายงานสรุปสถานการณดานการคลัง รายงานสรุปสถานการณดานการคลัง ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554ในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554

Page 39: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 37

ปงบประมาณ 2554 รัฐบาลไดดำเนินนโยบายการคลังแบบผอนคลาย (Expansionary Fiscal Policy) เพื่อเปนการกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศใหสามารถขยายตัวไดอยางตอเน่ือง รวมถึงการดำเนินการแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ตอเน่ืองจากปงบประมาณ 2552 และปงบประมาณ 2553 ภายใตกรอบวงเงินลงทุน 350.0 พันลานบาท ท่ีถือเปนการใชจายเงินนอกงบประมาณ (Extra Budgetary Expenditure) ภายในปปฏิทิน 2554 เพื่อเปนการเรงรัดการลงทุนภายในประเทศ โดยเฉพาะการลงทุนในโครงสรางสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและเปน การสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจภายในประเทศ

1. สรุปผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553–กุมภาพันธ 2554)

ผลการจัดเก็บรายไดสุทธิของรัฐบาลในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลจัดเก็บรายไดสุทธิ (หลังหัก

การจัดสรรให อปท.) จำนวน 654.5 พันลานบาท สูงกวาประมาณการตามเอกสารงบประมาณ 82.2 พันลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 14.4 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 93.4 พันลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 16.6 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน ทั้งนี้ รายไดของรัฐบาลจาก 3 กรมจัดเก็บ (กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร) มีจำนวนท้ังสิ้น 673.5 พันลานบาท สูงกวาประมาณการตามเอกสารงบประมาณ 72.0 พันลานบาท หรือรอยละ 12.0 และสูงกวาปงบประมาณ กอนหนา 83.1 พันลานบาท หรือรอยละ 14.1 โดยมีรายละเอียดการจัดเก็บรายไดรัฐบาลที่สำคัญ ดังน้ี

กรมสรรพากรจัดเก็บไดจำนวน 448.0 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 47.5 พันลานบาท หรือรอยละ 11.9 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 64.7 พันลานบาท หรือรอยละ 16.9 โดยมีรายละเอียดของภาษี ที่สำคัญ ดังน้ี (1) ภาษีมูลคาเพ่ิมจัดเก็บได 224.4 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 12.2 พันลานบาท หรือรอยละ 5.8 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 21.6 พันลานบาท หรือรอยละ 10.7 สะทอนการบริโภคภายในประเทศและการนำเขาท่ี ปรับตัวดีขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจ (2) ภาษีเงินไดนิติบุคคลจัดเก็บได 107.4 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 21.9 พันลานบาท หรือรอยละ 25.6 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 19.7 พันลานบาท หรือรอยละ 22.5 และ (3) ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจัดเก็บได 91.8 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 8.0 พันลานบาท หรือรอยละ 9.5 และสูงกวา ชวงเดียวกันของปกอน 10.0 พันลานบาท หรือรอยละ 12.2

กรมสรรพสามิตจัดเก็บไดจำนวน 184.0 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 20.2 พันลานบาท หรือรอยละ 12.3 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 16.4 พันลานบาท หรือรอยละ 9.8 โดยมีรายละเอียดของภาษี ที่สำคัญ ดังน้ี (1) ภาษีสรรพสามิตน้ำมันจัดเก็บได 66.2 พันลานบาท สูงกวาประมาณการ 2.8 พันลานบาท หรือรอยละ 4.4

และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 3.6 พันลานบาท หรือรอยละ 5.7 (2) ภาษีสรรพสามิตรถยนตจัดเก็บได 36.7 พันลานบาท

สูงกวาประมาณการรายได 8.9 พันลานบาท หรือรอยละ 31.9 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 5.4 พันลานบาท หรือรอยละ 17.2 สะทอนถึงการผลิตรถยนตภายในประเทศท่ีปรับตัวดีขึ้นตามอุปสงคภายในประเทศ และ (3) ภาษีสรรพสามิตสุราจัดเก็บได

21.7 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 3.9 พันลานบาท หรือรอยละ 21.7 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 3.4 พันลานบาท หรือรอยละ 18.5

กรมศุลกากรจัดเก็บไดจำนวน 41.5 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 4.3 พันลานบาท หรือรอยละ 11.7 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 2.0 พันลานบาท หรือรอยละ 5.2 โดยมีรายไดหลักจากอากรขาเขาท่ี จัดเก็บได 40.4 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 4.3 พันลานบาท หรือรอยละ 12.0 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 2.3 พันลานบาท หรือรอยละ 5.2

รัฐวิสาหกิจนำสงรายไดจำนวน 39.3 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 6.0 พันลานบาท หรือรอยละ 18.2 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 6.8 พันลานบาท หรือรอยละ 21.0 สวนหน่ึงเปนผลมาจาก การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟานครหลวง โรงงานยาสูบ และธนาคารออมสิน ที่นำสงรายไดสูงกวาประมาณการ เปนสำคัญ

Page 40: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 38

หนวยงานอ่ืน ๆ นำสงรายไดจำนวน 46.8 พันลานบาท สูงกวาประมาณการรายได 4.4 พันลานบาท หรือรอยละ 10.6 และสูงกวาชวงเดียวกันของปกอน 8.1 พันลานบาท หรือรอยละ 21.0 เน่ืองจากมีรายไดคาใบอนุญาตกิจการโทรคมนาคมจากสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ จำนวน 2.4 พันลานบาท และมีรายไดจาก การไถถอนหุนกูดอยสิทธิที่ครบกำหนดของกระทรวงการคลัง จำนวน 3.0 พันลานบาท

ตารางที่ 1 ผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

ปน้ี ปท่ีแลว ตามเอกสาร งปม. เปรียบเทียบกับ ท่ีมาของรายได (ต.ค. 53-ก.พ. 54) (ต.ค. 52-ก.พ. 53) (ต.ค. 53-ก.พ. 54) ปกอนหนา ประมาณการ ประมาณการ (รอยละ)

1. กรมสรรพากร 448,023 383,317 400,505 16.9 47,518 11.9 - ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 91,799 81,825 83,798 12.2 8,001 9.5 - ภาษีเงินไดนิติบุคคล 107,378 87,664 85,505 22.5 21,873 25.6 - ภาษีเงินไดปโตรเลียม 6,498 793 6,029 719.4 406 6.7 - ภาษีมูลคาเพ่ิม 224,420 202,801 212,205 10.7 12,215 5.8 - ภาษีธุรกิจเฉพาะ 13,738 6,601 9,364 108.1 4,374 46.7 - อากรแสตมป 4,082 3,544 3,451 15.2 631 18.3 - อื่น ๆ 108 89 90 21.3 18 20.0 2. กรมสรรพสามิต 184,026 167,651 163,841 9.8 20,185 12.3 - ภาษีน้ำมัน 66,156 62,591 63,338 5.7 2,818 4.4 - ภาษียาสูบ 23,970 20,802 22,553 15.2 1,417 6.3 - ภาษีสุราฯ 21,705 18,312 17,831 18.5 3,874 21.7 - ภาษีเบียร 26,545 25,846 24,455 2.7 2,090 8.5 - ภาษีรถยนต 36,667 31,293 27,793 17.2 8,874 31.9 - อื่น ๆ 8,983 8,807 7,871 2.0 1,112 14.1 3. กรมศุลกากร 41,460 39,417 37,120 5.2 4,340 27.5 - อากรขาเขา 40,439 38,096 36,120 6.2 4,319 27.2 - อากรขาออก 75 40 40 87.5 35 -68.0 - อื่น ๆ 946 1,281 960 -26.2 -14 -1.5 รวมรายได 3 กรมภาษี 673,509 590,385 601,466 14.1 72,043 12.0 4. รัฐวิสาหกิจ 39,310 32,499 33,252 21.0 6,058 18.2 5. หนวยงานอ่ืน 46,829 38,706 42,426 21.0 4,403 10.4 รวมรายไดจัดเก็บ 759,648 661,590 677,144 14.8 82,504 12.2 รายไดสุทธิรัฐบาล

654,459 561,046 572,220 16.6 82,239 14.4 (หลังการจัดสรรให อปท.)

(หนวย : ลานบาท)

Page 41: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 39

2. สรุปผลการเบิกจายงบประมาณในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553–กุมภาพันธ 2554)

ผลการเบิกจายงบประมาณของรัฐบาลในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลสามารถเบิกจายเงิน

งบประมาณทั้งสิ้นจำนวน 988.3 พันลานบาท สูงกวาชวงเดียวกันของปกอนหนา จำนวน 204.2 พันลานบาท หรือคิดเปน รอยละ 26.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ประกอบดวย (1) รายจายของปงบประมาณปจจุบัน จำนวน 913.4 พันลานบาท

ขยายตัวรอยละ 30.6 หรือคิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 44.1 ของกรอบวงเงินงบประมาณประจำป 2554 (2.07 ลานลานบาท) ทั้งน้ี รายจายปปจจุบันแบงออกไดเปน (1.1) รายจายประจำ เบิกจายไดจำนวน 789.2 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 31.8 หรือคิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 45.7 ของกรอบวงเงินงบประมาณประจำ (ประมาณ 1.73 ลานลานบาท) และ (1.2) รายจายลงทุน เบิกจายไดจำนวน 124.3 พันลานบาท ขยายตัวเพ่ิมขึ้นรอยละ 23.3 หรือคิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 36.1 ของกรอบวงเงินงบประมาณลงทุน (ประมาณ 344.4 แสนลานบาท) และ (2) รายจายเหล่ือมปเบิกจายไดจำนวน 74.8 พันลานบาท หดตัวรอยละ -11.5

อยางไรก็ดี คาดวาในชวง 7 เดือนท่ีเหลือของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลจะสามารถเบิกจายงบประมาณไดตาม เปาหมายอยางนอยท่ีรอยละ 93.0 ของกรอบวงเงินงบประมาณรายจายประจำปงบประมาณ 2554 ซึ่งถือเปนสวนสำคัญของการใชนโยบายการคลังในการกระตุนเศรษฐกิจไทย นอกจากน้ี ในปงบประมาณ 2554 รัฐบาลไดจัดทำงบประมาณเพ่ิมเติมกลางป จำนวน 99.9 พันลานบาท โดยเปนการชดใชเงินคงคลังจำนวน 84.1 พันลานบาท และเพ่ือการฟนฟูภัยพิบัติและอุดหนุน อปท. จำนวน 15.8 พันลานบาท

ตารางที่ 2 สรุปผลการเบิกจายรายจายรัฐบาลในชวง 5 เดือนของปงบประมาณ 2554

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

กรอบวงเงิน ผลการเบิกจาย ผลการเบิกจาย อัตราการขยายตัว อัตราเบิกจาย งบประมาณ ชวง 5 เดือนแรก ชวง 5 เดือนแรก (รอยละ) เทียบกับกรอบ ประเภทรายจาย ประจำป ของปงบประมาณ ของปงบประมาณ วงเงินงบประมาณ งบประมาณ 2554 2554 2553 (1) (2) (3) (2)/(3) (2)/(1)

1. รายจายกรอบ งปม. 2,070,000 913,444 699,523 30.6 44.1 - รายจายประจำ 1,725,583 789,151 598,740 31.8 45.7 - รายจายลงทุน 344,417 124,293 100,783 23.2 36.1 2. รายจายเหล่ือมป 160,628 74,807 84,510 -11.5 46.6 รายจายรวม (1+2) 2,230,628 988,251 784,033 26.1 44.1

(หนวย : ลานบาท)

นอกจากรายจายลงทุนท่ีจัดสรรภายใตงบประมาณของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลยังไดดำเนินการลงทุนภายใต แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 โดยสถานะความคืบหนาของโครงการแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็งลาสุด ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ 2554 สามารถเบิกจายไดรวมทั้งสิ้นจำนวน 265.4 พันลานบาท หรือคิดเปนอัตราการเบิกจายท่ีรอยละ 75.8 ของ

วงเงินท่ีไดรับการอนุมัติ จำนวน 350.0 พันลานบาท โดยมีรายละเอียดผลการเบิกจาย ดังน้ี

Page 42: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 40

ตารางที่ 3 ผลการเบิกจายตามแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 ณ วันท่ี 25 มีนาคม 2554

ที่มา : รวบรวมโดย สำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

วัตถุประสงค/สาขา วงเงินท่ีไดรับอนุมัติ ผลการเบิกจาย จำนวน รอยละ 1 สรางความม่ันคงดานอาหารและพลังงานฯ 59,503 44,338 74.5 1.1 สาขาทรัพยากรน้ำและการเกษตร 59,503 44,338 74.5 2 ปรับปรุงบริการสาธารณะขั้นพ้ืนฐานฯ 74,781 52,207 69.8 2.1 สาขาขนสง 46,587 41,638 89.4 2.2 สาขาพลังงาน 174 0 0 2.3 สาขาการส่ือสาร 0 0 0 2.4 สาขาโครงสรางพ้ืนฐานดานการทองเท่ียว 3,282 930 28.4 2.5 สาขาพัฒนาดานสาธารณสุข พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน 14,692 3,080 21.0 2.6 สาขาสวัสดิภาพของประชาชน 9,173 5,720 62.4 2.7 สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 185 178 96.4 2.8 สาขาส่ิงแวดลอม 689 664 96.3 3 สรางศักยภาพในการหารายไดจากการทองเท่ียว 5,394 2,140 39.7 3.1 สาขาพัฒนาการทองเท่ียว 5,394 2,140 39.7 4 สรางฐานรายไดใหมของประเทศฯ 1,331 1,255 94.3 4.1 สาขาเศรษฐกิจเชิงสรางสรรค 1,331 1,255 94.3 5 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูฯ 51,981 33,174 63.8 5.1 สาขาการศึกษา 51,981 33,174 63.8 6 ปฏิรูปคุณภาพระบบสาธารณสุขฯ 1,928 619 31.1 6.1 สาขาพัฒนาดานสาธารณสุข พัฒนาบุคลากร 1,928 619 31.1 7 สรางอาชีพและรายไดเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตฯ 106,542 89,543 84.0 7.1 สาขาการลงทุนในระดับชุมชน 106,542 89,543 84.0 8 อ่ืน ๆ ตามท่ีคณะรัฐมนตรีกำหนด 40,000 40,000 100.0 8.1 สาขาการประกันรายได และการดำเนินงานอ่ืน ๆ ที่เก่ียวของ 40,000 40,000 100.0 รวม 341,460 263,274 77.1 สำรองจายตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหาร 8,500 2,153 77.1 รวมท้ังสิ้น 349,960 265,427 75.8

(หนวย : ลานบาท)

3. ฐานะการคลังในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 (เดือนตุลาคม 2553–กุมภาพันธ 2554)

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554 รัฐบาลขาดดุลเงิน

งบประมาณจำนวน -343.4 พันลานบาท และเมื่อรวมกับดุลเงินนอกงบประมาณที่ขาดดุลจำนวน -5.3 พันลานบาท สงผลให

ดุลเงินสด (กอนกู) ขาดดุลจำนวน -348.6 พันลานบาท ทั้งน้ี รัฐบาลไดบริหารเงินสดใหสอดคลองกับความตองการใชเงิน รวมทั้งสรางความมั่นคงของฐานะการคลัง โดยการกูเงินเพ่ือชดเชยการขาดดุลในชวง 5 เดือนแรกดังกลาว ดวยการออกพันธบัตรรัฐบาลจำนวน 89.1 พันลานบาท ทำใหดุลเงินสดหลังการกูเงินขาดดุลจำนวน -259.5 พันลานบาท โดย ณ สิ้นเดือน

กุมภาพันธ 2554 มีเงินคงคลังจำนวนท้ังสิ้น 169.8 พันลานบาท ทั้งน้ี การขาดดุลการคลังในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2553 เปนไปตามบทบาทการใชนโยบายการคลังเพ่ือเปนการกระตุนเศรษฐกิจภายในประเทศ

Page 43: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 41

ตารางที่ 4 ฐานะการคลังในชวง 5 เดือนแรกของปงบประมาณ 2554

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง

ไตรมาสที่ 1 ม.ค. 54 ก.พ. 54 5 เดือนแรก ปงบประมาณ 2554 ปงบประมาณ 2554 1. รายไดนำสงคลัง 394,940 129,899 120,041 644,880 2. รายจาย 598,370 235,192 154,689 988,251 3. ดุลเงินงบประมาณ -203,430 -105,293 -34,648 -343,371

4. ดุลเงินนอกงบประมาณ 34,516 -37,798 -1,972 -5,253 5. ดุลเงินสด -168,914 -143,091 -36,620 -348,624

6. กูเพื่อชดเชยการขาดดุล 53,021 15,000 21,084 89,105 7. ดุลเงินสดหลังการกูเงิน -115,893 -128,091 -15,536 -259,519 เงินคงคลังปลายงวด 313,429 185,339 169,803 169,803

(หนวย : ลานบาท)

4. หนี้สาธารณะ หน้ีสาธารณะคงคาง ณ สิ้นเดือนมกราคม 2554 มีจำนวนท้ังส้ิน 4,263.0 พันลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 41.94

ของ GDP ลดลงจากเดือนกอนหนา -19.1 พันลานบาท ซึ่งเปนการลดลงท่ีสำคัญจากหน้ีที่รัฐบาลกูโดยตรง โดยลดลงสุทธิ -18.0 พันลานบาท รายการท่ีสำคัญเกิดจากการไถถอนต๋ัวเงินคลังจำนวน 21.7 พันลานบาท ทั้งน้ี หน้ีสาธารณะคงคางจำแนกไดเปน (1) หน้ีที่รัฐบาลกูโดยตรงจำนวน 2,984.5 พันลานบาท หรือรอยละ 29.4 ของ GDP ลดลงจากเดือนกอนหนา -18.0 พันลานบาท (2) หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน 1,085.9 พันลานบาท หรือรอยละ 10.7 ของ GDP เพ่ิมขึ้นจากเดือนกอนหนา 4.9 พันลานบาท (3) หน้ีรัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 162.1 พันลานบาท หรือรอยละ 1.6 ของ GDP ลดลงจากเดือนกอนหนา -6.0 พันลานบาท และ (4) หน้ีกองทุนเพ่ือการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน 30.6 พันลานบาท หรือรอยละ 0.3 ของ GDP เพ่ิมขึ้นจากเดือนกอนหนา 0.5 ลานบาท

ทั้งน้ี เมื่อพิจารณาสถานะของหน้ีสาธารณะ ณ สิ้นเดือนมกราคม 2554 พบวา อยูในระดับที่มีเสถียรภาพ กลาวคือ 1) หน้ีสาธารณะสวนใหญเปนหน้ีสกุลเงินบาทโดยมีสัดสวนสูงถึงรอยละ 91.4 ของหน้ีสาธารณะคงคาง 2) หน้ีสาธารณะ สวนใหญเปนหน้ีระยะยาวมีสัดสวนสูงถึงรอยละ 98.4 ของหน้ีสาธารณะคงคาง และ 3) สัดสวนยอดหน้ีสาธารณะคงคางตอ GDP อยูที่รอยละ 41.94 ซึ่งยังคงอยูในกรอบความย่ังยืนทางการคลังท่ีกำหนดสัดสวนไวไมเกินรอยละ 60.0 ตอ GDP

ภาพที่ 1 สถานะหนี้สาธารณะและสัดสวนหน้ีสาธารณะตอ GDP รายเดือน

ที่มา : สำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ กระทรวงการคลัง

Page 44: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 42

ตารางที่ 5 หน้ีสาธารณะคงคาง ณ วันท่ี 31 มกราคม 2554

ที่มา : สำนักงานบริหารหน้ีสาธารณะ กระทรวงการคลัง

หน้ีสาธารณะคงคาง ณ สิ้น พ.ย. 53 ธ.ค. 53 ม.ค. 53 % ของหน้ีฯ ธ.ค./ม.ค. ต.ค. 53 ณ ม.ค. 54 เพิ่ม/ลด 1. หน้ีท่ีรัฐบาลกูโดยตรง (1.1+1.2) 2,891,655 2,904,506 3,002,423 2,984,473 71.0% (17,949)

2. หน้ีรัฐวิสาหกิจท่ีไมเปนสถาบันการเงิน 1,072,376 1,060,121 1,081,006 1,085,864 25.8% 4,858 (2.1+2.2) 2.1 หน้ีท่ีรัฐบาลค้ำประกัน 532,436 523,518 520,197 523,934 12.5% 3,757

2.2 หน้ีท่ีรัฐบาลไมค้ำประกัน 539,940 536,602 560,808 561,929 13.4% 1,121

3. หน้ีรัฐวิสาหกิจท่ีเปนสถาบันการเงิน 175,200 171,084 168,092 162,076 3.9% (6,016) (รัฐบาลค้ำประกัน) 4. หน้ีกองทุนเพื่อการฟนฟูฯ (4.1+4.2) 62,092 30,611 30,583 30,584 0.7% 0.5

4.1 หน้ีท่ีรัฐบาลค้ำประกัน 30,445 30,445 30,455 30,445 0.7% 0

4.2 หน้ีท่ีรัฐบาลไมค้ำประกัน 31,647 166 138 138 0.0% 0.5

5. หน้ีหนวยงานอ่ืนของรัฐ (5.1+5.2) - - - - 0.0% 0

5.1 หน้ีท่ีรัฐบาลค้ำประกัน - - - - 0.0% 0

5.2 หน้ีท่ีรัฐบาลไมค้ำประกัน - - - - 0.0% 0

หน้ีสาธารณะรวม (1+2+3+4+5) 4,201,324 4,166,322 4,282,104 4,262,997 100.0 (19,107) สัดสวนหน้ีสาธารณะตอ GDP (รอยละ) 41.59 41.24 42.38 41.94

(หนวย : ลานบาท)

5. ผลการเบิกจายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจของปงบประมาณ 2554 กรอบอนุมัติงบประมาณลงทุนประจำป 2554 ของรัฐวิสาหกิจ ท่ีพรอมดำเนินการมีจำนวนท้ังสิ้น 315.4

พันลานบาท โดยมีผลการเบิกจายสะสมถึงสิ้นเดือนกุมภาพันธ 2554 จำนวน 28.1 พันลานบาท หรือคิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 8.9 ของกรอบลงทุนอนุมัติ ซึ่งสามารถแบงออกไดดังน้ี

1) รัฐวิสาหกิจท่ีใชปงบประมาณ (เริ่มดำเนินการ 1 ตุลาคม 2553) มีงบลงทุนท่ีพรอมดำเนินการท้ังสิ้นจำนวน 114.8 พันลานบาท มีการเบิกจายงบลงทุนสะสม (1 ตุลาคม 2553–28 กุมภาพันธ 2554) จำนวน 13.5 พันลานบาท หรือคิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 11.8 ของกรอบการเบิกจายงบลงทุน

2) รัฐวิสาหกิจท่ีใชปปฏิทิน (เร่ิมดำเนินการ 1 มกราคม 2554) มีงบลงทุนอนุมัติที่พรอมดำเนินการท้ังสิ้นจำนวน

200.6 พันลานบาท ซึ่งมีการเบิกจายงบลงทุนสะสม (1 มกราคม 2553–28 กุมภาพันธ 2554) จำนวน 14.5 ลานบาท หรือ คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 7.3 ของกรอบการเบิกจายงบลงทุน

Page 45: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 43

ตารางที่ 6 การเบิกจายงบลงทุนปงบประมาณ 2554 ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ 2554

ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง

(1) (2) (3) รัฐวิสาหกิจ งบประมาณ แผนเบิกจาย การเบิกจายจริง (4) = (3) / (2) (5) = (3) / (1) อนุมัติป 2554 สะสมถึง ก.พ. 54 สะสมถึง ก.พ. 54 รัฐวิสาหกิจท่ีใชปงบประมาณ 114,755 31,065 13,532 43.6% 11.8% (ต.ค. 53-ก.พ. 54) การเคหะแหงชาติ 6,961 2,586 2,462 95.2% 35.4% การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย 34,370 10,004 3,232 32.3% 9.4% การทางพิเศษแหงประเทศไทย 3,597 1,694 1,222 72.2% 34.0% การรถไฟแหงประเทศไทย 35,812 5,467 1,515 27.7% 4.2% บริษัท ทาอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) 5,166 907 389 42.9% 7.5% การประปานครหลวง 4,576 1,805 1,191 66.0% 26.0% การประปาสวนภูมิภาค 7,180 2,778 1,688 60.8% 23.5% รัฐวิสาหกิจท่ีใชปปฏิทิน 200,615 21,504 14,536 62.9% 7.3% (ม.ค. 54-ก.พ. 54) บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) 95,809 12,223 5,317 43.5% 5.6% บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) 20,367 1,728 1,728 100.0% 8.5% การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 22,013 1,843 1,620 87.9% 7.36% การไฟฟาสวนภูมิภาค 17,470 2,387 2,292 96.0% 13.1% การไฟฟานครหลวง 10,841 1,013 644 63.6% 5.9% บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) 22,914 1,042 2,151 206.5% 9.4% บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) 9,350 1,096 631 57.5% 6.8% รวม 315,370 52,570 28,068 62.5% 8.9%

(หนวย : ลานบาท)

รายละเอียดผลการเบิกจายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจปงบประมาณ 2554 (ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ 2554) รัฐวิสาหกิจที่มีกรอบลงทุนอนุมัติป 2554 สูง ไดแก การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย มีกรอบลงทุนอนุมัติ 34.4 พันลานบาท มีการเบิกจายสะสม 3.2 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 9.4 ของกรอบลงทุนอนุมัติ โดยมีโครงการท่ีสำคัญคือ โครงการกอสรางรถไฟฟาสายสีมวง ชวงบางใหญ–บางซื่อ และโครงการกอสรางรถไฟฟาสายสีน้ำเงิน

ชวงหัวลำโพง–บางแค การเคหะแหงชาติ มีกรอบลงทุนอนุมัติ 7.0 พันลานบาท มีการเบิกจายสะสม 2.5 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 35.4 ของกรอบลงทุนอนุมัติ โดยมีโครงการท่ีสำคัญคือ โครงการบานเอ้ืออาทร ระยะท่ี 4–5 การรถไฟแหงประเทศไทย มีกรอบการลงทุนอนุมัติ 35.8 พันลานบาท มีการเบิกจายสะสม 1.5 พันลานบาท คิดเปน

อัตราการเบิกจายรอยละ 4.2 ของกรอบลงทุนอนุมัติ โดยมีการลงทุนท่ีสำคัญคือ โครงการกอสรางระบบขนสงมวลชนทางรางในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร สายสีแดง ชวงบางซ่ือ–ตลิ่งชัน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) กรอบลงทุนอนุมัติ 95.8 พันลานบาท มีการเบิกจายสะสม 5.3 พันลานบาท คิดเปนอัตราการเบิกจายรอยละ 5.6 ของกรอบลงทุนอนุมัติ โดยมีโครงการท่ีสำคัญคือ โครงการแผนงานดานแกสธรรมชาติ แผนงานพัฒนาสถานีและตลาดน้ำมัน และโครงการแผนงานดานปโตรเคมีและการกล่ัน

ทั้งนี้ คาดวาท้ังปงบประมาณ 2554 รัฐวิสาหกิจจะสามารถเบิกจายงบลงทุนไดประมาณรอยละ 75 ของกรอบวงเงิน

ลงทุนรัฐวิสาหกิจ

Page 46: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 44

บทวิเคราะห บทวิเคราะห เรื่อง แผนดินไหวในญี่ปุนกับแรงสั่นสะเทือนตอเศรษฐกิจไทยเรื่อง แผนดินไหวในญี่ปุนกับแรงสั่นสะเทือนตอเศรษฐกิจไทย1

บทสรุปผูบริหาร ➤ เหตุการณแผนดินไหวและสึนามิในประเทศญ่ีปุนไดสงผลกระทบตอตลาดเงินและตลาดทุน

ท่ัวโลกรวมท้ังประเทศไทย ผานชองทางการคาสินคาและบริการ โดยไทยสงออกสินคาไปญี่ปุนเปนอันดับ 2 รองจากประเทศจีน และชองทางการลงทุน โดยนักลงทุนญ่ีปุนมีการลงทุนทางตรงสุทธิในประเทศไทยมากเปนอันดับ 1 นอกจากน้ี ผลกระทบจากเหตุการณดังกลาวยังไดสงผลกระทบตอเงินทุนเคล่ือนยายและคาเงินในภูมิภาคอีกดวย

➤ สศค.วิเคราะหวา การสงออกสินคาของไทยและการนำเขาสินคาจากญี่ปุนจะไดรับผลกระทบมากโดยเฉพาะใน

ระยะสั้น ดานการลงทุนโดยตรงคาดวา การลงทุนเดิมจากญ่ีปุนจะไมไดรับผลกระทบ แตการลงทุนใหม

จากญ่ีปุนคาดวาจะชะลอลงในระยะสั้นถึงปานกลาง ดานการทองเท่ียวคาดวาจะไดรับผลกระทบในระดับปานกลาง ดานเงินทุนเคล่ือนยายคาดวาในระยะสั้นจะมีเงินทุนเคลื่อนยายกลับไปสูญี่ปุน และเปนปจจัย

ใหเงินบาทออนคาลงเมื่อเทียบกับคาเงินเยน โดย สศค.ประมาณการวา เหตุการณแผนดินไหวและสึนามิท่ีญี่ปุนในเบื้องตนจะกระทบตอ

อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในป 2554 ประมาณรอยละ -0.1 จากกรณีฐาน

1 ผูเขียน : ดร.สิริกมล อุดมผล และ ดร.พิมพนารา หิรัญกสิ เศรษฐกรชำนาญการ สำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ ดร.กุลกัลยา พระยาราช คุณธนิต ภัทรแสงไทย คุณคงขวัญ ศิลา และคุณกาญจนา จันทรชิต สำหรับขอมูล และขอขอบคุณ ดร.ศรพล ตุลยเสถียร และ ดร.กุลยา ตันติเตมิท สำหรับคำแนะนำ

1. บทนำ เหตุการณแผนดินไหวและสึนามิในประเทศญ่ีปุนท่ีเกิดขึ้นเม่ือวันท่ี 11 มีนาคม 2554 ไดกอความเสียหายใหแก

เศรษฐกิจญี่ปุนเปนอยางมาก ทั้งจากความสูญเสียในชีวิตและทรัพยสิน และความเสียหายจากการชะงักงันทางเศรษฐกิจ ของญ่ีปุน และเน่ืองจากประเทศไทยมีความสัมพันธทางเศรษฐกิจกับประเทศญ่ีปุนอยางใกลชิด ทำใหหลายฝายกังวลวา ผลกระทบตอเศรษฐกิจของญี่ปุนจะลามมาสูเศรษฐกิจไทย บทความน้ีไดวิเคราะหถึงผลกระทบจากเหตุการณแผนดินไหวและสึนามิในประเทศญ่ีปุนตอเศรษฐกิจไทย ผานชองทางภาคเศรษฐกิจจริง (การคาสินคาและบริการ และการลงทุน) และชองทางภาคการเงิน (เงินทุนเคล่ือนยายและคาเงิน) โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

Macroeconomic Analysis Briefing Macroeconomic Analysis Briefing

Page 47: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 45

2. ผลกระทบตอภาคการคาระหวางประเทศ 2.1 การสงออกสินคาของไทยคาดวาจะไดรับผลกระทบมากโดยเฉพาะในระยะสั้น ทั้งจากผลกระทบโดยตรง

(ไทยสงออกไปญี่ปุนโดยตรง) และผลกระทบทางออม (ไทยสงออกไปยังประเทศคูคาท่ีสงออกไปยังประเทศญ่ีปุน) กลาวคือ • ผลกระทบทางตรง เหตุการณแผนดินไหวและสึนามิดังกลาวสงผลกระทบในวงกวาง โดยเฉพาะในภาคการผลิตสินคา

อุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต เน่ืองจากพ้ืนท่ีที่ไดรับผลกระทบเปนแหลงผลิตและประกอบยานยนตที่สำคัญในภูมิภาค และเปนท้ังปลายทางของอุตสาหกรรมยานยนตไทย อีกท้ังยังเปนแหลงผลิตชิ้นสวนยานยนตเพ่ือสงออกไปยังภูมิภาคเอเชีย เหตุการณดังกลาวจึงสงผลกระทบตอภาคการสงออก-นำเขาของไทยผานการชะงักงันของหวงโซอุตสาหกรรมอยางหลีกเล่ียงไมได

ในป 2553 การสงออกสินคาของไทยไปยังญี่ปุนมีมูลคาทั้งสิ้น 20,416 ลานดอลลารสหรัฐ หรือคิดเปนสัดสวนกวารอยละ 10.5 ของมูลคาการสงออกท้ังหมดของไทย โดยสินคาที่ไทยสงออกไปญ่ีปุนสวนใหญเปนสินคาที่ใชในภาคอุตสาหกรรมเพื่อการสงออกและอาหารแปรรูป ไดแก คอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ รถยนตและอุปกรณสวนประกอบ ยางพารา แผงวงจรไฟฟา และไกแปรรูป ดังมีรายละเอียดตามภาพท่ี 1 ท้ังน้ี คาดวาในระยะสั้น การสงออกยางพาราและไกแปรรูปอาจไดรับผลกระทบจากเหตุการณในญ่ีปุนมากท่ีสุด เนื่องจากญ่ีปุนเปนตลาดสงออกยางพาราอันดับ 3 ของไทย สัดสวนรอยละ 13.8 ของการสงออกยางพารารวมในป 2553 ในขณะที่ไทย สงออกไกแปรรูปไปยังญี่ปุนเปนอันดับ 2 รองจากสหภาพยุโรป สัดสวนรอยละ 46.5 ของการสงออกไกแปรรูปรวมในป 2553 อยางไรก็ตาม ผลกระทบของการสงออกไกแปรรูปและสินคาหมวดอาหารอ่ืน ๆ อาจไดรับผลกระทบเพียงใน ระยะส้ัน เน่ืองจากเปนสินคาท่ีจำเปนตอการดำรงชีวิตโดยเฉพาะในชวงภัยพิบัติ

ภาพที่ 1 สินคาหลักท่ีไทยสงออกไปยังญี่ปุนและสัดสวนตอมูลคาสงออกไปยังญี่ปุนรวม ป 2553

ที่มา : กระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

• ผลกระทบทางออม ผลกระทบตอภาคการสงออกของไทยมิไดมีเพียงผลทางตรงจากการท่ีไทยสงออกไปญ่ีปุนเทาน้ัน เน่ืองจาก

ประเทศคูคาอ่ืน ๆ ของไทย เชน จีน สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ตางพ่ึงพาการสงออกหลักไปยังตลาดญ่ีปุนดวยเชน

เดียวกัน ดังแสดงในภาพที่ 2 ซึ่งประเทศดังกลาวก็จะไดรับผลกระทบจากการสงออกไปญี่ปุนท่ีลดลง ซึ่งจะสงผานผลกระทบมายังภาคการสงออกของไทยในท่ีสุด ดังน้ัน Exposure ของภาคการสงออกของไทยไปยังญี่ปุนท่ีรวม Exposure ทางออมไปดวยจึงสูงกวารอยละ 10.5 ของมูลคาสงออกท้ังหมดของไทยไปยังญี่ปุน ซึ่งในสวนน้ีจะไดประเมิน Exposure ทางออมตอภาคการสงออกของไทย เพ่ือใหหาความเส่ียงของภาคการสงออกของไทยไปยังญ่ีปุนท้ังหมด

Page 48: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 46

ภาพที่ 2 สัดสวนการสงออกไปยังญี่ปุนตอมูลคาสงออกรวมของแตละประเทศ ในป 2553

ที่มา : CEIC คำนวณโดย สศค.

ในการประเมินผลกระทบทางออมนั้นจะคำนวณ Exposure ตอภาคการสงออกของไทยผานสัดสวนการสงออกเปนรอบ ๆ ไป โดยในรอบแรก (First Round Exposure) เกิดจากการท่ีไทยสงออกสินคาไปยังประเทศคูคาอื่น ๆ ของไทยท่ีมิใชญ่ีปุน (เชน สหรัฐอเมริกา) และประเทศดังกลาวสงออกสินคาไปยังญ่ีปุนตอไป สำหรับในรอบท่ี 2 (Second Round Exposure) จะเกิดจากการท่ีไทยสงออกไปยังประเทศคูคา (เชน จีน) แลวประเทศดังกลาวสงออกไปยังประเทศคูคาท่ีมิใชญ่ีปุน (เชน จีนสงออกไปยังสหรัฐอเมริกา) แลวคูคาดังกลาว (ในกรณีน้ีคือสหรัฐอเมริกา) จึงสงออกสินคาไปยังญี่ปุน2 ดังแสดงตัวอยางในภาพท่ี 3

ภาพที่ 3 ตัวอยางแสดงผลกระทบทางตรงและทางออมของการสงออกของไทยไปยังญี่ปุน

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง

2 สำหรับในรอบตอ ๆ ไป (รอบที่ 3 รอบที่ 4 และรอบท่ี 5) Exposure สามารถหาไดจากตรรกะทำนองเดียวกัน

Page 49: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 47

จากการประเมินผลกระทบทางออมตอภาคการสงออกของไทยไปญี่ปุนรวม 5 รอบ (รอบที่ 1 ถึงรอบที่ 5) สามารถสรุป Exposure ของภาคการสงออกสินคาของไทยไปญี่ปุน ผานสัดสวนสงออกของไทยไปยังญี่ปุนท่ีแทจริง ซึ่งรวมท้ัง ผลทางตรงและทางออมไดประมาณรอยละ 15.6 ของภาคการสงออกสินคาทั้งหมด ดังแสดงในตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 สรุปสัดสวนสงออกของไทยไปยังญี่ปุน

ที่มา : คำนวณโดย สศค.

2.2 การนำเขาสินคาของไทยคาดวาจะไดรับผลกระทบมาก แตเปนผลกระทบในระยะสั้น เนื่องจากกวารอยละ 20.8 ของมูลคานำเขาโดยรวมของไทยในป 2553 เปนการนำเขาจากญ่ีปุน โดย

สินคานำเขาหลักจากญ่ีปุนมักจะเปนสินคาทุน และสินคาวัตถุดิบและก่ึงสำเร็จรูปเปนสวนใหญ ไดแก เคร่ืองจักรกล เหล็ก เหล็กกลาและผลิตภัณฑ สวนประกอบยานยนต เคร่ืองจักรไฟฟา และแผงวงจรไฟฟา ซึ่งการนำเขาสินคาทุนของไทยดังกลาวอาจไดรับผลกระทบในระยะส้ันจากปญหาติดขัดในการขนสงสินคาออกจากญ่ีปุน เน่ืองจากขอจำกัดดานความพรอมของทาเรือ การคมนาคมและการจำกัดการใชไฟฟาในญ่ีปุน ซึ่งก็จะกระทบตอภาคการผลิตของไทยดวยเชนกัน ทั้งน้ี หากปญหา ดังกลาวเร้ือรังก็อาจทำใหไทยตองปรับเปลี่ยนแหลงนำเขาสินคาทุน โดยเฉพาะเคร่ืองจักรท่ีใชในอุตสาหกรรมเปนแหลงอื่น ๆ เชน สหภาพยุโรป

ภาพที่ 4 สินคานำเขาหลักจากญ่ีปุนและสัดสวนตอมูลคาสงออกไปยังญี่ปุนรวม ป 2553

ที่มา : กระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

3. ดานการทองเที่ยวคาดวาจะไดรับผลกระทบในระดับปานกลาง เนื่องจากสัดสวนนักทองเท่ียวท่ีไมมากนัก โดยในป 2553 มีนักทองเที่ยวจากญ่ีปุนเดินทางมาประเทศไทยมีจำนวนทั้งสิ้น

9.8 แสนคน หรือคิดเปนสัดสวนเพียงรอยละ 6.2 ของจำนวนนักทองเท่ียวท้ังหมดของไทย ซึ่งเปนรองจากจำนวนนักทองเที่ยว จากเอเชีย (ไมรวมญ่ีปุน) และจากยุโรป ดังแสดงในภาพท่ี 5 ขณะท่ีดานรายไดพบวา ในป 2553 นักทองเท่ียวญ่ีปุนใชจายในไทยทั้งสิ้น 32,024 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 5.1 ของการใชจายของนักทองเท่ียวท้ังหมด ท้ังน้ี จากขอมูลเชิงประจักษพบวา จำนวนนักทองเท่ียวชาวญี่ปุนท่ีเดินทางเขามาในเดือนมีนาคม 2554 ขยายตัวชะลอลงมาอยูท่ีรอยละ 3.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา และหากขจัดผลทางฤดูกาลแลวจะหดตัวจากเดือนกอนหนารอยละ -8.9 ซึ่งคาดวาแนวโนมนักทองเท่ียวจากญ่ีปุนในป 2554 นาจะชะลอลงในชวงท่ีญ่ีปุนตองบูรณะประเทศจากความเสียหายท่ีเกิดขึ้น

Page 50: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 48

ภาพที่ 5 สัดสวนนักทองเท่ียวตางประเทศในป 2553

ที่มา : การทองเท่ียวแหงประเทศไทย รวบรวมโดย สศค.

4. ดานการลงทุนโดยตรงคาดวา การลงทุนเดิมจากญ่ีปุนจะไมไดรับผลกระทบ แตการลงทุนใหมจากญี่ปุนคาดวา จะชะลอลงในระยะส้ันถึงระยะปานกลาง

ในป 2553 การลงทุนโดยตรงสุทธิจากญ่ีปุนมีมูลคาท้ังสิ้น 1,062.7 ลานดอลลารสหรัฐ หรือคิดเปนสัดสวนรอยละ 20.0

ของการลงทุนสุทธิทั้งหมดของไทย โดยญี่ปุนเปนประเทศที่มีการลงทุนสุทธิในไทยสูงที่สุด ดังแสดงในภาพที่ 6 ทั้งนี้ จากเหตุการณภัยพิบัติของประเทศญ่ีปุน คาดวาจะไมสงผลกระทบการลงทุนเดิมท่ีมีอยูแลวในประเทศไทย แตอาจจะสงผลกระทบการลงทุนใหมจากญ่ีปุนท่ีคาดวาจะชะลอลงบางในระยะสั้น เน่ืองจากญ่ีปุนอาจตองจัดสรรเงินเพ่ือใชในการซอมแซมส่ิงกอสราง โรงงานและเครื่องจักรท่ีไดรับความเสียหายในประเทศของตนเอง

ภาพที่ 6 สัดสวนเงินลงทุนโดยตรงสุทธิจากตางประเทศในป 2553

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย

เกาหลีใต 2.6%

สหราชอาณาจักร 2.8%

อาเซียน 3.9%

ฝร่ังเศส 4.4% สหรัฐอเมริกา 8.5%

สวิตเซอรแลนด 2.0%

อ่ืน ๆ 31.2%

ญี่ปุน 20.0%

เนเธอรแลนด 14.9%

ฮองกง 9.7%

Page 51: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 49

5. ดานเงินทุนเคลื่อนยายคาดวาในระยะส้ันจะมีเงินทุนเคล่ือนยายกลับไปสูญี่ปุน และเปนปจจัยใหเงินบาทออนคาลงเมื่อเทียบกับคาเงินเยน

ผลกระทบจากเหตุการณสึนามิจะทำใหบริษัทญ่ีปุนในประเทศไทยมีการนำเงินกลับไปยังประเทศญ่ีปุนมากข้ึน

กวาปกติ ทำใหคาดวามีเงินทุนไหลออกจากประเทศไทยมากเปนพิเศษในเดือนมีนาคมน้ี ซึ่งอาจเปนปจจัยใหคาเงินบาทออนคาลงบางเมื่อเทียบกับคาเงินเยน

ดานผลกระทบตอคาเงินเยนคาดวาเงินทุนท่ีไหลกลับไปยังญ่ีปุนจะเปนปจจัยใหคาเงินเยนแข็งคาขึ้นอีกในระยะตอไป จากปจจุบันท่ีอยูที่ระดับ 81.51 เยนตอดอลลารสหรัฐ (ณ วันท่ี 15 มีนาคม 2554) อยางไรก็ตาม มาตรการอัดฉีดสภาพคลองมูลคารวมกวา 20 ลานลานเยน เขาสูระบบเศรษฐกิจของธนาคารกลางญ่ีปุนจะเปนปจจัยท่ีทำใหคาเงินเยนไมแข็งคาข้ึนมากนัก

ที่มา : หนังสือพิมพ Wall Street Journal (online) ณ วันท่ี 15 มีนาคม 2554

6. ผลกระทบตอเศรษฐกิจไทย สศค.วิเคราะหวา เหตุการณแผนดินไหวและสึนามิในญ่ีปุนจะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจไทยผานภาคการคาสินคาของไทย

มากท่ีสุด รองลงมาไดแก ภาคการทองเท่ียว ขณะท่ีการลงทุนโดยตรงจะไมไดรับผลกระทบมากนัก โดย สศค.ประมาณการวา เหตุการณแผนดินไหวและสึนามิในญี่ปุนในเบื้องตนจะกระทบตออัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในป 2554 ประมาณรอยละ -0.1 จากกรณีฐาน โดยจะสงผลใหการบริโภคท่ีแทจริงหดตัวเพียงเล็กนอย ขณะท่ีการลงทุนและการสงออกไดรับผลกระทบบางท่ีรอยละ -0.7 และรอยละ -0.8 ตามลำดับ ดังมีรายละเอียดตามตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 ผลกระทบของเหตุการณแผนดินไหวและสึนามิตอการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย

ที่มา : คำนวณโดย สศค.

Page 52: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 50

บทวิเคราะห บทวิเคราะห

เรื่อง สงครามทองคำสีดำกับภาระภาครัฐเรื่อง สงครามทองคำสีดำกับภาระภาครัฐ1

1 ผูเขียน : นายธนิต ภัทรแสงไทย เศรษฐกรปฏิบัติการ สวนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง สำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ นายยุทธภูมิ จารุเศรนี เศรษฐกรปฏิบัติการ และนางวิภารัตน ปนเปยมรัษฎ ผูอำนวยการสวนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง สำหรับคำแนะนำ

บทสรุปผูบริหาร ➤ ในป 2554 สถานการณทางการเมืองในกลุมประเทศตะวันออกกลางถือเปนประเด็นทางเศรษฐกิจท่ีท่ัวโลกกำลังจับตา เริ่มต้ังแตการประทวงทางการเมืองในประเทศตูนิเซียและประเทศอียิปต และลุกลามมาจนถึงประเทศลิเบียผูผลิตและสงออกน้ำมันรายใหญของโลก โดยปญหาการจลาจลในลิเบียท่ียังรุนแรงตอเน่ืองไดสงผลใหราคาน้ำมันในตลาดโลกทะยานสูงขึ้นอยางรวดเร็ว ทำใหในชวงไตรมาสแรกป 2554 ราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยอยูในระดับสูงท่ี 100.4 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ซึ่งอาจนำไปสูวิกฤตการณราคาน้ำมันขั้นรุนแรง ➤ เมื่อเปรียบเทียบกับสงครามที่ เ กิดขึ้นในอดีตมีสงครามครั้งใหญเกิดขึ้น 4 ครั้ง อาทิ สงคราม Yom Kippur ในป 2516 เกิดจากขอพิพาทดินแดนระหวางประเทศอิสราเอลกับกลุมประเทศผูสงออกน้ำมันท่ีทำใหราคาน้ำมันเพ่ิมขึ้นรอยละ 300 เห็นไดวาสงครามท่ีเกิดในลิเบียและตะวันออกกลางคร้ังน้ียังไมมีความรุนแรงเทียบเทาในครั้งกอน ดังน้ัน ราคาน้ำมันดิบดูไบจึงปรับตัวขึ้นไมรุนแรงมากนัก อยางไรก็ดี หากสงครามแผขยายไปยังประเทศผูผลิตน้ำมันรายใหญอีกหลายประเทศ ก็มีความเปนไปไดท่ีราคาน้ำมันจะปรับตัวเพิ่มขึ้นรุนแรงจนทำสถิติสูงสุดใหมไดอีกคร้ัง ➤ การปรับตัวขึ้นของราคาน้ำมันดิบดูไบอยางรุนแรงในสงครามหลาย ๆ คร้ังสงผล โดยตรงตอราคาน้ำมันขายปลีก ณ สถานีบริการท่ีประชาชนตองจาย อยางไรก็ดี ภาครัฐไดออกแบบโครงสรางของราคาน้ำมันใหมีความยืดหยุนและไมผันผวนตอการแกวงตัวของราคาน้ำมันดิบโลกมากนัก เพื่อใหประชาชนสามารถปรับตัวและเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคไดทัน โดยโครงสรางของราคาน้ำมันในประเทศไทยประกอบไปดวย คาตนทุน ภาษีตาง ๆ กองทุนน้ำมัน และคาการตลาด ➤ จากสมการความยืดหยุนของราคาน้ำมันสำเร็จรูปในแตละประเภทพบวา ราคาน้ำมันดิบ ดูไบและราคาน้ำมันสำเร็จรูปภายในประเทศมีความสัมพันธกันในเชิงบวก โดยราคาน้ำมันสำเร็จรูปเบนซิน 95 มีความยืดหยุนกับราคาน้ำมันดิบดูไบมากท่ีสุดท่ีรอยละ 0.653 สวนน้ำมันชนิดอ่ืน ๆ มีความยืดหยุนอยูในชวง 0.3-0.6 (Inelastic) สะทอนบทบาทท่ีสำคัญของกองทุนน้ำมันและมาตรการภาษีของรัฐ ในการชวยลดความผันผวนของราคาน้ำมันภายในประเทศไมใหเคลื่อนไหวรุนแรงเหมือนราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก ซึ่งจะชวยใหประชาชนสามารถปรับตัวและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคไดทัน ทำใหการบริโภคภาคเอกชนไมปรับตัวลดลง ซึ่งจะสงผลตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศได ➤ ความเส่ียงจากวิกฤตการณราคาน้ำมันในป 2554 เนื่องจากสงครามความไมสงบทาง การเมืองในลิเบียและกลุมตะวันออกกลางอาจทำใหราคาน้ำมันดิบยังคงอยูในระดับสูงตลอดป 2554 ซึ่งถาตองตรึงราคาน้ำมันดีเซลไวท่ีระดับ 30 บาทตอลิตร ตลอดถึงสิ้นป 2554 รัฐบาลควรที่จะตองเตรียมเม็ดเงินไวจำนวน 31,231.3 ถึง 123,068.5 ลานบาท ในการบริหารจัดการกองทุนน้ำมัน ซึ่งถาทุกฝายมีความพรอมและมีการบริหารจัดการท่ีดีแลว ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นจากวิกฤตน้ำมันในคร้ังน้ีจะไมรุนแรงจนทำใหเศรษฐกิจไทยตองหยุดชะงักไป

Page 53: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 51

1. บทนำ น้ำมัน วัตถุสีดำอันทรงคุณคาถูกนำมาใชประโยชนยาวนานกวา 3,000-4,000 ปมาแลว ตั้งแตสมัยอียิปตจนมาถึงชวง

ปลายศตวรรษท่ี 19 ไดมีการเจาะหาน้ำมันดิบเชิงพาณิชยเปนครั้งแรกในโลกท่ีเมืองทิทูสวิลล ประเทศสหรัฐอเมริกา ความตองการใชน้ำมันเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็วเพ่ือใชในภาคอุตสาหกรรม ทำใหราคาน้ำมันปรับตัวสูงข้ึนอยางตอเนื่องจนหลายฝายเปรียบเทียบน้ำมันดิบวาเปน “ทองคำสีดำ” มาจนถึงในป 2554 สถานการณทางการเมืองในกลุมประเทศตะวันออกกลางถือเปนประเด็นทางเศรษฐกิจที่ทั่วโลกกำลังจับตา เร่ิมตั้งแตการประทวงทางการเมืองในประเทศตูนิเซียและประเทศอียิปต ลุกลามมาจนถึงประเทศลิเบียผูผลิตและสงออกน้ำมันรายใหญของโลก โดยปญหาการจลาจลในลิเบียท่ียังรุนแรงตอเน่ืองไดสงผลใหราคาน้ำมันในตลาดโลกทะยานสูงขึ้นอยางรวดเร็ว ทำใหในชวงไตรมาสแรกของป 2554 ราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยอยูในระดับสูงท่ี 100.4 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ซึ่งหากเหตุการณประทวงดังกลาวเกิดขึ้นในประเทศผูผลิตน้ำมันรายสำคัญหลายแหงจนทำใหอุปทานน้ำมันหายไปจากระบบพรอมกันในปริมาณมาก ราคาน้ำมันอาจพุงข้ึนไปเหนือระดับที่เคยทำสถิติสูงสุดเปนประวัติการณเม่ือกลางป 2551 ซึ่งจะนำไปสูวิกฤตการณราคาน้ำมันข้ันรุนแรง (Oil Shock) เปนครั้งท่ี 5 หลังจากสงครามสหรัฐอเมริกาและอิรัก

ทั้งน้ี หากวิกฤตดังกลาวยังไมสิ้นสุดลงในระยะส้ันอาจสงผลกระทบตอเศรษฐกิจไทยในอนาคตได สศค.จึงไดทำ การวิเคราะหผลกระทบของวิกฤตดังกลาวสูเศรษฐกิจไทยเทียบกับสงครามที่ผานมาในอดีต รวมท้ังโครงสรางราคาน้ำมันในประเทศ พรอมทั้งประเมินความสามารถของกองทุนน้ำมันเช้ือเพลิงและประมาณการเม็ดเงินชดเชยในการพยุงราคาน้ำมันสำเร็จรูปภายในประเทศ โดยเฉพาะนโยบายการตรึงราคาน้ำมันดีเซลท่ีระดับ 30 บาทตอลิตร ซึ่งมีรายละเอียด ดงัน้ี

ภาพที่ 1 เหตุการณสงครามและราคาน้ำมันดิบดูไบในชวงป 2513 จนถึงปจจุบัน

ที่มา : OECD Factbook 2010 และรวบรวมโดย สศค.

(หนวย : ดอลลารสหรัฐตอบารเรล)

จากภาพท่ี 1 พบวานับตั้งแตป 2516 ถึงปจจุบันมีวิกฤตการณน้ำมันท่ีสำคัญเกิดข้ึนท้ังหมด 5 ครั้ง ซึ่งสามารถเห็นไดวา วิกฤตน้ำมันทุกคร้ังลวนมีชนวนเหตุที่สำคัญมาจากความขัดแยงของประเทศผูผลิตน้ำมันรายใหญในภูมิภาคตะวันออกกลาง อันนำไปสูการปรับลดปริมาณการผลิตลงอยางฉับพลัน สงผลใหราคาน้ำมันพุงสูงขึ้นมากในแตละชวงเวลา โดยสงครามในแตละคร้ังมีรายละเอียด ดังน้ี

1. สงคราม Yom Kippur War เร่ิมตนต้ังแตวันท่ี 6-25 ตุลาคม 2516 คิดเปนระยะเวลาท้ังหมด 19 วัน โดยมีสาเหตุมาจากขอพิพาทดินแดนระหวางอิสราเอลกับกลุมประเทศผูสงออกน้ำมัน (Organization of Petroleum Exporting Countries : OPEC) ที่ทำใหกลุมประเทศโอเปกตัดสินใจลดการผลิตและประกาศมาตรการหามสงออกน้ำมัน (Oil Embargo) ไปยังประเทศพันธมิตรของอิสราเอล ไดแก สหรัฐอเมริกาและเนเธอรแลนด สงผลใหราคาน้ำมันในตลาดโลกเพ่ิมสูงข้ึน 4.0 เทาตัวจาก 2.9 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ปรับตัวข้ึนไปทำจุดสูงสุดท่ีระดับราคา 11.6 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ในชวงสงคราม คิดเปนการปรับตัวเพ่ิมขึ้นรอยละ 300.0

Page 54: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 52

2. สงครามอิรัก-อิหราน เร่ิมตนต้ังแตวันท่ี 22 กันยายน 2523 ถึงวันท่ี 20 สิงหาคม 2531 คิดเปนระยะเวลาท้ังหมด 7 ป 10 เดือน 29 วัน โดยมีแรงหนุนมาจากการปฏิวัติเพ่ือโคนลมกษัตริยอิหราน ในป 2521 ตามมาดวยสงครามระหวางอิรักและอิหราน ในป 2523 ซึ่งสงผลกระทบตอปริมาณการผลิตน้ำมันในประเทศท้ังสอง จนทำใหอุปทานน้ำมันดิบหายไปจากตลาดโลกเปนจำนวนมาก สงผลใหราคาน้ำมันในตลาดโลกเพ่ิมขึ้น 2.8 เทาตัวจาก 13.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ในป 2521 ปรับตัวข้ึนไปทำจุดสูงสุดท่ีระดับราคา 35.9 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ในป 2523 คิดเปนการปรับตัวเพ่ิมขึ้นรอยละ 176.2

3. สงครามอิรัก-คูเวต หรือสงครามอาวเปอรเซียคร้ังท่ี 1 เกิดข้ึนในชวงปลายป 2533 ถึงตนป 2534 คิดเปนระยะเวลาทั้งหมด 6 เดือน 26 วัน ซึ่งเร่ิมตนจากการท่ีอิรักบุกโจมตีคูเวตในวันท่ี 2 สิงหาคม 2533 แตความขัดแยงสามารถยุติลงไดในระยะเวลาอันส้ัน ภายหลังจากท่ีสหรัฐอเมริกาและกลุมพันธมิตรไดปฏิบัติการขับไลอิรักออกจากคูเวตสำเร็จในวันท่ี 28 กุมภาพันธ 2534 อยางไรก็ตาม ปริมาณการผลิตน้ำมันในคูเวตไดปรับลดลงมาก จึงทำใหราคาน้ำมันปรับตัวสูงสุดถึง 34.3 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ในชวงท่ีเกิดสงคราม เพ่ิมขึ้น 1 เทาตัวเม่ือเปรียบเทียบกับระดับราคากอนเกิดวิกฤตอยูที่ 16.8 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล คิดเปนการปรับตัวเพ่ิมขึ้นรอยละ 104.2

4. สงครามอิรัก-สหรัฐอเมริกา หรือสงครามอาวเปอรเซียคร้ังท่ี 2 เกิดข้ึนในชวงตนป 2546 ถึงกลางป 2553 คิดเปนระยะเวลาท้ังหมด 8 ป 4 เดือน 30 วัน ยาวนานท่ีสุดในประวัติศาสตร โดยสงครามเร่ิมตนจากการท่ีสหรัฐอเมริกาและอังกฤษบุกโจมตีอิรักในวันท่ี 20 มีนาคม 2546 เน่ืองจากสหรัฐอเมริกาเช่ือวา ประเทศอิรักไดครอบครองอาวุธชีวภาพทำลายลาง ซึ่งจะสงผลใหอิรักคุกคามประเทศอ่ืนภายหลัง ประกอบกับไดรับแรงหนุนจากเหตุการณวินาศกรรมตึกแฝด “เวิลดเทรด เซ็นเตอร” เม่ือวันที่ 11 กันยายน 2544 และการสงกองกำลังไปไลลากลุมกอการรายในอัฟกานิสถาน ทำใหเกิดสงครามระหวางประเทศ สงครามดังกลาวสงบลงในวันท่ี 9 สิงหาคม 2549 โดยในชวงท่ีผานมา สงครามดังกลาวไดสงผลใหราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกเพ่ิมขึ้นอยางรุนแรงที่ระดับ 70.2 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ทำสถิติสูงท่ีสุดเปนประวัติการณ หรือเพ่ิมขึ้น 1.4 เทาตัวจาก 29.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล คิดเปนการปรับตัวเพ่ิมขึ้นรอยละ 142.1

5. สงครามในลิเบียและกลุมประเทศตะวันออกกลาง เร่ิมตนต้ังแตวันท่ี 15 กุมภาพันธ 2554 ถึงปจจุบัน2 คิดเปนระยะเวลาท้ังหมด 1 เดือน 24 วัน เหตุการณกอจลาจลในลิเบียมีจุดชนวนมาจากการลุกฮือตอตานรัฐบาลเผด็จการในประเทศตูนิเซียและประเทศอียิปต ซึ่งเปนจุดเร่ิมตนของการประทวงอำนาจรัฐภายใตการปกครองเผด็จการของผูนำลิเบีย หลังจากท่ีไดใชความรุนแรงตอกลุมผูประทวง ทำใหทั้งโลกมีความกังวลเก่ียวกับปริมาณการผลิตน้ำมันดิบที่ลดลง สงผลใหราคาน้ำมันดิบโลกเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็วจาก 96.6 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล ปรับตัวข้ึนไปทำจุดสูงสุดในรอบ 21 เดือน ที่ระดับ 111.8 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล คิดเปนการขยายตัวรอยละ 15.7 และมีแนวโนมที่จะเพ่ิมสูงขึ้นตอเน่ืองจากภาวะยืดเย้ือของสงครามในขณะน้ี

ภาพที่ 2 อัตราการขยายตัวของราคาน้ำมันดิบดูไบ เปรียบเทียบกอน-หลังเหตุการณสงครามในชวงป 2516 ถึงปจจุบัน

ที่มา : Reuters และรวบรวม/ประเมินผลโดย สศค. ณ วันท่ี 11 เมษายน 2554

2 วันท่ี 11 เมษายน 2554

Page 55: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 53

จากการเปรียบเทียบกับสงครามที่เกิดข้ึนในอดีตท้ัง 4 ครั้ง ดังที่กลาวมาจะเห็นวา สงครามที่เกิดในลิเบียและตะวันออกกลางในคร้ังนี้ยังไมมีความรุนแรงเทียบเทากับสงครามในคร้ังกอน ดังน้ัน ราคาน้ำมันดิบดูไบจึงปรับตัวข้ึนไมรุนแรงมากนัก อยางไรก็ดี หากสงครามแผขยายไปยังประเทศผูผลิตน้ำมันรายใหญอีกหลายประเทศ ก็มีความเปนไปไดที่ราคาน้ำมันจะปรับตัวเพ่ิมขึ้นรุนแรงจนทำสถิติสูงสุดใหมไดอีกคร้ัง

2. บทบาทของกองทุนน้ำมันและโครงสรางราคาน้ำมันในประเทศไทย การปรับตัวข้ึนของราคาน้ำมันดิบดูไบอยางรุนแรงในวิกฤตสงครามหลาย ๆ ครั้ง สงผลโดยตรงตอราคาน้ำมันขายปลีก

ณ สถานีบริการท่ีประชาชนตองจาย อยางไรก็ดี ภาครัฐไดออกแบบโครงสรางของราคาน้ำมันใหมีความยืดหยุนและไมผันผวนตอการแกวงตัวของราคาน้ำมันดิบโลกมากนัก และยังมีการใชกองทุนน้ำมันเช้ือเพลิงซึ่งเร่ิมจัดต้ังขึ้นในป 2516 เปนเคร่ืองมือของรัฐในการปองกันภาวะการขาดแคลนน้ำมันเช้ือเพลิง และใชในการรักษาระดับราคาขายปลีกน้ำมันเช้ือเพลิงของประเทศ โดยใชกองทุนน้ำมันจายชดเชยเม่ือราคาน้ำมันสูงขึ้น และเมื่อราคาน้ำมันลดลงจึงเก็บสวนท่ีชดเชยไปคืนกลับมา บริหารโดยคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงานและกรมสรรพสามิตเปนหลัก เพ่ือใหประชาชนสามารถปรับตัวและเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภคไดทัน โดยโครงสรางของราคาน้ำมันในประเทศไทยประกอบไปดวยรายการดังภาพท่ี 3

อยางไรก็ดี บทบาทของกองทุนน้ำมันสามารถเห็นไดชัดในชวงสงครามอาวเปอรเซียคร้ังท่ี 2 (วันท่ี 10 มกราคม 2547-วันท่ี 13 กรกฎาคม 2548) โดยรัฐบาลตรึงราคาน้ำมันดีเซลหมุนเร็วขายปลีกเฉล่ียท่ีระดับ 14.6 บาทตอลิตร จากระดับราคาน้ำมันดีเซลเฉลี่ยท่ีควรจะเปนท่ีระดับ 17.6 บาทตอลิตร หรือกลาวไดวากองทุนน้ำมันชดเชยเฉล่ียไป 3 บาทตอลิตร เพ่ือชวยบรรเทาวิกฤตราคาน้ำมันท่ีเกิดขึ้นในชวงน้ัน

ภาพที่ 3 โครงสรางราคาน้ำมันในประเทศไทย

ที่มา : สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน (EPPO) และรวบรวม/ประเมินผลโดย สศค.

Page 56: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 54

โครงสรางราคาขายปลีกน้ำมัน ณ สถานีบริการน้ำมันภายในประเทศไทย ประกอบดวย 1. คาตนทุนในการซ้ือน้ำมันจากโรงกล่ันหรือนำเขาจากตางประเทศ (Import Parity Price) คิดเปนสัดสวนเฉล่ีย

รอยละ 67.5 ของราคาขายปลีกน้ำมัน ณ สถานีบริการในป 2554 ประกอบดวย ราคาน้ำมันตลาดจรที่สิงคโปร (FOB) คาประกันขนสงน้ำมันทางเรือ คาความเสียหาย (Loss) คาขนสง (Freight) คาจัดเก็บน้ำมัน (Handling Cost) และภาษีศุลกากรนำเขาน้ำมัน (Import Duty)

2. เงินภาษีที่รัฐเรียกเก็บจากผูคาน้ำมัน ไดแก ภาษีสรรพสามิต (ประมาณ 6.30 บาทตอลิตร สำหรับน้ำมันเบนซิน 5.31 บาทตอลิตร สำหรับน้ำมันดีเซล) ภาษีเทศบาล (รอยละ 10 ของภาษีสรรพสามิต) ภาษีมูลคาเพ่ิม (รอยละ 7 ของราคาขายปลีกน้ำมัน) คิดเปนสัดสวนเฉล่ียรอยละ 22.2 ในป 2554

3. กองทุนท่ีรัฐเรียกเก็บจากผูคาน้ำมัน ไดแก กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง และกองทุนเพ่ือสงเสริมการอนุรักษพลังงาน (0.25 บาทตอลิตร) โดยรวมแลวคิดเปนสัดสวนเฉล่ียรอยละ 7.8 ในป 2554

4. คาการตลาด (Marketing Margin) ประกอบดวยคาใชจายในการดำเนินธุรกิจของผูประกอบการ เชน คาจางแรงงาน คาขนสงการโรงกล่ันน้ำมัน คาสารปรับปรุงคุณภาพ (Additive) คาสงเสริมการตลาด และคาผลตอบแทนใน การดำเนินธุรกิจ โดยรวมแลวคิดเปนสัดสวนเฉล่ียรอยละ 2.5 ในป 2554

ความสัมพันธระหวางราคาน้ำมันดิบดูไบกับราคาน้ำมันสำเร็จรูปภายในประเทศ (สมการความยืดหยุน) สมการความยืดหยุนของราคาน้ำมันสำเร็จรูปแตละประเภทสามารถนำมาคาดการณราคาน้ำมันขายปลีกในอนาคตได

เพ่ือนำมาใชในการวางนโยบายของรัฐบาลในการกำหนดเงินชดเชย และจัดสรรเงินทุนสำหรับกองทุนน้ำมันเช้ือเพลิง เพ่ือ รองรับผลกระทบจากวิกฤตการณราคาน้ำมันท่ีอาจเกิดขึ้นในอนาคต ในการหาความสัมพันธระหวางราคาน้ำมันดิบดูไบกับ ราคาน้ำมันสำเร็จรูปภายในประเทศน้ัน มีสมมติฐานคือ หากน้ำมันดิบโลก (ดูไบ) สูงขึ้น ราคาน้ำมันขายปลีกภายในประเทศยอมปรับตัวสูงขึ้นตามไปดวย เน่ืองจากคาตนทุนในการนำเขาน้ำมันจากตางประเทศเพ่ิมสูงขึ้น โดยน้ำมันสำเร็จรูปที่จะพิจารณาประกอบไปดวย น้ำมันเบนซินออกเทน 95 (ULG95) น้ำมันเบนซินออกเทน 91 (ULG91) น้ำมันแกสโซฮอล 95 E10 (GASOHOL 95 E10) น้ำมันแกสโซฮอล 95 E20 (GASOHOL 95 E20) น้ำมันแกสโซฮอล 95 E85 (GASOHOL 95 E85) น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว (H-DIESEL (0.035%S)) และน้ำมันไบโอดีเซล (BIODIESEL (B5)) ซึ่งมีรายละเอียด ดังน้ี

ภาพที่ 4 คาความยืดหยุน (Elasticity) ของราคาน้ำมันสำเร็จรูปภายในประเทศตาง ๆ*

ที่มา : Reuters สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน (EPPO) และคำนวณโดย สศค. * ใชเทคนิค Ordinary Least Squares (OLS)

Page 57: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 55

จากการวิเคราะหพบวา ราคาน้ำมันดิบดูไบและราคาน้ำมันสำเร็จรูปภายในประเทศมีความสัมพันธกันในเชิงบวก คือจะปรับตัวไปในทิศทางเดียวกันอยางมีนัยสำคัญท่ีระดับความเชื่อมั่นรอยละ 95 ทั้งนี้ คาความยืดหยุนท่ีนอยกวา 1.0 นั้นบงชี้วา ราคาน้ำมันสำเร็จรูปของประเทศไทยมีความยืดหยุนนอย (Inelastic) ซึ่งมีสาเหตุจากนโยบายพยุงราคาน้ำมันของรัฐบาล ทั้งน้ี หากเปรียบเทียบระหวางน้ำมันสำเร็จรูปแตละประเภทพบวา น้ำมันสำเร็จรูปเบนซิน 95 มีความยืดหยุนหรือออนไหวกับราคาน้ำมันดิบดูไบมากที่สุดที่รอยละ 0.653 กลาวคือ หากราคาน้ำมันดิบดูไบเพิ่มขึ้นรอยละ 1 ราคาน้ำมันเบนซิน 95 จะ เพ่ิมขึ้นรอยละ 0.653 สวนน้ำมันชนิดอื่น ๆ มีความยืดหยุนอยูในชวง 0.3-0.6 ดังแสดงในภาพท่ี 4

ความยืดหยุนของน้ำมันสำเร็จรูปที่นอยกวา 1.0 สะทอนบทบาทที่สำคัญของกองทุนน้ำมันและมาตรการภาษีของรัฐ กลาวคือ กองทุนน้ำมันและมาตรการภาษีมีสวนชวยลดความผันผวนของราคาน้ำมันภายในประเทศไมใหเคล่ือนไหวรุนแรงเหมือนราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก ซึ่งจะชวยใหประชาชนสามารถปรับตัวและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคไดทัน ทำใหการบริโภคภาคเอกชนไมปรับตัวลดลง ซึ่งจะสงผลตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศได

3. มาตรการพยุงราคาน้ำมันของรัฐบาลถึงแมวาราคาน้ำมันสำเร็จรูปภายในประเทศจะเพ่ิมขึ้นอยางรุนแรงจากราคาน้ำมันดิบดูไบท่ีเพ่ิมสูงขึ้นอยางตอเน่ือง

แตผลกระทบที่เกิดขึ้นอาจไดรับการบรรเทาลงจากมาตรการตรึงราคาน้ำมันดีเซลของรัฐบาลไวที่ 30 บาทตอลิตร อยางไรก็ดี หากราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกยังคงเรงสูงขึ้นตอเน่ือง กองทุนน้ำมันเช้ือเพลิงอาจประสบปญหาในการพยุงราคาน้ำมันไปจนถึงสิ้นป 2554 โดย ณ วันท่ี 8 เมษายน 2554 สถานะกองทุนน้ำมันฯ อยูที่ 11,206.0 ลานบาท มีกระแสเงินไหลออกสุทธิ 375.8 ลานบาทตอวัน เพ่ือตรึงราคาน้ำมันดีเซลไวที่ 30 บาทตอลิตร ซึ่งหากไมมีการเปล่ียนแปลงใด ๆ กองทุนน้ำมันจะสามารถตรึงราคาน้ำมันดีเซลไดอีกเพียง 30 วัน เงินกองทุนก็จะหมดลง ซึ่ง สศค.ไดประมาณการวงเงินท่ีรัฐบาลจะตองใชในการชดเชยเพ่ือใหราคาน้ำมันดีเซลอยูที่ 30 บาทตอลิตร ถึงสิ้นป 2554 เพ่ือปองกันสถานะกองทุนน้ำมันติดลบ โดยมีสมมติฐานอื่น ๆ ประกอบการประมาณการไดผลลัพธดังตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 สมมติฐานท่ีใชประกอบในการประมาณการวงเงินสำหรับชดเชยราคาน้ำมันดีเซลของกองทุนน้ำมัน

ที่มา : สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน (EPPO) และจากการคำนวณโดย สศค.

การประมาณการวงเงินชดเชยโดยอาศัยสมการความสัมพันธระหวางราคาน้ำมันสำเร็จรูปภายในประเทศและราคาน้ำมันดิบดูไบ พบวา หากรัฐบาลดำเนินนโยบายตรึงราคาน้ำมันดีเซลไวที่ 30 บาทตอลิตร ตั้งแตเดือนเมษายนถึงสิ้นป 2554 จะตองเตรียมเงินเพ่ือชดเชยจากกองทุนน้ำมันเปนจำนวนท่ี 31,231.3 ลานบาท ในกรณีฐาน (สมมติฐานราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยในป 2554 อยูที่ 95.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) สวนในกรณีราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยอยูที่ 110.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล จะตองเตรียมเงินชดเชยจำนวน 85,459.5 ลานบาท และถาราคาน้ำมันดิบปรับตัวข้ึนไปสูงมากโดยเฉลี่ยในป 2554

อยูที่ 120.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล จะตองเตรียมเงินชดเชยจำนวน 123,068.5 ลานบาท

Page 58: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 56

ภาพท่ี 5 ประมาณการวงเงินสำหรับชดเชยราคาน้ำมันดีเซลของกองทุนน้ำมันฯ ในป 2554 ในกรณีตางๆ

ที่มา : คำนวณโดย สศค.

(หนวย : ลานบาท)

ภาพท่ี 6 วงเงินชดเชยน้ำมันแกสโซฮอลและไบโอดีเซล (B5) จากกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงในป 2554

ที่มา : คำนวณโดย สศค.

(หนวย : ลานบาท)

Page 59: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 57

ทั้งน้ี ณ วันท่ี 7 เมษายน 2554 สถานการณราคาน้ำมันในตลาดโลกท่ียังคงสูงข้ึน ประกอบกับสถานะกองทุนน้ำมันท่ีใกลจะหมดลง โดยกองทุนน้ำมันไดชดเชยไปแลว 14 ครั้ง เปนเงิน 19,350 ลานบาท ทำใหเมื่อวันท่ี 21 เมษายน 2554 รัฐบาลไดมีการออกมาตรการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซลเปนระยะเวลา 5 เดือน ตั้งแตเดือนเมษายนถึงวันท่ี 30 กันยายน 2554 เพ่ือตรึงราคาน้ำมันดีเซลไมใหเกิน 30 บาทตอลิตร โดยลดอัตราภาษีน้ำมันดีเซลท่ีมีปริมาณกำมะถันไมเกินรอยละ 0.035 (ดีเซล B2) จากอัตราภาษี 5.310 บาทตอลิตร ลงเหลืออัตราภาษี 0.005 บาทตอลิตร และลดอัตราภาษี ไบโอดีเซล (B5) จากอัตราภาษี 5.040 บาทตอลิตร ลงเหลืออัตราภาษี 0.005 บาทตอลิตร ซึ่งจะทำใหมีเงินไหลออกจากกองทุนน้ำมันลดลงจาก 375.8 ลานบาทตอวัน เหลือประมาณ 300 ลานบาทตอวัน หรือกลาวไดวาลดการไหลออกของกองทุนเปนเงินจำนวนประมาณ 76 ลานบาทตอวัน ทำใหประชาชนและผูประกอบการสามารถบริโภคน้ำมันไดอยางเปนปกติจนถึง สิ้นป 2554

ดังนั้น จึงสรุปไดวา ความเสี่ยงจากวิกฤตการณราคาน้ำมันในป 2554 เนื่องจากสงครามความไมสงบทาง

การเมืองในลิเบียและกลุมตะวันออกกลางอาจทำใหราคาน้ำมันดิบยังคงอยูในระดับสูงตลอดป 2554 ซึ่งถาตองตรึงราคาน้ำมันดีเซลไวท่ีระดับ 30 บาทตอลิตร ตลอดถึงสิ้นป 2554 กองทุนน้ำมันควรท่ีจะตองเตรียมเม็ดเงินไวจำนวน 31,231.3 ถึง 123,068.5 ลานบาท ในการบริหารจัดการกองทุนน้ำมัน ซึ่งถาทุกฝายมีความพรอมและมีการบริหารจัดการที่ดีแลว ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นจากวิกฤตน้ำมันในครั้งน้ีจะไมรุนแรงจนทำใหเศรษฐกิจไทยตองหยุดชะงักไป

Page 60: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 58

บทวิเคราะห บทวิเคราะห เรื่อง พันธบัตรรัฐบาล : ภาระหนักของรัฐบาลญี่ปุนเรื่อง พันธบัตรรัฐบาล : ภาระหนักของรัฐบาลญี่ปุน1

1 ผูเขียน : นางสาวจรสพร เฉลิมเตียรณ สวนการวิเคราะหเสถียรภาพเศรษฐกิจ สำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ คุณบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ ผูอำนวยการสำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค และ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร ผูอำนวยการสวนการวิเคราะหเสถียรภาพเศรษฐกิจ สำหรับคำแนะนำ

บทสรุปผูบริหาร ➤ บริษัทจัดอันดับความนาเชื่อถือปรับลดอันดับพันธบัตรรัฐบาลญี่ปุน (ในชวงเดือน มกราคม-กุมภาพันธ 2554) เนื่องจากการขาดดุลงบประมาณในระดับสูงท่ีมีแนวโนมวาจะเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ สงผลใหสัดสวนหน้ีสาธารณะตอจีดีพีเพิ่มขึ้นอยางตอเน่ืองเชนกัน ท้ังนี้ เปนท่ีคาดกันวาเหตุการณแผนดินไหวในประเทศญี่ปุนจะทำใหหน้ีสาธารณะเพิ่มสูงขึ้นอีก

➤ สศค.วิเคราะหวา ญี่ปุนยังคงตองออกพันธบัตรเพื่อชดเชยการขาดดุลการคลัง ตอเนื่องตอไปเพื่อชวยกระตุนเศรษฐกิจ ซึ่งการออกพันธบัตรดังกลาวไมนาจะมีผลกระทบตอเศรษฐกิจญี่ปุนในระยะสั้น อยางไรก็ตาม ความทาทายดานโครงสรางสังคมท่ีเปลี่ยนเปนสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) ทำใหรัฐบาลมีภาระเพิ่มขึ้น สงผลตอการดำเนินนโยบายการคลังในระยะยาว ➤ ท้ังน้ี สศค .เห็นวา เนื่องจากนักลงทุนหลักท่ีลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลของญี่ปุนเปน นักลงทุนภายในประเทศ การจายดอกเบี้ยและการจายคืนเงินตนทำในรูปเงินเยนโดยไมมีความจำเปนท่ีจะตองแลกเปล่ียนเปนเงินตราตางประเทศ ดังนั้น การเพ่ิมข้ึนของปริมาณพันธบัตรรัฐบาลจึงไมนาจะมี ผลกระทบตอคาเงินเยน หรือมีผลกระทบเพียงเล็กนอยเทานั้น ➤ อยางไรก็ตาม รัฐบาลตองจัดสรรงบประมาณสวนหน่ึงไวเพื่อจายดอกเบี้ยและคืนเงินตน ท่ีครบกำหนดชำระ เงินงบประมาณดังกลาวจะไดมาจากการเก็บภาษี ซึ่งถาไมเพียงพอก็จำเปนตองออกพันธบัตรรัฐบาลเพิ่มขึ้นเพ่ือชดเชยอีก หากรัฐไมตองการสรางภาระหน้ีในอนาคตเพ่ิมเติม อีกแนวทางหน่ึงที่อาจทำไดคือการขึ้นอัตราภาษี ➤ นอกจากน้ี ในระยะยาวการออกพันธบัตรเพื่อชดเชยดุลงบประมาณจะเกิดจากการที่ รัฐตองรับภาระผูสูงอายุ (Aging Society) และการใหสวัสดิการอ่ืน ๆ ซึ่งอาจจะไมกอใหเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซึ่งหากโครงสรางทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงเชนน้ันแลว การกอหน้ีเพิ่มขึ้นของรัฐบาลจะสงผลกระทบตอเสถียรภาพทางเศรษฐกิจได

1. บทนำ บริษัท Standard & Poor’s (S&P) ซึ่งเปนบริษัทจัดอันดับความนาเช่ือถือของการลงทุนระดับโลก ไดปรับลดอันดับ

ความนาเช่ือถือของการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลญี่ปุนลงจากระดับ AA มาอยูที่ระดับ AA- เมื่อวันท่ี 27 มกราคม 2554 โดยให

เหตุผลวารัฐบาลญี่ปุนยังขาดกลยุทธที่ชัดเจนในการจัดการกับระดับหน้ีสาธารณะท่ีสูงและมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นอยางตอเน่ือง หลังจากน้ัน Moody’s Investors Service ไดประกาศลดประมาณการความนาเช่ือถือ (Outlook) ของพันธบัตรรัฐบาลญี่ปุนท่ีอยูในอันดับ Aa2 ลงจากท่ีระดับ Stable ลงมาอยูที่ระดับ Negative เม่ือวันท่ี 22 กุมภาพันธ 2554 ซึ่งเปนการลดอันดับครั้ง

แรกในรอบ 8 ป 9 เดือน เน่ืองจากไมสามารถปรับปรุงฐานะดานการคลังไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนท่ีนาสนใจวาญ่ีปุนมีปริมาณการออกพันธบัตรรัฐบาลซึ่งเปนสวนหน่ึงของหนี้สาธารณะท่ีเพ่ิมขึ้นมากอยางตอเน่ือง และเปนปญหาท่ีสะสมมานาน

หลายทศวรรษ ซึ่งหากเหตุการณเดียวกันเกิดขึ้นในประเทศอ่ืน ประเทศน้ันอาจถึงกับลมละลายเน่ืองจากไมสามารถชดใชหน้ีที่เกิดข้ึนได ดังน้ัน จึงเปนคำถามท่ีนาสนใจวาเพราะเหตุใดญ่ีปุนจึงสามารถรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศไวได ทั้ง ๆ ที่มีการกอหนี้สาธารณะมาเปนระยะเวลายาวนาน ทั้งน้ี เปนท่ีคาดกันวาเหตุการณแผนดินไหวในญี่ปุนเมื่อวันที่ 11

มีนาคม 2554 นาจะทำใหหน้ีสาธารณะสูงข้ึน และรัฐบาลญ่ีปุนมีความจำเปนตองออกพันธบัตรรัฐบาลเพ่ิมขึ้นไปอีก

Page 61: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 59

ภาพที่ 1 รายได-รายจายและปริมาณการออกพันธบัตรรัฐบาลญี่ปุน

ที่มา : กระทรวงการคลังญ่ีปุน

บทความน้ีวิเคราะหขอเท็จจริงท่ีเกิดข้ึนเก่ียวกับการออกพันธบัตรรัฐบาลของญ่ีปุน ผลกระทบท่ีมีตอเศรษฐกิจภายในประเทศจากแนวโนมหนี้สาธารณะท่ีเพ่ิมขึ้น รวมทั้งผลกระทบท่ีจะมีตอเศรษฐกิจไทย โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

2. ขอเท็จจริง• หลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 รัฐบาลญี่ปุนมีความจำเปนท่ีจะตองใชเงินเปนจำนวนมากในการฟนฟูประเทศ

โดยรัฐบาลญี่ปุนไดดำเนินนโยบายการคลังแบบขาดดุลอยางมหาศาลและตอเน่ือง โดยในป 2553 ดุลการคลังของญี่ปุนขาดดุลกวา 54.9 ลานลานเยน เพ่ิมขึ้น 4.7 เทาของการขาดดุลในป 2529

• รัฐบาลญี่ปุนจำเปนตองออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อชดเชยการขาดดุล โดยรัฐบาลญ่ีปุนไดออกพันธบัตรรัฐบาลกวา 44.9 ลานลานเยน ในป 2553 เพ่ิมขึ้นจากป 2529 กวา 3.9 เทา (ภาพท่ี 1)

• สงผลใหสัดสวนยอดคงคางพันธบัตรรัฐบาลมีมูลคา 1.34 เทาตอจีดีพี ในป 2553 เพ่ิมขึ้นจากรอยละ 42.4 ในป 2529

• นอกจากน้ีเมื่อพิจารณาอัตราการพ่ึงพาพันธบัตรเพ่ือชดเชยการขาดดุลงบประมาณ (Bond Dependency Ratio) ซึ่งคำนวณจากสัดสวนของการออกพันธบัตรตอรายจายรวมของรัฐบาลพบวา รัฐบาลญ่ีปุนพ่ึงพาการออกพันธบัตรในอัตราสวนท่ีเพ่ิมสูงข้ึนเร่ือย ๆ โดยเพ่ิมขึ้นจากรอยละ 28 ในป 2529 เปนรอยละ 48 ในป 2553 ทั้งน้ี กระทรวงการคลังญ่ีปุนไดประมาณการไววาการชำระคืนหน้ีที่รัฐจะตองจายจากการออกพันธบัตรรัฐบาลจนถึงป 2592 (ค.ศ. 2049) วาจะมีจำนวนท้ังสิ้น 637 ลานลานเยน (ตารางท่ี 1)

Page 62: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 60

ทั้งน้ี ผูถือครองพันธบัตรรัฐบาลญี่ปุนสวนใหญเปนนักลงทุนภายในประเทศ โดยรายงาน Debt Management Report 2010 ที่ออกโดยกระทรวงการคลังของญ่ีปุน พบวา ณ สิ้นป 2552 นักลงทุนในประเทศมีสัดสวนการถือครองพันธบัตรรัฐบาลเกือบรอยละ 95 ของมูลคาพันธบัตรรัฐบาลรวม แบงเปน ธนาคารพาณิชยถือครองรอยละ 43.1 รองลงมาคือ กลุมประกันภัย รอยละ 20 และกองทุนบำเหน็จบำนาญ รอยละ 11.6 ขณะท่ีนักลงทุนตางชาติถือครองพันธบัตรเพียงรอยละ 5.2

ตารางที่ 1 โครงสรางการชำระคืนหน้ีจากการออกพันธบัตรรัฐบาล

ที่มา : กระทรวงการคลังญ่ีปุน

ภาพที่ 2 สัดสวนการถือครองพันธบัตร

3. ผลกระทบตอเศรษฐกิจญี่ปุนจากการกอหน้ีเพ่ิมเติมของรัฐบาล ปริมาณการออกพันธบัตรรัฐบาลท่ีสูงอยางตอเน่ือง รวมท้ังภาระหน้ีผูกพันท่ีเพ่ิมสูงข้ึนมาก ทำใหมีการต้ังขอสังเกตวา

ญ่ีปุนจะประสบปญหาแบบเดียวกับปญหาหน้ีสาธารณะท่ีเกิดขึ้นในหลายประเทศในทวีปยุโรปหรือไม และจะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจภายในของญ่ีปุนอยางไร

สศค.วิเคราะหวา ญี่ปุนยังคงตองออกพันธบัตรเพื่อชดเชยการขาดดุลการคลังตอเนื่องตอไปเพื่อชวยกระตุนเศรษฐกิจ ซึ่งการออกพันธบัตรดังกลาวไมนาจะมีผลกระทบตอเศรษฐกิจญ่ีปุนในระยะส้ัน อยางไรก็ตาม ความทาทายดานโครงสรางสังคมท่ีเปลี่ยนเปนสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) ทำใหรัฐบาลมีภาระเพิ่มขึ้น สงผลตอการดำเนินนโยบายการคลังในระยะยาว ดังน้ี

Page 63: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 61

• ผลกระทบตอเศรษฐกิจมหภาค ภาครัฐมีบทบาทในการกระตุนการฟนตัวของเศรษฐกิจ ทำใหตองมีการดำเนินนโยบายการคลังแบบขาดดุลอยาง

ตอเน่ือง โดยในปงบประมาณ 2553 การออกพันธบัตรรัฐบาลมีมูลคาประมาณรอยละ 30.3 ของจีดีพี สูงกวาสัดสวนการออกพันธบัตรตอจีดีพีในประเทศอ่ืน ๆ เชน สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และเยอรมนี ซึ่งอยูในระดับรอยละ 11.2 รอยละ 14.6 และรอยละ 16.4 ของจีดีพี ตามลำดับ ขณะเดียวกันเจาหน้ีหลักของรัฐบาลเปนนักลงทุนภายในประเทศ ดังน้ัน เม็ดเงินท้ังท่ีเปนดอกเบ้ียและเงินตนสวนใหญยังคงหมุนเวียนอยูในระบบเศรษฐกิจของประเทศญ่ีปุน

อยางไรก็ตาม ในระยะยาวภาระท่ีเพ่ิมขึ้นตามจำนวนผูสูงอายุที่มีมากขึ้น และการใหสวัสดิการอื่น ๆ จะทำใหรัฐตองใชจายงบประมาณในดานน้ีเพ่ิมขึ้น และจะทำใหเงินท่ีไดจากการออกพันธบัตรเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณอาจจะไมกอใหเกิดการกระตุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซึ่งหากโครงสรางทางสังคมและประชากรมีการเปล่ียนแปลงเชนน้ันแลว การกอหนี้เพ่ิมขึ้นของรัฐบาลจะสงผลกระทบตอเสถียรภาพทางเศรษฐกิจได

นอกจากน้ี ปริมาณการออกพันธบัตรรัฐบาลซึ่งเปนสวนหน่ึงของหน้ีสาธารณะท่ีมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นจนทำใหอันดับความนาเช่ือถือลดลง จะสงผลตอความเช่ือมั่นของนักลงทุนและทำใหอัตราผลตอบแทนของพันธบัตรเพ่ิมสูงข้ึน ซึ่งจะเปนภาระท่ีเพ่ิมขึ้นของรัฐบาลเน่ืองจากมีแนวโนมที่ตนทุนการกูยืมของรัฐบาลญี่ปุนจะเพ่ิมสูงขึ้นในอนาคต

• ผลกระทบตอคาเงินเยน ในกรณีของปญหาหน้ีสาธารณะในยุโรปที่สงผลกระทบใหคาเงินยูโรออนคาลงน้ัน เน่ืองจากประเด็นการขาด

ความสามารถในการชำระหนี้ใหแกนักลงทุน ซึ่งในจำนวนนี้เปนนักลงทุนตางชาติประมาณรอยละ 50 ทำใหนักลงทุนตางชาติเหลาน้ันขาดความเช่ือมั่น และพรอมที่จะถอนการลงทุนซึ่งจะกระทบตอเศรษฐกิจในภาพรวมในทันที ซึ่งประเด็นดังกลาว แตกตางจากสถานการณท่ีเกิดข้ึนในญ่ีปุน เน่ืองจากนักลงทุนหลักท่ีลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลของญ่ีปุนเปนนักลงทุนภายในประเทศ การจายดอกเบ้ียและการจายคืนเงินตนทำในรูปเงินเยนโดยไมมีความจำเปนที่จะตองแลกเปลี่ยนเปนเงินตรา ตางประเทศ ดังนั้น การเพ่ิมขึ้นของปริมาณพันธบัตรรัฐบาลจึงอาจสงผลกระทบตอคาเงินเยนไมมากนักเม่ือเทียบกับประเทศอื่น อยางไรก็ตาม การท่ีบริษัทจัดอันดับความนาเช่ือถือที่สำคัญของโลกไดปรับลดอันดับความนาเช่ือถือของญี่ปุนลงน้ัน กลับสงผลกระทบตอคาเงินเยนโดยตรง โดยทำใหคาเงินเยนออนคาลงหลังจากที่แข็งคามาอยางตอเน่ืองตั้งแตปที่แลว

• ผลกระทบตอนโยบายการคลัง การออกพันธบัตรรัฐบาลเพ่ิมขึ้นทำใหรัฐมีภาระหน้ีที่ผูกพันในอนาคตเพ่ิมข้ึน ดังท่ีกลาวมาแลวขางตนรัฐบาลตอง

จัดสรรงบประมาณสวนหน่ึงไวเพ่ือจายดอกเบ้ียและคืนเงินตนท่ีครบกำหนดชำระ โดยเงินงบประมาณดังกลาวจะไดมาจาก การเก็บภาษี ซึ่งถาไมเพียงพอก็จำเปนตองออกพันธบัตรรัฐบาลเพ่ิมขึ้นเพ่ือชดเชยอีก ภายใตสถานการณที่รัฐบาลญ่ีปุนไมสามารถลดงบประมาณรายจายลงได หากรัฐไมตองการสรางภาระหน้ีในอนาคตเพ่ิมเติม แนวทางหน่ึงท่ีอาจทำไดคือการขึ้นอัตราภาษี ปจจุบันมีความพยายามในการข้ึนภาษีมูลคาเพ่ิมจากรอยละ 5 เปนรอยละ 10 ซึ่งเปนความพยายามท่ีมมีาเปนเวลานานแลว ดังน้ัน หากรัฐบาลญ่ีปุนตัดสินใจที่จะชะลอการกอหน้ีเพ่ิมเติม หรืออีกนัยหน่ึงคือการออกพันธบัตรรัฐบาล ก็จะมีความจำเปนท่ีตองจัดเก็บรายไดใหไดมากข้ึนดวยการข้ึนอัตราภาษีก็เปนได โดยการชดเชยการขาดดุลงบประมาณดวย การออกพันธบัตรจะเปนผลดีตอเศรษฐกิจมากกวา เน่ืองจากการข้ึนอัตราภาษีนั้นจะทำใหตนทุนของภาคเอกชนเพ่ิมขึ้น สงผลใหภาคเอกชนเองก็จะชะลอการลงทุนไปดวย

4. บทสรุป

การเพ่ิมขึ้นของหน้ีสาธารณะโดยเฉพาะอยางย่ิงพันธบัตรรัฐบาลของญ่ีปุนน้ัน จะสงผลตอเศรษฐกิจตางกันตามสาเหตุ

ของการกอหนี้ กลาวคือ หากเปนหน้ีที่เพ่ิมขึ้นเพ่ือบรรเทาผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ อาทิ เหตุการณแผนดินไหว จะเปนอุปสงคท่ีจะกอหนี้ในระยะส้ันเพ่ือกระตุนเศรษฐกิจ ซึ่งเมื่อเศรษฐกิจฟนตัวแลวก็จะสามารถไถถอนพันธบัตรเหลาน้ีได แตถาสาเหตุของการกอหน้ีเปนปญหาระยะยาว อาทิ ปญหาสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) ก็จะเปนปญหาสะสมท่ีจะกระทบเสถียรภาพทางเศรษฐกิจในที่สุด นอกจากน้ี หากโครงสรางนักลงทุนท่ีเขามาถือพันธบัตรเปลี่ยนแปลงจากนักลงทุนในประเทศเปนนักลงทุนตางประเทศแลว อาจจะกอใหเกิดปญหาเชนเดียวกับที่เกิดข้ึนแลวในหลายประเทศในยุโรป

อนึ่ง ญ่ีปุนเปนประเทศคูคาท่ีสำคัญของไทย ทั้งในฐานะท่ีเปนตลาดสงออกท่ีสำคัญ โดยในป 2553 มูลคาการสงออกของไทยไปญี่ปุนมากเปนอันดับ 2 รองจากจีน คิดเปนรอยละ 10.5 ของการสงออกรวม และไทยมีการนำเขาสินคาจากญ่ีปุนมากท่ีสุด คิดเปนรอยละ 20.8 ของการนำเขารวม นอกจากน้ี ญ่ีปุนเปนนักลงทุนอันดับตน ๆ ของไทยดวย ทำให การเปล่ียนแปลงใด ๆ ก็ตามท่ีมีผลตอคาเงินเยนและการขยายตัวของเศรษฐกิจญี่ปุน ยอมจะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจไทยอยางหลีกเล่ียงไมได

Page 64: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 62

บทวิเคราะห บทวิเคราะห เรื่อง สรุปโครงการแกปญหาหนี้นอกระบบเรื่อง สรุปโครงการแกปญหาหนี้นอกระบบ1

บทสรุปผูบริหารหน้ีสินภาคประชาชนถือวาเปนเคร่ืองชี้ภาวะความอยูดีกินดีของประชาชนในประเทศ และ

ความม่ันคงทางเศรษฐกิจตลอดจนเสถียรภาพเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม ผลการเจรจาปรับโครงสรางหน้ีนอกระบบโดยการใหความรวมมือของหนวยงานท่ีเกี่ยวของ จากขอมูลลาสุด ณ วันท่ี 9 มีนาคม 2554 พบวา ในป 2553 หลังจากการเปดรับลงทะเบียนลูกหน้ีรอบแรก จำนวนลูกหน้ีนอกระบบท่ีมาลงทะเบียนมีจำนวน 1,274,320 ราย หรือคิดเปนรอยละ 1.8 ของประชากรรวมทั้งประเทศในป 2553

ท้ังน้ี หลังจากการดำเนินการเจรจาประนอมหน้ีและโอนหน้ีเขาในระบบ มีจำนวนผูไดรับ การอนุมัติเงินกูจำนวน 415,966 คน หรือคิดเปนรอยละ 32.6 ของจำนวนลูกหน้ีท่ีลงทะเบียนท้ังหมด โดยคิดเปนมูลคาเงินท่ีใหกูมีจำนวน 39.6 พันลานบาท

จากการวิเคราะหขอมูลพบวา ปญหาหน้ีนอกระบบเกิดจากการท่ีรายไดนอยและรายจาย มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น ลูกหน้ีนอกระบบสวนใหญเปนลูกหน้ีท่ีมีระดับการศึกษาต่ำกวาระดับประถมศึกษาปท่ี 6 สวนใหญประกอบอาชีพรับจางท่ัวไปที่มีรายไดตอเดือนไมแนนอน สวนเกษตรกรมีความเปนไปไดสูงใน การเปนหน้ีในระบบ

ภาครัฐควรมีมาตรการท้ังระยะสั้นและระยะยาว โดยมาตรการระยะส้ัน ไดแก 1) นำลูกหน้ีนอกระบบท่ีมีปญหาการชำระหน้ีและถูกทวงหน้ีอยางไมเปนธรรมเขาสูระบบ โดยจำเปนตองใหความรูใน การบริหารจัดการดานการเงิน 2) มีท่ีปรึกษาดานการเงิน เชน โครงการหมอหน้ี เพื่อใหความรูแกประชาชนเกี่ยวกับการใชจายเงินและการเขาสูระบบธนาคาร 3) ผอนคลายกฎระเบียบการปลอยสินเชื่อเพื่อใหประชาชนผูมีรายไดนอยสามารถกูเงินในระบบไดงายขึ้น และ 4) เพิ่มบทบาทของกองทุนหมูบานเพื่อใหมีการเสริมสภาพคลองดานการเงินแกสมาชิก เชน การใหกูเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการใชจายอ่ืน ๆ ท่ีจำเปน

มาตรการระยะยาว ไดแก 1) จัดทำโครงการนำรองเพื่อใหทราบถึงปญหาเชิงพื้นท่ีและ เปนแบบอยางของการแกปญหาในระยะยาว 2) จัดตั้งคณะกรรมการแกปญหาหน้ีสินแหงชาติท่ีจะตอง ประกอบดวยหนวยงานราชการและภาคเอกชน เพื่อใหการดำเนินนโยบายแกปญหาหนี้สินเปนไปอยาง ตอเน่ือง 3) แกปญหาหน้ีนอกระบบอยางครบวงจร โดยการจัดทำโครงการจัดหางานในพื้นท่ี การฝกอบรม และการใหสินเชื่อ โดยจำเปนตองติดตามประเมินผลดวยหนวยงานท่ีรับผิดชอบ

1 ผูเขียน : ดร.จงกล คำไล เศรษฐกรปฏิบัติการ สำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ ดร.กุลกัลยา พระยาราช คุณธนิต ภัทรแสงไทย คุณคงขวัญ ศิลา และคุณกาญจนา จันทรชิต สำหรับขอมูล และขอขอบคุณ ดร.ศรพล ตุลยเสถียร ดร.กุลยา ตันติเตมิท และนายพงษเทพ ถิฐาพันธ สำหรับคำแนะนำ

1. บทนำ หน้ีสินภาคประชาชนถือวาเปนเคร่ืองชี้ภาวะความอยูดีกินดีของประชาชนในประเทศ และความมั่นคงทางเศรษฐกิจ

ตลอดจนเสถียรภาพเศรษฐกิจและสังคมโดยรวม จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแหงชาติ พบวา ครัวเรือนท่ีเปนหน้ีสินในป 2552 คิดเปนรอยละ 61.8 ของจำนวนครัวเรือนท้ังหมด ปรับตัวลดลงจากป 2547 ที่อยูที่รอยละ 66.4 ของจำนวนครัวเรือนทั้งหมด โดยหน้ีเฉล่ียในป 2552 อยูที่ 215,684 บาทตอครัวเรือนที่มีหน้ี เพ่ิมขึ้นจากป 2547 ที่อยูที่ 160,781 บาทตอครัวเรือนท่ีมีหน้ี ความรุนแรงของสถานการณหน้ีสินภาคประชาชนนำไปสูการกอตั้งโครงการแกปญหาหน้ีสินนอกระบบ 2

กระทรวงการคลังไดเสนอโครงการแกปญหาหน้ีนอกระบบ โดยรัฐบาลไดแถลงนโยบายตอรัฐสภาเมื่อวันท่ี 29 ธันวาคม 2551 โดยจัดใหมีการลงทะเบียนหน้ีนอกระบบสำหรับผูที่เปนหน้ีนอกระบบจำนวนไมเกิน 200,000 บาท ระหวางวันท่ี 1-31 ธันวาคม 2552 และไดขยายเวลาออกไปจนถึงวันท่ี 30 มกราคม 2553 โดย ณ วันท่ี 21 ธันวาคม 2553 มีจำนวนลูกหน้ีนอกระบบที่ลงทะเบียนท้ังสิ้นจำนวน 1,184,868 ราย และมีมูลหน้ีทั้งสิ้น 34,616.73 ลานบาท ขณะน้ีอยูระหวางการดำเนินการเพ่ือสรุปยอดการเจรจาหน้ีสินนอกระบบ

2 หน้ีนอกระบบ หมายถึง การกูหน้ียืมสินท่ีไมอยูในระบบสถาบันการเงิน เชน การกูยืมกันระหวางเพ่ือนฝูงหรือญาติพ่ีนอง ซึ่งการกูยืมเงินดังกลาวจะไมมีรูปแบบที่เปนมาตรฐาน เชน การทำสัญญากูยืมเงินอาจจะใชกระดาษเปลาเขียน

Page 65: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 63

2. ขั้นตอนการดำเนินการแกปญหาหนี้สินภาคประชาชน รัฐบาลไดมอบหมายใหกระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงยุติธรรม รวมกันผลักดันโครงการแกไข

ปญหาหน้ีนอกระบบ โดยใหกระทรวงการคลังเปนผูดำเนินการประสานธนาคารในเครือขายของรัฐในการเปดรับลงทะเบียน ลูกหน้ีนอกระบบ พรอมขอเสนอเงินกูภายใตเง่ือนไขพิเศษ และใหกระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม และกระทรวงการคลัง เปนผูรวมดำเนินการในคณะเจรจาประนอมหน้ีในระดับจังหวัดและระดับอำเภอ

ในสวนของกระทรวงการคลังน้ันไดมีการมอบหมายใหศูนยอำนวยการปฏิบัติการแกไขปญหาหน้ีสินภาคประชาชน (ศอก.นส.) กระทรวงการคลัง เปนหนวยงานหลักในการอำนวยการแกไขปญหาหน้ีสินภาคประชาชน (หน้ีนอกระบบ) และไดมอบหมายภารกิจใหธนาคารในเครือขายของรัฐทั้ง 6 แหง ไดแก ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ธนาคารออมสิน (ธ.ออมสิน) ธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธพว.) ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย (ธอท.) และธนาคารกรุงไทยจำกัด (มหาชน) (ธ.กรุงไทย) ไปรวมกันดำเนินการใหความชวยเหลือแกไขปญหาหน้ีนอกระบบ

ในการกำกับและอำนวยการ รัฐบาลโดยนายกรัฐมนตรีไดแตงต้ังคณะกรรมการข้ึน 2 คณะ ไดแก 1) แตงตั้งคณะกรรมการแกไขปญหาหน้ีสินภาคประชาชน ตามคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 266/2552 ลงวันท่ี 24 พฤศจิกายน 2552 โดยมี

ปลัดกระทรวงการคลัง เปนประธาน และ 2) แตงต้ังคณะกรรมการแกไขปญหาหน้ีสินนอกระบบ ตามคำสั่งสำนักนายกที่ 267/2552 ลงวันท่ี 24 พฤศจิกายน 2552 โดยมีปลัดกระทรวงมหาดไทย เปนประธาน

ขั้นตอนการดำเนินการใหความชวยเหลือลูกหน้ีนอกระบบ สามารถสรุปไดดังตอไปนี้ 1. เปดรับลงทะเบียนลูกหน้ีนอกระบบ ผานสาขาของธนาคารออมสินและธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ

การเกษตร (ธ.ก.ส.) ทั่วประเทศ และศูนยลงทะเบียนอีก 12 แหง ในกรุงเทพฯ ระหวางวันท่ี 1 ธันวาคม–30 ธันวาคม 2552 โดยมีธนาคารออมสินประมาณ 800 สาขา และธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ประมาณ 960 สาขา

2. ประมวลผล คัดกรองประเภทลูกหน้ี และสรุปยอดลูกหน้ีนอกระบบ โดยความรวมมือของกรมบัญชีกลาง ดำเนินการในเดือนมกราคม 2553 โดยมีหลักเกณฑการคัดแยกลูกหน้ีดังตอไปนี้ 1) ลูกหน้ีภาคเกษตรกรรม ใหธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) เปนผูรับผิดชอบ และ 2) ลูกหน้ีนอกภาคเกษตรกรรม ใหธนาคารออมสินเปนผูรับผิดชอบ

3. เจรจาและประนอมหนี้เพ่ือนำลูกหน้ีเขาสูระบบ โดยมีคณะทำงานแกไขปญหาหน้ีสินระดับจังหวัดและระดับอำเภอ พรอมธนาคารของรัฐที่เก่ียวของเปนผูดำเนินการเจรจา ระหวางวันท่ี 1 กุมภาพันธ–30 เมษายน 2553

แนวทางการเจรจาหน้ี 1. กรณีลูกหน้ีที่ผานการเจรจา 1.1 กรณีลูกหน้ีสามารถเขาสูระบบธนาคารเฉพาะกิจของรัฐ ใหธนาคารรับไปดูแลเพ่ือสามารถชำระหน้ีได 1.2 กรณีลูกหน้ีที่เจาหน้ีไมมาเจรจา ใหกระทรวงมหาดไทยรับไปดำเนินการตามวิธีการท่ีคณะกรรมการแกไขปญหา

หน้ีสินนอกระบบกำหนด 2. กรณีเจาหน้ีไมมาเจรจาโดยมีเจตนาท่ีจะไมใหความรวมมือกับทางราชการ จะใชมาตรการทางกฎหมายตามท่ีผูวา

ราชการจังหวัดเห็นสมควร 4. ลูกหน้ีที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑการใหสินเช่ือของธนาคารภายใตโครงการน้ี สามารถเร่ิมเขาสูระบบในเดือน

พฤษภาคม 2553

บทความน้ีจึงมีวัตถุประสงคเพ่ือวิเคราะหหน้ีสินภาคประชาชน รวมไปถึงการดำเนินงานของภาครัฐเพ่ือบรรเทา ความเดือดรอนของภาคประชาชน นอกจากน้ี ผลการศึกษาจะนำไปสูการนำเสนอแนวทางในการแกไขปญหาหน้ีภาคประชาชนในระยะยาว

Page 66: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 64

5. กรณีลูกหน้ีมีคุณสมบัติไมผานหลักเกณฑ3 จะมีการพิจารณาใหความชวยเหลือลูกหน้ีกลุมนี้อีกคร้ัง หากยังไมสำเร็จ จะมีโครงการฟนฟูและพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็งและสามารถสรางรายไดท่ีมั่นคงตอไป โดยความรวมมือระหวาง ศอก.นส. ธนาคารเฉพาะกิจของรัฐ คลังจังหวัด และหนวยงานท่ีเก่ียวของ ระหวางวันท่ี 1–31 พฤษภาคม 2553

3. สรุปจำนวนลูกหนี้ ผลการเจรจาและการปลอยสินเช่ือของธนาคาร

ผลการเจรจาปรับโครงสรางหน้ีนอกระบบโดยการใหความรวมมือของหนวยงานท่ีเก่ียวของ จากขอมูลลาสุด ณ วันท่ี 9

มีนาคม 2554 ในตารางท่ี 1 และตารางท่ี 2 พบวา ในป 2553 หลังจากการเปดรับลงทะเบียนลูกหน้ีรอบแรก จำนวนลูกหน้ีนอกระบบท่ีมาลงทะเบียนมีจำนวน 1,274,320 ราย หรือคิดเปนรอยละ 1.8 ของประชากรรวมท้ังประเทศในป 2553 โดยเม่ือแยกรายธนาคารพบวา ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ซึ่งสวนใหญเปนลูกหน้ีที่อยูในภาคเกษตรกรรม มีจำนวนลูกหน้ีนอกระบบมากที่สุดที่ 635,150 ราย หรือคิดเปนรอยละ 49.8 ของจำนวนลูกหน้ีที่ลงทะเบียน และรองลงมาเปนลูกหน้ีของธนาคารออมสินที่มีจำนวน 586,749 ราย หรือคิดเปนรอยละ 46.0 ของจำนวนลูกหน้ีที่ลงทะเบียน สวนท่ีเหลือ 52,417 ราย หรือรอยละ 4.1 ของจำนวนลูกหน้ีที่ลงทะเบียน เปนลูกหน้ีในความรับผิดชอบของธนาคารกรุงไทย ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธ.พ.ว.) ธนาคารอิสลาม และธนาคารอาคารสงเคราะห (ธ.อ.ส.) ทั้งนี้ ลูกหน้ีมากกวาคร่ึงหน่ึงเปนลูกหน้ีที่มีมูลหน้ีมากกวา 50,000 บาท4

หลังจากการดำเนินการเจรจาประนอมหน้ีและโอนหน้ีเขาในระบบแลวพบวา มีจำนวนผูไดรับการอนุมัติเงินกูจำนวน 415,966 คน หรือคิดเปนรอยละ 32.6 ของจำนวนลูกหน้ีที่ลงทะเบียนท้ังหมด คิดเปนมูลคาเงินท่ีใหกูมีจำนวน 39.6 พันลานบาท อยางไรก็ตาม ลูกหน้ีที่ไมไดรับการอนุมัติเงินกูจากระบบธนาคารของรัฐ สามารถจำแนกสาเหตุไดดังน้ี 1) รายไดไม เพียงพอ 2) ไมมีอาชีพหรือไมมีรายไดที่แนนอน 3) ไมมีผูค้ำประกัน 4) สาเหตุอื่น ๆ เชน เปนหน้ีคางชำระ เปนหน้ีดำเนินคดี และไมมีความตั้งใจในการชำระหนี้ ฯลฯ สาเหตุที่กลาวมาน้ีแสดงใหเห็นวาควรใหความสำคัญแกกลุมบุคคลผูที่มีรายไดนอย มีการศึกษาอยูในระดับต่ำ และไมมีหลักประกันเพ่ือใหเขาถึงสินเช่ือในระบบ

4. วิเคราะหสภาพปญหาการเปนหนี้นอกระบบ

ภายในระยะเวลาเพียง 10 ป ประเทศไทยมีวิกฤตเศรษฐกิจถึง 2 รอบ ทั้งในป 2540 และป 2552 จากสภาพปญหาคาครองชีพท่ีเพ่ิมสูงขึ้นอยางตอเน่ือง ขณะท่ีรายไดยังคงท่ี ทำใหประชาชนบางกลุมที่มีอาชีพคาขาย ลูกจาง หรือเกษตรกรมี รายจายท่ีมากกวารายได ประกอบกับความยากในการเขาสูสินเชื่อของธนาคารทำใหกลุมคนดังกลาวตองกูหน้ีนอกระบบ แมวาอัตราดอกเบ้ียจะสูงกวาปกติก็ตาม การกูหน้ีนอกระบบจึงกลายเปนแหลงเงินกูที่สำคัญ การศึกษาน้ีพยายามศึกษาขอมูล เชิงลึกในการวิเคราะหปญหาการเปนหน้ี โดยบงชี้ถึงคุณลักษณะของผูเปนหน้ี เชน ระดับการศึกษา อาชีพ ความสามารถใน การชำระหน้ี จำนวนสมาชิกท่ีทำงาน ฯลฯ เพ่ือนำเสนอในการวางแผนแกปญหาหน้ีนอกระบบแบบครบวงจร ดังน้ัน จากขอมูลการสำรวจของสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (สวค.)5 ซึ่งเปนขอมูลปฐมภูมิ จากการออกแบบสอบถามและ เก็บรวบรวมขอมูลจากการสำรวจภาคสนามในพ้ืนท่ีกลุมเปาหมาย

3 หลักเกณฑการพิจารณาโอนหน้ีสำหรับลูกหน้ีเบื้องตน 1. เปนหน้ีนอกระบบท่ีมีเงินตนคงคางไมเกิน 200,000 บาท และเปนหน้ีที่เกิดกอนวันท่ี 19 พฤศจิกายน 2552 2. ผานการเจรจาหน้ีตามหลักเกณฑที่กำหนด 3. วงเงินใหกูไมเกิน 200,000 บาท 4. อัตราดอกเบ้ีย (อัตราดอกเบ้ียไมเกินรอยละ 12 ตอป ใน 3 ปแรกสำหรับธนาคารออมสินใชอัตราดอกเบ้ียคงท่ีไมเกินรอยละ 0.75 ตอเดือน ตลอดระยะเวลาการกู) 5. ระยะเวลาการผอนชำระไมนอยกวา 8 ป เวนแตผูกูสมัครใจทำสัญญากูนอยกวา 8 ป และ 6. ผูกูสามารถชำระหน้ีกอนกำหนดไดโดยไมมีการเรียกเก็บคาธรรมเนียม สำหรับหลักประกันการโอนหน้ีมีดังน้ี 1. วงเงินกูไมเกิน 100,000 บาท ใชผูค้ำประกัน 1 คน 2. วงเงินกูตั้งแต 100,001–200,000 บาท ใชผูค้ำประกัน 2 คน และ 3. ผูค้ำประกันตองมีรายไดรวมไมนอยกวารอยละ 10 ของวงเงินกู 4 ขอมูลหน้ีนอกระบบแยกตามมูลหน้ี ณ วันท่ี 21 ธันวาคม 2553 ซึ่งมีเฉพาะขอมูลลูกหน้ีของธนาคารออมสินพบวา ลูกหน้ีของธนาคารออมสินท่ีมีมูลหน้ีมากกวา 50,000 บาท มีจำนวน 297,472 ราย หรือคิดเปนรอยละ 50.7 ของจำนวนลูกหน้ีที่ลงทะเบียน และลูกหน้ีที่มีมูลหนี้นอยกวา 50,000 บาท มีจำนวน 289,277 ราย หรือคิดเปนรอยละ 49.3

5 ศึกษาขอมูลเพ่ิมเติมจาก โครงการศึกษาวิจัยปญหาหน้ีสินภาคประชาชนและมาตรการใหความชวยเหลือของภาครัฐและหนวยงานท่ีเก่ียวของ (สำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและมูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง, 2553) ขอมูลท่ีสำรวจมี 5 จังหวัด (รวมกรุงเทพฯ และปริมณฑล) ใน 4 ภาค โดยวิธีการคัดเลือกจังหวัดมีดังนี้ 1) จังหวัดที่มีรายไดเฉลี่ยตอหัวต่ำท่ีสุด 5 อันดับของภาค และ 2) มีสัดสวนคนยากจนสูงสุด 5 อันดับของภาค ทั้งน้ี ขนาดตัวอยางท้ังหมดมีจำนวน 1,050 ตัวอยาง โดยแยกออกเปน 1) จังหวัดนาน จำนวน 200 ตัวอยาง 2) จังหวัดชัยนาท จำนวน 200 ตัวอยาง 3) จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 200 ตัวอยาง 4) จังหวัดสตูล จำนวน 200 ตัวอยาง และ 5) จังหวัดกรุงเทพฯ และปริมณฑล (จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี) จำนวน 250 ตัวอยาง

Page 67: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 65

ตารางที่ 1 จำนวนลูกหน้ีท่ีลงทะเบียนหน้ีนอกระบบและผูประสงคโอนหน้ีเขาระบบ (ราย)

* ขอมูล ณ วันท่ี 9 มีนาคม 2554 * สำหรับธนาคารออมสิน ขอมูล ณ วันท่ี 21 ธันวาคม 2553

ตารางที่ 2 สัดสวนผูไดรับเชิญเจรจา ผูกูได ผูกูไมได ตอจำนวนลูกหน้ีท้ังหมดและตอผูประสงคกู (รอยละ)

* ขอมูล ณ วันท่ี 9 มีนาคม 2554 * สำหรับธนาคารออมสิน ขอมูล ณ วันท่ี 21 ธันวาคม 2553

ผลการศึกษาจากตารางท่ี 3 พบวา เมื่อพิจารณาตามระดับการศึกษา ผูจบการศึกษาไมเกินประถมศึกษาปท่ี 6 เปน กลุมที่มีสัดสวนความเปนหน้ีสูงท่ีสุด ทั้งหน้ีในระบบและนอกระบบ โดยมีสัดสวนถึงรอยละ 45.3 ของผูเปนหน้ีนอกระบบรวม และรอยละ 49.6 ของจำนวนผูเปนหน้ีในระบบรวม สะทอนใหเห็นวาระดับการศึกษาเปนตัวแปรสำคัญในการกำหนดภาวะ การเปนหน้ีของภาคประชาชน โดยผูที่มีระดับการศึกษาต่ำกวาประถมศึกษาปที่ 6 มีความเปนไปไดในการกูเงินมากท่ีสุด ทั้งท่ีเปนหน้ีในระบบและนอกระบบ สำหรับในกลุมผูที่มีความสามารถในการชำระหนี้ คำนวณจากผูที่มีรายไดที่สูงกวารายจาย พบวา ผูที่มีความสามารถในการชำระหน้ีมีการกระจายตัวในทุกระดับการศึกษา ในขณะที่ในกลุมของผูท่ีไมสามารถ ชำระหนี้ไดหรือผูท่ีมีรายไดนอยกวารายจาย สวนใหญจะเปนผูท่ีมีการศึกษาต่ำกวาประถมศึกษาปท่ี 6 สะทอน ใหเห็นวาระดับการศึกษาเปนปจจัยสำคัญปจจัยหน่ึงท่ีมีผลตอการเปนหน้ีของประชากร ดังน้ัน การแกปญหาหน้ี ภาคประชาชนในระยะยาวควรมีการจัดการท้ังในดานการศึกษาและการใหความรูในการทำบัญชีดานการเงิน

Page 68: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 66

ตารางท่ี 3 ยังแสดงลักษณะหน้ีและความสามารถในการชำระหน้ี แยกตามอาชีพพบวา ผูที่เปนหน้ีนอกระบบสวนใหญมีอาชีพรับจางท่ัวไป รองลงมาคือ อาชีพคาขายและทำนา สวนอาชีพรับจางประจำมีความเปนไปไดนอยในการเปนหน้ีนอกระบบ ดังนั้น ในการเปนหน้ีนอกระบบจึงมีปจจัยสำคัญมาจากการท่ีรายไดไมสม่ำเสมอที่เกิดจากการรับจางงานท่ัวไปที่ไมใชรับจางประจำ สำหรับผูที่เปนหน้ีในระบบในแบบสำรวจนี้สวนใหญประกอบอาชีพทำนา รับจางท่ัวไป และคาขาย ตามลำดับ และเม่ือพิจารณาความสามารถในการชำระหน้ีพบวา ผูที่ไมสามารถชำระหน้ีไดเปนผูที่มีอาชีพทำนาเปนหลัก รองลงมาคือ อาชีพรับจางท่ัวไปและคาขาย

จากการวิเคราะหขอมูลพบวา ปญหาหน้ีนอกระบบเกิดจากการท่ีรายไดนอยและรายจายมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น ลูกหน้ีนอกระบบสวนใหญเปนลูกหน้ีท่ีมีระดับการศึกษาต่ำกวาระดับประถมศึกษาปท่ี 6 สวนใหญประกอบอาชีพรับจางทั่วไปที่มีรายไดตอเดือนไมแนนอน สวนเกษตรกรมีความเปนไปไดสูงในการเปนหน้ีในระบบ

ตารางที่ 3 ลักษณะหน้ีและความสามารถในการใชหน้ี แยกตามระดับการศึกษาและอาชีพ

ที่มา : คำนวณโดยผูเขียน โดยใชขอมูลจากการสำรวจของสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (สวค.)

5. สรุปและขอเสนอเชิงนโยบาย

จากการศึกษาพบวา การเปนหน้ีนอกระบบมีสาเหตุสำคัญมาจาก 1) รายไดประชาชนนอยกวารายจาย สวนหน่ึงเปน

ผลมาจากราคาสินคาท่ีสูงข้ึน 2) ความสามารถในการกูยืมสินเชื่อในระบบยังมีขอจำกัด ทั้งในดานรายไดท่ีไมมีความแนนอน

ในดานทรัพยสินท่ีมีไมเพียงพอตอการกูเงิน และไมมีผูค้ำประกันเงินกู และ 3) ผูเปนหน้ีนอกระบบสวนใหญเปนผูที่มีระดับ

การศึกษาท่ีต่ำกวาประถมศึกษาปที่ 6 ทำใหมีอาชีพท่ีใหรายไดที่ไมแนนอน และไมมีการควบคุมการใชจายสวนบุคคล ดังนั้น

ในการวางแผนนโยบายเพ่ือแกปญหาหน้ีนอกระบบควรใหความสำคัญท้ังปญหาในระยะส้ันและในระยะยาว

Page 69: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 67

ในอดีตจนถึงปจจุบันรัฐบาลมีการดำเนินนโยบาย/มาตรการทั้งทางตรงและทางออม6 ที่ลวนใหความสำคัญแกการแก

ปญหาความยากจน อยางไรก็ตาม การนำหน้ีบางสวนเขามาในระบบนับเปนการแกปญหาเฉพาะหนาในระยะสั้น ดังนั้น

จึงควรมีมาตรการเสริมที่ชวยปองกันไมใหเกิดวงจรการกอหนี้นอกระบบ โดยควรมีมาตรการสำคัญ ดังนี้

มาตรการระยะสั้น ไดแก 1) นำลูกหนี้นอกระบบที่มีปญหาการชำระหน้ีและถูกทวงหนี้อยางไมเปนธรรมเขาสูระบบ โดย

จำเปนตองใหความรูในการบริหารจัดการดานการเงิน 2) มีที่ปรึกษาดานการเงิน เชน โครงการหมอหน้ี เพ่ือใหความรูแก

ประชาชนเกี่ยวกับการใชจายเงินและการเขาสูระบบธนาคาร 3) สนับสนุนองคกรอิสระดานการเงินเพ่ือสงเสริมการออมและ

การปลอยกูใหแกสมาชิก เชน การเพิ่มบทบาทใหสหกรณการเกษตรในการทำหนาที่เปนแหลงเงินกูสำหรับประชาชนผูมีรายได

นอย และ 4) เพ่ิมบทบาทของกองทุนหมูบานเพื่อใหมีการเสริมสภาพคลองดานการเงินแกสมาชิก เชน การใหกูเพ่ือการศึกษา

หรือเพื่อการใชจายอื่น ๆ ที่จำเปน

มาตรการระยะยาว ไดแก 1) จัดทำโครงการนำรองเพื่อใหทราบถึงปญหาเชิงพื้นที่และเปนแบบอยางของการแกปญหา

ในระยะยาว 2) จัดต้ังคณะกรรมการแกปญหาหน้ีสินแหงชาติที่จะตองประกอบดวยหนวยงานราชการและภาคเอกชน เพ่ือ

ใหการดำเนินนโยบายแกปญหาหน้ีสินเปนไปอยางตอเน่ือง 3) แกปญหาหน้ีนอกระบบอยางครบวงจร โดยการจัดทำโครงการ

จัดหางานในพื้นที่ การฝกอบรมและการใหสินเชื่อ โดยจำเปนตองติดตามประเมินผลดวยหนวยงานที่รับผิดชอบ

6 มาตรการทางออมที่ผานมา ไดแก มาตรการดานรายจายของรัฐบาลเพ่ือลดภาระคาใชจายของประชาชน มาตรการการคลังดานรายจายเพ่ือเพ่ิมรายไดของประชาชน (เชน เช็คชวยชาติ) โครงการประกันรายไดเกษตรกร เปนตน สำหรับนโยบายทางตรงที่เกี่ยวกับนโยบายดานการเงิน ไดแก ธนาคารประชาชน สินเชื่อเพื่อวิสาหกิจชุมชนของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร โครงการบานและที่อยูอาศัยเพื่อผูมีรายไดปานกลางถึงรายไดต่ำ โครงการพักชำระหนี้และลดภาระหน้ีเกษตรกรรายยอยป 2544-2547 โครงการฟนฟูและพักหนี้เกษตรกรรายยอยและยากจน ป 2551-2553 สินเชื่อกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง เปนตน

Page 70: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 68

บทวิเคราะห บทวิเคราะห เรื่อง ไทยคาขายกับใครเรื่อง ไทยคาขายกับใคร1

บทสรุปผูบริหารการสงออกและการนำเขาเปนหัวใจสำคัญของเศรษฐกิจไทยมาชานาน อีกท้ังยังมีความเชื่อมโยง

กับภาคสวนอ่ืน ๆ ของเศรษฐกิจอยางลึกซ้ึง ไมวาจะเปนทางดานอุปทานหรืออุปสงค ภูมิทัศนของเศรษฐกิจโลกท่ีเปลี่ยนแปลง จึงสงผลกระทบตอประเทศไทยอยางหลีกเลี่ยงไมได จึงควรศึกษาและทบทวนโครงสรางตลาดสงออกและแหลงนำเขาของไทย

ในป 2551 และป 2552 ประเทศที่เปนตลาดสงออกอันดับ 1 ของไทย คือ สหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา ตามลำดับ แตในป 2553 ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกท่ีเกิดขึ้นกับสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกาทำใหเกิดปญหาในภาคการบริโภค สงผลใหการสงออกไปยังสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา หดตัวมาก แตในขณะเดียวกัน ความตองการการนำเขาสินคาของประเทศจีนไดเพิ่มขึ้นตามแรงขับเคลื่อน ของภาคการบริโภคและการลงทุนในจีนท่ีเติบโตตอเน่ือง สงผลใหอันดับการสงออกของไทยในป 2553 เปลี่ยนแปลง โดยตลาดสงออกอันดับ 1 ของไทยในป 2553 คือ จีน อันดับ 2 คือ ญี่ปุน อันดับ 3 คือ สหรัฐอเมริกา อันดับ 4 คือ สหภาพยุโรป และอันดับ 5 คือ ฮองกง

โครงสรางแหลงนำเขาของไทยในชวง 3 ปท่ีผานมา ตั้งแตป 2551-2553 ไมคอยเปลี่ยนแปลงมากนัก โดยประเทศที่เปนแหลงนำเขาหลักอันดับ 1 ของไทย ไดแก ญี่ปุน สำหรับอันดับ 2-5 น้ันมี การเปลี่ยนแปลงเล็กนอย โดยในป 2553 อันดับ 2 คือ จีน อันดับ 3 คือ ตะวันออกกลาง อันดับ 4 คือ สหภาพยุโรป และอันดับ 5 คือ มาเลเซีย

หากรวมตัวเลขการสงออกและการนำเขารายประเทศแลวจะเห็นวา ในป 2553 ญี่ปุนเปนประเทศคูคาอันดับ 1 ตามมาดวยจีน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และตะวันออกกลาง ตามลำดับ

ประเทศและกลุมประเทศคูคาหลักของไทย 5 อันดับแรกนั้น ไทยขาดดุลการคาเปน สวนใหญ ในขณะที่คูคาของไทยที่นาจับตามองในแงของดุลการคาคือประเทศในกลุมตลาดใหมและตลาดรอง ไดแก ทวีปแอฟริกา เวียดนาม และทวีปออสเตรเลีย ไทยจึงควรใชโอกาสนี้ในการปรับโครงสรางการสงออก เพื่อกระจายตลาดสงออกมากข้ึนพรอมกับหาแหลงสงออกใหม

1. บทนำ การสงออกและการนำเขาสินคาเปนหัวใจสำคัญของเศรษฐกิจไทยมาชานาน โดยภาคการสงออกและการนำเขาน้ี

มีสัดสวนรวมกันกวารอยละ 110 ของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ตามสัดสวนป 2552 ดังภาพท่ี 1 อีกท้ังภาคการสงออกและการนำเขายังมีความเชื่อมโยงกับภาคสวนอ่ืน ๆ ของเศรษฐกิจอยางลึกซึ้ง ไมวาจะเปนทางดานอุปทาน อันประกอบดวย

ภาคเกษตร การผลิตภาคอุตสาหกรรม หรือทางดานอุปสงค ไดแก การบริโภคและการลงทุน อีกดวย

1 ผูเขียน : ดร.พิมพนารา หิรัญกสิ เศรษฐกรชำนาญการ และนางสาวอรุณรัตน นานอก เศรษฐกรตรี สวนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง ขอขอบคุณ นางวิภารัตน ปนเปยมรัษฎ และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สำหรับคำแนะนำ

Page 71: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 69

ภาพที่ 1 โครงสรางและสัดสวนของเศรษฐกิจดานอุปสงคตอ GDP ป 2552 ณ ราคาคงที่

ที่มา : Reuters, สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) คำนวณโดย สศค.

อยางไรก็ตาม ภูมิทัศนของเศรษฐกิจโลกที่เปล่ียนแปลงยอมสงผลกระทบตอไทย ซึ่งเปนเศรษฐกิจแบบเปด (Open Economy) ที่มุงเนนการสงออกอยางหลีกเล่ียงไมได โดยจะเห็นไดวาในระหวางชวงไตรมาสท่ี 4 ป 2551 ตอเน่ืองจนถึงไตรมาสที่ 3 ป 2552 การสงออกสินคาของไทยไปยังตลาดหลักหดตัวลงมาก เน่ืองจากผลทางรายได (Income Effect) ของ

ประเทศคูคาท่ีลดลงจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกเปนสำคัญ ซึ่งดูไดจาก GDP ของประเทศที่เปนตลาดสงออกหลักของไทย อันไดแก กลุมประเทศ G3 (สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญ่ีปุน) ที่หดตัวลงมากในชวงไตรมาสที่ 4 ป 2551 จนถึงไตรมาสที่ 3 ป 2552 อยางไรก็ตาม มูลคาสงออกของไทยไปยังตลาดรองและตลาดใหม อาทิ จีนและฮองกง หดตัวในอัตราท่ีนอยกวา

การสงออกไปยัง G3 จึงเปนเครื่องบงช้ีวาโครงสรางการสงออกของไทยภายหลังวิกฤตเศรษฐกิจโลกนาจะเปลี่ยนแปลงไป อยางมีนัยสำคัญ

ภาพที่ 2 การสงออก เปรียบเทียบกับเศรษฐกิจ G3

ที่มา : Reuters, CEIC, และกระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

ดวยเหตุผลดังกลาว เราจึงควรศึกษาและทบทวนโครงสรางตลาดสงออกและแหลงนำเขาของไทย เพ่ือใหการเปล่ียนแปลง

โครงสรางน้ีสงผลบวกตอเศรษฐกิจไทยอยางเต็มที่

Page 72: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 70

2. ไทยขายของใหใคร : ตลาดสงออกของสินคาไทย ในป 2551-2553 โครงสรางการสงออกของไทยมีการเปล่ียนแปลงอยางมาก โดยในป 2551 และป 2552 ประเทศท่ี

เปนตลาดสงออกอันดับ 1 ของไทย คือ สหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา ตามลำดับ แตในป 2553 วิกฤตเศรษฐกิจโลกที่เกิดขึ้นกับสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกาสงผลใหเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอย ธุรกิจตาง ๆ ประสบปญหาและนำมาซ่ึงปญหาอัตราการวางงานสูง กระทบกับรายไดของประชาชน ทำใหเกิดปญหาในภาคการบริโภค สงผลใหการสงออกไปยังสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกาหดตัวมาก แตในขณะเดียวกัน ความตองการการนำเขาสินคาของจีนไดเพ่ิมขึ้นตามแรงขับเคล่ือนของ ภาคการบริโภคและการลงทุนในจีน ที่เติบโตตอเน่ืองจากนโยบายการกระตุนเศรษฐกิจอยางไดผลของรัฐบาลจีน สงผลใหอันดับการสงออกของไทยในป 2553 เปลี่ยนแปลง โดยตลาดสงออกอนัดับ 1 ของไทยในป 2553 คือจีน มีสัดสวนกวารอยละ 11.0 ของมูลคาการสงออกรวม เพ่ิมขึ้นจากรอยละ 9.1 และรอยละ 10.6 ในป 2551 และป 2552 ตามลำดับ ซึ่งเปนคร้ังแรก ในประวัติศาสตรท่ีจีนเปนตลาดสงออกอันดับแรกของไทย โครงสรางการสงออกในป 2553 มีการเปล่ียนแปลงดังสรุป ในตารางท่ี 1 และภาพท่ี 3

ตารางที่ 1 ตลาดสงออกหลักของไทย 5 อันดับแรก ในป 2551-2553

ที่มา : Reuters และกระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

อันดับ 2551 2552 2553

ประเทศ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา จีน 1 มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 21,269 16,661 21,473 สัดสวน (รอยละของมูลคาสงออกรวม) 12.0 10.9 11.0 ประเทศ สหรัฐอเมริกา จีน ญ่ีปุน 2 มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 20,275 16,119 20,416 สัดสวน (รอยละของมูลคาสงออกรวม) 11.4 10.6 10.5 ประเทศ ญ่ีปุน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา 3 มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 20,094 16,060 20,200 สัดสวน (รอยละของมูลคาสงออกรวม) 11.3 10.5 10.3 ประเทศ จีน ญ่ีปุน สหภาพยุโรป 4 มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 16,191 15,724 19,216 สัดสวน (รอยละของมูลคาสงออกรวม) 9.1 10.3 9.8 ประเทศ ฮองกง ฮองกง ฮองกง 5 มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 10,046 9,484 13,132 สัดสวน (รอยละของมูลคาสงออกรวม) 5.7 6.2 6.7

Page 73: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 71

ภาพที่ 3 โครงสรางการสงออกท่ีเปลี่ยนแปลงไปในป 2553

ที่มา : กระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

การสงออกไปจีน ในป 2553 ถือวาเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรที่ประเทศจีนเปนตลาดสงออกอันดับแรกของไทย ผลจากเศรษฐกิจ

จีนท่ีขยายตัวอยางรอนแรงทำใหมีการนำเขาสินคาจากทวีปเอเชียและไทยมากข้ึน โดยเฉพาะสินคาทุนและสินคาวัตถุดิบและสินคาชั้นกลาง เพ่ือใชในการผลิตภาคอุตสาหกรรมและการลงทุนในจีนท่ียังมีแนวโนมเติบโตอยางตอเน่ือง โดยสินคาหลัก ที่ไทยสงออกไปจีน ไดแก คอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ (สัดสวนรอยละ 23.5 ของมูลคาสงออกไปจีนรวม) ตามมาดวย ยางพารา (รอยละ 11.4) เคมีภัณฑ (รอยละ 8.3) เม็ดพลาสติก (รอยละ 7.6) และผลิตภัณฑยาง (รอยละ 6.6)

ภาพที่ 4 โครงสรางสินคาสงออกไปจีน ป 2553

ที่มา : Reuters และกระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

การสงออกไปญ่ีปุน ญ่ีปุนเปนอีกหน่ึงตลาดหลักของการสงออกของไทย ซึ่งสินคาหลักท่ีไทยสงออกไปญ่ีปุนสวนมากเปนสินคาท่ีใช

ในภาคอุตสาหกรรมเพ่ือการสงออก ไดแก คอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ (สัดสวนรอยละ 6.0 ของมูลคาสงออกไป

ญ่ีปุนรวม) และรถยนต อุปกรณและสวนประกอบ (รอยละ 6.0) ตามมาดวย ยางพารา (รอยละ 5.3) แผงวงจรไฟฟา (รอยละ 4.7) และไกแปรรูป (รอยละ 3.6)

Page 74: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 72

ภาพที่ 5 โครงสรางสินคาสงออกไปญ่ีปุน ป 2553

ที่มา : Reuters และกระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

การสงออกไปสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกาเปนตลาดหลักของการสงออกของไทยมาชานาน แตเน่ืองจากผลกระทบจากปญหาเศรษฐกิจและ

ปญหาการวางงานสูงของสหรัฐอเมริกา ในป 2553 สงผลใหสัดสวนการสงออกของไทยไปสหรัฐอเมริกาลดลงอยางมาก สินคาที่ไทยสงออกไปสหรัฐอเมริกาอันดับแรก ไดแก คอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ (สัดสวนรอยละ 16.4 ของมูลคาสงออก

ไปสหรัฐอเมริการวม) อันดับตอมา ไดแก อาหารทะเลกระปองและแปรรูป (รอยละ 6.9) ผลิตภัณฑยาง (รอยละ 6.2) ตามมาดวย อัญมณีและเคร่ืองประดับ (รอยละ 5.4) และเส้ือผาสำเร็จรูป (รอยละ 5.4) ตามลำดับ

ภาพที่ 6 โครงสรางสินคาสงออกไปสหรัฐอเมริกา ป 2553

ที่มา : Reuters และกระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

การสงออกไปสหภาพยุโรป สหภาพยุโรปเปนตลาดสงออกอันดับ 1 ของไทยในชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจโลก แตสัดสวนการสงออกไปยัง

สหภาพยุโรปคอย ๆ ลดลงอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะในป 2553 เศรษฐกิจสหภาพยุโรปไดรับผลกระทบจากวิกฤตหน้ีสาธารณะ ทำใหการสงออกของไทยไปสหภาพยุโรปชะลอลง สงผลกระทบตอสินคาสงออกสำคัญของไทยท่ีอาจชะลอลงตามเศรษฐกิจ

ยุโรป ซึ่งสินคาสงออกไปสหภาพยุโรปอันดับแรก ไดแก เคร่ืองคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ (สัดสวนรอยละ 10.9 ของมูลคาสงออกไปสหภาพยุโรปรวม) อันดับตอมา ไดแก อัญมณีและเคร่ืองประดับ (รอยละ 7.7) รถยนต อุปกรณและ สวนประกอบ (รอยละ 5.2) ตามมาดวย เส้ือผาสำเร็จรูป (รอยละ 4.7) และผลิตภัณฑยาง (รอยละ 4.0)

Page 75: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 73

ภาพที่ 7 โครงสรางสินคาสงออกไปสหภาพยุโรป ป 2553

ที่มา : Reuters และกระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

การสงออกไปฮองกง ฮองกงยังคงรักษาอันดับของการเปนตลาดการสงออกของไทยไดเปนอยางดี โดยสินคาสงออกสำคัญของไทย

ไปยังฮองกงสวนใหญเปนสินคาท่ีใชปจจัยการผลิตภายในประเทศนอย แตตองนำเขาวัตถุดิบจากตางประเทศเพ่ือมาผลิตหรือแปรรูปในไทย และสงกลับมาฮองกงเพ่ือสงออกตอในประเทศอ่ืน ๆ สินคาอันดับแรกที่ไทยสงออกไปฮองกง ไดแก อัญมณีและเคร่ืองประดับ (สัดสวนรอยละ 19.7 ของมูลคาสงออกไปฮองกงรวม) อันดับ 2 ไดแก แผงวงจรไฟฟา (รอยละ 16.1) อันดับ ตอมา ไดแก คอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ (รอยละ 16.1) หนังสือและส่ิงพิมพ (รอยละ 14.4) และเม็ดพลาสติก (รอยละ 4.1)

ภาพที่ 8 โครงสรางสินคาสงออกไปฮองกง ป 2553

ที่มา : Reuters และกระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

3. ไทยซื้อของจากใคร : แหลงนำเขาสินคาของไทย โครงสรางแหลงนำเขาของไทยในชวง 3 ปที่ผานมา ตั้งแตป 2551–2553 ไมคอยเปล่ียนแปลงมากนัก โดยประเทศ

ที่เปนแหลงนำเขาหลักอันดับ 1 ของไทย ไดแก ญ่ีปุน สำหรับอันดับ 2–5 นั้นมีการเปล่ียนแปลงเล็กนอย โดยในป 2551

ไทยนำเขาจากตะวันออกกลางเปนอันดับ 2 เนื่องจากราคาน้ำมันในป 2551 พุงสูงขึ้นถึงกวา 140 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล

มูลคานำเขาน้ำมันดิบจึงสูงมากซ่ึงเปนผลจากราคาเปนสำคัญ ในขณะท่ีป 2552 และป 2553 ภาวะราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก

Page 76: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 74

กลับเปนปกติ มูลคานำเขาน้ำมันดิบของไทยจากตะวันออกกลางจึงกลับสูภาวะปกติ เราจึงเห็นตัวเลขนำเขาของไทยจากจีนกลับมาเปนอันดับ 2 ตามมาดวย ตะวันออกกลาง สหภาพยุโรป และมาเลเซีย เปนอันดับ 3 อันดับ 4 และอันดับ 5 ตามลำดับ ดังสรุปตามตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 แหลงนำเขาหลักของไทย 5 อันดับแรก ในป 2551-2553

ที่มา : กระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

อันดับ 2551 2552 2553

ประเทศ ญ่ีปุน ญ่ีปุน ญ่ีปุน 1 มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 33,534.3 25,023.4 37,856.1 สัดสวน (รอยละของมูลคานำเขารวม) 18.7 18.7 20.8 ประเทศ ตะวันออกกลาง จีน จีน 2 มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 28,179.2 17,028.9 24,239.4 สัดสวน (รอยละของมูลคานำเขารวม) 15.7 12.7 13.3 ประเทศ จีน ตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง 3 มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 20,156.3 16,609.1 20,984.8 สัดสวน (รอยละของมูลคานำเขารวม) 11.2 12.4 11.5 ประเทศ สหภาพยุโรป 15 สหภาพยุโรป 15 สหภาพยุโรป 15 4 มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 13,893.3 11,682.9 13,278.1 สัดสวน (รอยละของมูลคานำเขารวม) 7.8 8.7 7.3 ประเทศ สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย มาเลเซีย 5 มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 11,423.3 8,574.7 10,708.9 สัดสวน (รอยละของมูลคานำเขารวม) 6.4 6.4 5.9

การนำเขาจากญี่ปุน ญ่ีปุนเปนแหลงนำเขาหลักของไทยมาชานาน ดวยสัดสวนกวารอยละ 20.8 ของมูลคานำเขารวมในป 2553

โดยสินคานำเขาหลักจากญ่ีปุนมักจะเปนสินคาทุนและสินคาวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูปเปนสวนใหญ โดยสินคานำเขาจากญ่ีปุนที่มีสัดสวนสูงสุดในป 2553 ไดแก เครื่องจักรกล (สัดสวนรอยละ 18.8 ของมูลคานำเขาจากญ่ีปุนรวม) โดยสินคาหลักใน หมวดน้ี ไดแก เคร่ืองจักรท่ีใชในอุตสาหกรรม อันดับตอมา ไดแก เหล็ก เหล็กกลาและผลิตภัณฑ (รอยละ 13.9) โดยเปนเหล็กที่ยังไมไดถลุงเปนสวนใหญ ตามมาดวย สวนประกอบยานยนต (รอยละ 9.9) เคร่ืองจักรไฟฟา (รอยละ 9.2) และแผงวงจรไฟฟา (รอยละ 7.6)

เปนท่ีนาสังเกตวาสินคานำเขาจากญ่ีปุน ถึงแมจะเปนสินคาในหมวดสินคาทุนและสินคาวัตถุดิบและก่ึงสำเร็จรูป

เปนสวนใหญดังท่ีกลาวมาแลว แตมีการกระจายตัวของการนำเขาท่ีดี และเปนการนำเขาสินคาท่ีใชในภาคการผลิต จึงอาจกลาวไดวาการนำเขาสินคาจากญ่ีปุนเปนการนำเขาท่ีชวยสนับสนุนเศรษฐกิจไทย

Page 77: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 75

ภาพที่ 9 โครงสรางการนำเขาสินคาจากญี่ปุน ป 2553

ที่มา : กระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

การนำเขาจากจีน จีนเปนอีกแหลงนำเขาหลักของไทย โดยมีสัดสวนกวารอยละ 13.3 ของมูลคานำเขารวมในป 2553 สินคานำเขา

หลักจากจีนมักจะเปนสินคาทุนและสินคาวัตถุดิบและก่ึงสำเร็จรูปเปนสวนใหญ เชนเดียวกับญี่ปุน โดยสินคานำเขาจากจีนท่ีมีสัดสวนสูงสุดในป 2553 ไดแก เคร่ืองคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ (สัดสวนรอยละ 13.9 ของมูลคานำเขารวม จากจีน) เครื่องจักรไฟฟา (รอยละ 13.3) โดยสินคาหลักในหมวดน้ี คือ เคร่ืองสงสัญญาณภาพและเสียง อันดับ 3 ไดแก เคร่ืองใชไฟฟาในบาน (รอยละ 8.8) ตามมาดวย เคร่ืองจักรกล (รอยละ 8.8) และเคมีภัณฑ (รอยละ 6.9)

ภาพที่ 10 โครงสรางการนำเขาสินคาจากจีน ป 2553

ที่มา : กระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

สินคานำเขาจากจีนก็มีลักษณะเปนสินคาในหมวดสินคาทุนและสินคาวัตถุดิบและก่ึงสำเร็จรูปเปนสวนใหญ แตมีการกระจายตัวของการนำเขาท่ีดี และเปนการนำเขาสินคาท่ีใชในภาคการผลิต เชนเดียวกับสินคานำเขาจากญ่ีปุน จึงอาจกลาวไดวาการนำเขาสินคาจากจีนเปนการนำเขาท่ีชวยสนับสนุนเศรษฐกิจไทย อนึ่ง เปนที่นาสังเกตวาถึงแมไทยจะมีขอตกลง

เสรีทางการคากับจีน โดยเฉพาะในหมวดสินคากสิกรรม แตไทยไมไดนำเขาสินคากสิกรรมดวยมูลคาสูงนักในป 2553

Page 78: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 76

การนำเขาจากตะวันออกกลาง ตะวันออกกลางเปนแหลงผลิตน้ำมันดิบและสินคาเช้ือเพลิงอื่น ๆ ที่สำคัญของโลก สินคานำเขาหลักของไทย

จากตะวันออกกลางจึงเปนน้ำมันดิบ โดยมีสัดสวนถึงรอยละ 78.2 ของมูลคานำเขาของไทยจากตะวันออกกลางในป 2553 อีกท้ังไทยยังนำเขากาซธรรมชาติ (รอยละ 4.7) และน้ำมันสำเร็จรูป (รอยละ 4.0) จากตะวันออกกลางอีกดวย สินคานำเขาหลักอ่ืน ๆ จากตะวันออกกลาง ไดแก เคมีภัณฑ (รอยละ 4.3) และปุยและยากำจัดศัตรูพืช (รอยละ 2.8)

ภาพที่ 11 โครงสรางการนำเขาสินคาจากตะวันออกกลาง ป 2553

ที่มา : กระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

การนำเขาจากสหภาพยุโรป (EU15) สินคานำเขาหลักของไทยจากสหภาพยุโรปในป 2553 มีโครงสรางคลายคลึงกับสินคานำเขาจากญ่ีปุนและจีน

กลาวคือ เปนสินคาทุนและสินคาวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูปเปนสวนใหญ โดยสินคาหลัก ไดแก เคร่ืองจักรกล (สัดสวนรอยละ 19.8 ของมูลคานำเขาจากสหภาพยุโรปรวม) เคมีภัณฑ (รอยละ 11.2) ผลิตภัณฑเวชกรรมและเภสัชกรรม (รอยละ 6.7) เคร่ืองจักรไฟฟา (รอยละ 6.2) และแผงวงจรไฟฟา (รอยละ 4.7)

ภาพที่ 12 โครงสรางการนำเขาสินคาจากสหภาพยุโรป ป 2553

ที่มา : กระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

Page 79: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 77

การนำเขาจากมาเลเซีย สินคานำเขาหลักในป 2553 จากมาเลเซีย มีทั้งสินคาเช้ือเพลิง (น้ำมันดิบ สัดสวนรอยละ 14.7 ของมูลคานำเขา

รวมจากมาเลเซีย) สินคาวัตถุดิบและก่ึงสำเร็จรูป (เคร่ืองคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ สัดสวนรอยละ 13.7 เคมีภัณฑ และสื่อบันทึกขอมูลภาพและเสียง สัดสวนรอยละ 7.0 และรอยละ 6.5 ตามลำดับ) และสินคาทุน (เคร่ืองจักรไฟฟา สัดสวนรอยละ 9.0) โดยหมวดหมูสินคามีการกระจายตัวดี

ภาพที่ 13 โครงสรางการนำเขาสินคาจากมาเลเซีย ป 2553

ที่มา : กระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

4. สูภาพรวม : คูคาของไทยในป 2553 หากรวมตัวเลขสงออกและนำเขารายประเทศแลว เราจะเห็นภาพวาประเทศหรือกลุมประเทศใดเปนคูคาหลักของไทย

โดยในป 2553 ญ่ีปุนเปนประเทศคูคาอันดับ 1 ดวยสัดสวนการคาระหวางประเทศรวมรอยละ 15.4 ของมูลคาสงออกและ นำเขารวม ตามมาดวย จีน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และตะวันออกกลาง ตามลำดับ

ตารางที่ 3 สรุปคูคาหลักของไทยในป 2553

ที่มา : กระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

อันดับ สงออก นำเขา การคาระหวางประเทศรวม ดุลการคา

1. ญ่ีปุน มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 20,415.7 37,856.1 58,271.8 -17,440.4 สัดสวน (รอยละของมูลคารวม) 10.5 20.8 15.4 -

2. จีน มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 21,473.2 24,239.4 45,712.6 -2,766.2 สัดสวน (รอยละของมูลคารวม) 11.0 13.3 12.1 -

3. สหภาพยุโรป มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 19,216.5 13,278.1 32,494.6 5,938.3 สัดสวน (รอยละของมูลคารวม) 9.8 7.3 8.6 -

4. สหรัฐอเมริกา มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 20,200.4 10,675.3 30,875.7 9,525.2 สัดสวน (รอยละของมูลคารวม) 10.3 5.9 8.2 -

5. ตะวันออกกลาง มูลคา (ลานดอลลารสหรัฐ) 9,668.4 20,984.8 30,653.2 -11,316.4 สัดสวน (รอยละของมูลคารวม) 5.0 11.5 8.1 -

Page 80: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 78

อยางไรก็ตาม ในบรรดาประเทศและกลุมประเทศคูคาหลักของไทย 5 อันดับแรกน้ัน ไทยขาดดุลการคาเปนสวนใหญ โดยในป 2553 ไทยขาดดุลการคากับญ่ีปุนสูงเปนอันดับ 1 มูลคา -17.4 พันลานดอลลารสหรัฐ และขาดดุลการคากับตะวันออกกลางถึง -11.3 พันลานดอลลารสหรัฐ ในขณะท่ีไทยเกินดุลการคากับฮองกงมากท่ีสุดถึงกวา 11.3 พันลานดอลลารสหรัฐ

คูคาของไทยที่นาจับตามองในแงของดุลการคาคือประเทศในกลุมตลาดใหมและตลาดรอง ไดแก ทวีปแอฟริกา เวียดนาม และทวีปออสเตรเลีย โดยไทยมีการสงออกไปยังประเทศเหลาน้ีสูงในขณะท่ีนำเขาต่ำ ทำใหไทยเกินดุลการคากับประเทศเหลาน้ีในป 2553 สูงถึง 5.1 4.4 และ 3.8 พันลานดอลลารสหรัฐ ตามลำดับ

ภาพท่ี 14 ดุลการคาของไทยกับประเทศคูคาหลัก 5 อันดับแรก

ที่มา : กระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค. ที่มา : กระทรวงพาณิชย คำนวณโดย สศค.

5. สรุป ในชวงป 2551-2553 ตลาดสงออกและแหลงนำเขาของไทยมีการเปล่ียนแปลงไปมาก โดยไทยเร่ิมพึ่งพาเศรษฐกิจ

สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปลดลง ในขณะท่ีความสำคัญของประเทศในภูมิภาคเอเชียท้ังตลาดใหญและตลาดเกิดใหม

เพ่ิมสูงขึ้นเร่ือย ๆ ไทยจึงควรใชโอกาสน้ีในการปรับโครงสรางการสงออกเพ่ือกระจายตลาดสงออกมากข้ึน พรอมกับหาแหลง สงออกใหม ๆ ขณะเดียวกันควรสนับสนุนอตุสาหกรรมท่ีทดแทนการนำเขา เชน อุตสาหกรรมการผลิตเคร่ืองจักรและสินคาทุนอื่น ๆ เพ่ือใหไทยไดรับประโยชนจากภาคการคาระหวางประเทศอยางเต็มที่ และเพ่ือใหเศรษฐกิจไทยสามารถเติบโตไดอยาง

แข็งแกรงตอไป

ภาพที่ 15 ประเทศที่ไทยเกินดุลการคาสูงสุดป 2553

Page 81: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 79

บทวิเคราะห บทวิเคราะห เรื่อง สงครามเงินฝากเรื่อง สงครามเงินฝาก1

บทสรุปผูบริหารในชวงท่ีผานมาสินเชื่อขยายตัวเรงขึ้นตอเน่ือง ขณะที่เงินฝากขยายตัวในอัตราท่ีนอยกวา

สินเชื่อ สงผลใหสภาพคลองของธนาคารพาณิชยทยอยลดลงอยางตอเน่ือง สภาพคลองท่ีลดลงสงผลใหอัตราดอกเบี้ยอันเปนตนทุนของธนาคารพาณิชยปรับตัวสูงขึ้น

จึงทำใหธนาคารพาณิชยแขงขันกันระดมเงินฝากโดยตองการล็อกเงินฝากระยะยาว ในขณะท่ีตนทุนหรือ อัตราดอกเบี้ยยังคงอยูในระดับไมสูงมากนัก

อยางไรก็ตาม ธนาคารพาณิชยหลายแหงไดมีแคมเปญเพื่อแขงขันระดมเงินฝากในระดับความเขมขนท่ีแตกตางกัน จึงเปนท่ีนาสนใจวา เพราะเหตุใดธนาคารพาณิชยบางแหงจึงมีความตองการที่จะระดมเงินฝากมากกวาแหงอ่ืน ๆ

บทความน้ีจึงเนนการวิเคราะหสภาพคลองท่ีมีความคลองตัวสูงรายธนาคาร ซึ่งจะบงชี้ถึงความตองการสภาพคลองหรือความตองการระดมเงินฝากของแตละธนาคาร และสงผลใหเขาใจถึงพฤติกรรมและกลยุทธตาง ๆ ท่ีแตละธนาคารใชในการจูงใจลูกคา

ผลการวิเคราะหพบวา สภาพคลองของธนาคารพาณิชยขนาดกลางและขนาดเล็กมีทิศทางลดลงชัดเจน โดยพบวาบางแหงขาดสภาพคลอง ขณะท่ีธนาคารพาณิชยขนาดใหญยังคงมีสภาพคลองอยู แตมีทิศทางลดลง ท้ังน้ี พบวาธนาคารพาณิชยท่ีมีปริมาณสภาพคลองนอยกวาธนาคารอื่น ๆ ในกลุมเดียวกัน จะใชแคมเปญในการแขงขันท่ีเขมขนกวาธนาคารท่ียังคงมีปริมาณสภาพคลองในระดับท่ีสูงกวา เชน ธนาคารกสิกรไทย

ดังน้ัน จากแนวโนมสภาพคลองท่ีคาดวาจะลดลง ตามแนวโนมสินเชื่อท่ีจะขยายตัวตอเน่ือง สศค.จึงคาดวา การแขงขันระหวางธนาคารพาณิชยจะทวีความเขมขนขึ้นอยางตอเน่ือง ซึ่งสถานการณดังกลาวจะสงผลดีตอผูฝาก เนื่องจากจะเปนการเพิ่มทางเลือก อยางไรก็ตาม กรณีดังกลาวถือเปนขอควรระวังสำหรับ ผูประกอบการ เนื่องจากทิศทางอัตราดอกเบี้ยท่ีเพิ่มขึ้นจะสงผลใหตนทุนในการกูยืมเพิ่มขึ้น

1. บทนำ ในวันท่ี 17 มีนาคม 2554 ที่ผานมา ธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) ไดออกหนังสือชี้แจงธนาคารพาณิชยเก่ียวกับ

การใชวิธีทางการตลาดเพ่ือจูงใจลูกคาเงินฝาก เน่ืองจากในปจจุบันการแขงขันในตลาดเงินโดยเฉพาะในการระดมเงินฝากน้ันคอนขางเขมขน และมีการใชกลยุทธที่คอนขางหลากหลาย โดยบางกรณีมีการแจกเงินหรือทรัพยสินเพ่ือจูงใจลูกคา ดังน้ัน

เพ่ือใหผูฝากไดรับความเปนธรรม ธปท.จึงไดประกาศไมสนับสนุนสถาบันการเงินท่ีจายเงินหรือทรัพยสินอื่นใดนอกจาก ดอกเบ้ีย เวนแตเปนการใหของกำนัลแกลูกคาในโอกาสอันเปนประเพณีนิยมท่ีถือปฏิบัติโดยทั่วไป

บทความนี้นำเสนอภาพรวมของตลาดเงินในปจจุบัน ทั้งในแงมุมของสภาพคลองและอัตราดอกเบี้ย ซึ่งเปนปจจัย

สำคัญท่ีสงผลใหการแขงขันระดมเงินฝากเขมขนข้ึน นอกจากน้ี เพ่ือใหเขาใจถึงพฤติกรรมและกลยุทธของแตละธนาคารท่ี ตางกัน ในสวนถัดไปวิเคราะหถึงสภาพคลองในแตละธนาคาร

1 ผูเขียน : นางสาวอารจนา ปานกาญจโนภาส ขอขอบคุณ นายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ ผูอำนวยการสำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค และ ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร ผูอำนวยการสวนการวิเคราะหเสถียรภาพเศรษฐกิจ สำหรับคำแนะนำ

Page 82: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 80

1. ภาพรวมตลาดเงิน 1.1 ภาวะสภาพคลองในระบบธนาคารพาณิชย นับตั้งแตกลางป 2553 เปนตนมา การปลอยสินเชื่อของธนาคารท้ังระบบไดขยายตัวในอัตราที่เรงขึ้นมาก

โดยหากพิจารณาจากปริมาณสินเช่ือของธนาคารพาณิชยซึ่งมีสัดสวนกวารอยละ 75 ของปริมาณสินเช่ือทั้งระบบ จะพบวาปริมาณสินเชื่อของธนาคารพาณิชยไดขยายตัวในอัตราท่ีเรงข้ึนอยางตอเนื่อง หลังจากที่ไดหดตัวในชวงวิกฤตเศรษฐกิจโลก โดยในปจจุบัน (สิ้นเดือนมกราคม 2554) ยอดคงคางสินเชื่อของธนาคารพาณิชยอยูที่กวา 6.79 ลานลานบาท หรือประมาณรอยละ 6 ของจีดีพี ขยายตัวเรงข้ึนจากปกอนที่รอยละ 12.1 (ภาพท่ี 1) ทั้งน้ี จากแนวโนมเศรษฐกิจในป 2554 ที่จะขยายตัวไดคอนขางดี ทำใหคาดวาแนวโนมสินเช่ือจะขยายตัวดีเชนกัน

ภาพที่ 1 ยอดคงคางสินเชื่อธนาคารพาณิชย และอัตราการขยายตัวของสินเชื่อธนาคารพาณิชย

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย รวบรวมโดย สศค.

ในขณะเดียวกัน นับตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2553 เปนตนมา ปริมาณเงินฝากไดขยายตัวอยางตอเนื่อง แตเปนการขยายตัวในอัตราที่นอยกวาการขยายตัวของปริมาณสินเชื่อ โดย ณ สิ้นเดือนมกราคม 2554 ปริมาณเงินฝาก

ที่ธนาคารพาณิชยอยูที่ 7.44 ลานลานบาท หรือประมาณรอยละ 7 ของจีดีพี ขยายตัวในอัตรากวารอยละ 6.1 จากปกอน (ภาพท่ี 2) นอยกวาการขยายตัวของปริมาณสินเช่ือธนาคารพาณิชยในชวงเดียวกันท่ีรอยละ 12.1

ภาพที่ 2 ยอดคงคางเงินฝากธนาคารพาณิชย และอัตราการขยายตัวของเงินฝากธนาคารพาณิชย

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย รวบรวมโดย สศค.

Page 83: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 81

การขยายตัวของปริมาณสินเช่ือธนาคารพาณิชยในอัตราท่ีสูงกวาการขยายตัวของปริมาณเงินฝากท่ีธนาคารพาณิชย สงผลใหสภาพคลองในระบบธนาคารพาณิชยมีทิศทางลดลง โดยในเดือนมกราคม 2554 สภาพคลองในระบบธนาคารพาณิชยอยูที่ 7.88 แสนลานบาท เพ่ิมขึ้นเล็กนอยจากเดือนกอนหนาท่ี 4 พันลานบาท หลังจากท่ีลดลงติดตอกัน 3 เดือน (ภาพท่ี 3) อยางไรก็ตาม สภาพคลองในระบบธนาคารพาณิชยยังคงอยูในระดับที่สูงกวารอยละ 0.7 ของจีดีพี

1.2 ภาวะอัตราดอกเบี้ย จากการท่ีเศรษฐกิจไทยไดฟนตัวจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกแลว ธปท.ไดปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย (RP 1 วัน)

จากเดิมที่ไดคงอยูในระดับต่ำท่ีรอยละ 1.25 กวา 16 เดือน ในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ มาอยูที่รอยละ 2.50 ในปจจุบัน และ ไดสงสัญญาณท่ีจะปรับขึ้นอัตราดอกเบ้ียนโยบายอยางตอเน่ืองในอนาคต เพ่ือควบคุมแรงกดดันดานเงินเฟอจากเศรษฐกิจ ที่ไดฟนตัวแลว (ภาพท่ี 4)

ภาพที่ 3 สภาพคลองท่ีมีความคลองตัวสูงของธนาคารพาณิชย

ที่มา : ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 4 อัตราดอกเบี้ยนโยบาย

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย

Page 84: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 82

การปรับขึ้นอัตราดอกเบ้ียนโยบายของ ธปท. สงผลใหธนาคารพาณิชยทยอยปรับเพิ่มอัตราดอกเบ้ียของตน โดยอัตราดอกเบ้ียเงินกูและเงินฝากไดปรับเพ่ิมขึ้น จากเดิมที่รอยละ 6.052 และรอยละ 0.703 เปนรอยละ 6.56 และรอยละ 1.73 ตามลำดับ (ภาพท่ี 5)

ภาพที่ 5 อัตราดอกเบี้ยเงินกูลูกคารายใหญชั้นดี (MLR) และอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ 12 เดือน

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย

กลาวโดยสรุป ภาวะตลาดเงินในปจจุบันเร่ิมกลับเขาสูสถานการณปกติเชนเดียวกับในชวงกอนวิกฤตเศรษฐกิจโลกในป 2551-2552 กลาวคือ สภาพคลองในระบบธนาคารพาณิชยจะเร่ิมปรับลดลงตามสินเช่ือที่คาดวาจะเพ่ิมขึ้นอยางตอเน่ือง ทั้งน้ี แนวโนมสภาพคลองที่ลดลงดังกลาวจะสงผลใหธนาคารพาณิชยแขงขันในการระดมเงินฝาก กอนท่ีอัตราดอกเบ้ียเงินฝากจะปรับสูงขึ้นตามการปรับข้ึนของอัตราดอกเบ้ียนโยบาย

ทั้งน้ี นับตั้งแตตนป 2554 ธนาคารพาณิชยหลายแหงไดมีแคมเปญเพ่ือแขงขันระดมเงินฝากในระดับความเขมขน

ที่แตกตางกัน จึงเปนท่ีนาสนใจวา เพราะเหตุใดธนาคารพาณิชยบางแหงจึงมีความตองการท่ีจะระดมเงินฝากมากกวาแหงอื่น ๆ ดังน้ัน ในสวนตอไปเปนการวิเคราะหสภาพคลองของธนาคารพาณิชยรายธนาคาร เพ่ือเขาใจถึงปจจัยท่ีสงผลตอพฤติกรรม

และกลยุทธของธนาคารพาณิชยตาง ๆ ใหกระจางข้ึน

2. เจาะลึกสภาพคลองรายธนาคาร 2.1 สภาพคลองของกลุมธนาคารขนาดใหญ สภาพคลองของธนาคารขนาดใหญโดยรวมปรับตัวลดลง ซึ่งหากวิเคราะหลงไปในรายละเอียดพบวา

ในเดือนมกราคม 2554 สภาพคลองธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารไทยพาณิชย และธนาคารทหารไทย ปรับตัวลดลง โดยมีปจจัยสำคัญจากรายการระหวางธนาคารท่ีปรับตัวลดลง ขณะท่ีสภาพคลองของธนาคารกรุงไทยและธนาคาร

กรุงศรีอยุธยาเพ่ิมขึ้น ซึ่งเปนผลมาจากรายการระหวางธนาคารท่ีเพ่ิมขึ้นเปนสำคัญ (ภาพท่ี 6)

2 อัตราดอกเบ้ียเงินกูลูกคารายใหญชั้นดี (MLR) 3 อัตราดอกเบ้ียเงินฝากประจำ 12 เดือน

Page 85: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 83

ภาพที่ 6 สัดสวนสภาพคลองท่ีมีความคลองตัวสูงตอสินทรัพยรวมของธนาคารพาณิชยขนาดใหญ

ที่มา : รวบรวมโดย สศค.

2.2 สภาพคลองของกลุมธนาคารขนาดกลางและขนาดเล็ก สภาพคลองของธนาคารขนาดเล็กโดยรวมปรับตัวลดลง ซึ่งหากวิเคราะหเปนรายธนาคารพบวา ธนาคาร

หลายแหงขาดสภาพคลอง เชน ธนาคารธนชาต ธนาคารยูโอบี และธนาคารแลนด แอนด เฮาส เพ่ือรายยอย ขณะท่ีธนาคารนครหลวงไทยยังคงมีสภาพคลองอยูแตลดลงตอเน่ือง ซึ่งเปนผลมาจากการท่ีรายการระหวางธนาคารสุทธิลดลง อยางไรก็ตาม พบวาธนาคารเกียรตินาคินและธนาคารสแตนดารดชารเตอรดมีสภาพคลองเพิ่มขึ้น ซึ่งมีปจจัยสำคัญมาจากรายการระหวางธนาคารสุทธิที่ปรับตัวเพ่ิมขึ้น (ภาพท่ี 7)

ภาพที่ 7 สัดสวนสภาพคลองท่ีมีความคลองตัวสูงตอสินทรัพยรวม ของธนาคารพาณิชยขนาดกลางและขนาดเล็ก

ที่มา : รวบรวมโดย สศค.

กลาวโดยสรุป ปริมาณและทิศทางสภาพคลองของแตละธนาคารขางตนท้ังของธนาคารขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก สะทอนถึงความตองการท่ีตางกันในการระดมเงินฝาก โดยอาจกลาวไดวา จากสภาพคลองของธนาคารขนาดใหญบางแหงท่ียังคงอยูในระดับสูง แมจะมีแนวโนมลดลง สงผลใหในชวงท่ีผานมาธนาคารเหลาน้ียังมิไดเขามาแขงขันในการระดม

เงินฝากอยางจริงจังนัก ยกตัวอยางเชน ในกรณีของธนาคารกรุงเทพซ่ึงยังมีสภาพคลองกวา 1.83 แสนลานบาท ทำใหธนาคารกรุงเทพเขามาระดมทุนในรูปแบบที่เขมขนนอยกวาธนาคารอ่ืน ๆ ในกลุมเดียวกัน และในสวนของธนาคารท่ีมีสินทรัพยนอยกวา

อาทิ ธนาคารธนชาตและธนาคารทิสโก ซึ่งอยูในภาวะขาดสภาพคลองจึงมีการระดมเงินฝากหรือควบรวมกับธนาคารอ่ืน ๆ ที่มีสภาพคลองในระดับสูง อาทิ ในกรณีของธนาคารธนชาตและธนาคารนครหลวงไทยท่ีอยูระหวางการดำเนินการควบรวม

Page 86: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 84

3. ธนาคารพาณิชยไทย : “สู” เพื่อเงินฝาก ในสวนน้ีวิเคราะหถึงผลิตภัณฑเงินออมพิเศษท่ีแตละธนาคารใชเพ่ือแขงขันกันในตลาดเงิน ซึ่งโดยรวมแลวแคมเปญ

ของแตละธนาคารมีลักษณะพิเศษคลายกันคือ อัตราดอกเบ้ียเพ่ิมข้ึนตามระยะเวลาการฝาก กลาวคือ ธนาคารตาง ๆ มีความพยายามท่ีจะล็อกเงินฝากระยะยาว เพ่ือลดตนทุนเงินฝากหรืออัตราดอกเบ้ียเงินฝากท่ีมีแนวโนมจะเพ่ิมขึ้นในอนาคต

ทั้งน้ี หากพิจารณาแคมเปญรายกลุมธนาคารพบวา แคมเปญกลุมธนาคารขนาดใหญจะเปนการเนนล็อกเงินฝาก

ระยะยาว เชน ธนาคารกสิกรไทย ซึ่งมีระดับสภาพคลองนอยกวาธนาคารอ่ืน ๆ ในกลุมธนาคารขนาดใหญ ไดมีแคมเปญ ออกมาล็อกเงินฝากระยะยาวและใหอัตราดอกเบ้ียท่ีคอนขางสูงกวาธนาคารอ่ืน ๆ (ตารางท่ี 1)

ขณะท่ีธนาคารขนาดกลางและขนาดเล็กมีรูปแบบของแคมเปญคอนขางจะหลากหลาย กลาวคือ มีทั้งธนาคารท่ีเนน

แคมเปญเงินฝากระยะส้ันเพ่ือจูงใจลูกคาอีกหน่ึงกลุมที่ยังคงรอใหอัตราดอกเบ้ียเงินฝากเพ่ิมขึ้นสูงกวาในปจจุบัน เชน ธนาคารทิสโก และธนาคารท่ีเนนแคมเปญเงินฝากระยะยาวมากกวา เชน ธนาคารธนชาตและธนาคารนครหลวงไทย ฯลฯ (ตารางท่ี 1)

4. สรุป

สภาพคลองท่ีเร่ิมมีแนวโนมลดลงจากสินเช่ือที่คาดวาจะขยายตัวเรงข้ึนอยางตอเน่ืองในระยะตอไป เปนหน่ึงในปจจัยสำคัญท่ีสงผลใหธนาคารตาง ๆ ทยอยระดมเงินฝากเพ่ือมารองรับการขยายตัวในอัตราท่ีเรงขึ้นของสินเช่ือดังกลาว

นอกจากน้ี อัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชยที่มีแนวโนมเพ่ิมขึ้นเปนอีกหน่ึงปจจัยท่ีสงผลใหธนาคารตาง ๆ เรงออก

แคมเปญเงินฝากระยะยาวเพ่ือล็อกเงินฝากในขณะท่ีตนทุนหรืออัตราดอกเบ้ียยังคงอยูในระดับไมสูงมากนัก ดังน้ัน สศค.คาดวา ในระยะตอไปการแขงขันระหวางธนาคารพาณิชยจะเขมขนข้ึนอยางตอเน่ือง อันเปนขาวดีของ

ผูฝากเงินท่ีจะมีตัวเลือกมากข้ึน แตเปนขอควรระมัดระวังสำหรับผูประกอบการท่ีตองการกูยืมเงินในอนาคต เน่ืองจากตนทุน ที่สูงขึ้นจากการระดมเงินฝากของธนาคารพาณิชยอาจสงผลใหอัตราดอกเบ้ียเงินกูซึ่งเปนตนทุนของผูประกอบการปรับเพ่ิมขึ้น

ตารางที่ 1 แคมเปญเงินฝากของธนาคารพาณิชย

ที่มา : รวบรวมโดย สศค.

ธนาคาร แคมเปญเงินฝาก ดอกเบี้ย (รอยละ) กรุงเทพ Step plus (15 เดือน) 1.75-4.50

กรุงไทย KTB 15 Bonus 2.185

กสิกรไทย เงินฝากประจำดอกเบ้ียสูงพุงพรวด 16 เดือน 1.75-6.00

เงินฝากทวีทรัพย 24 เดือน 2.55

ไทยพาณิชย ไดกับได 15 เดือน 1.25-4.50

กรุงศรีอยุธยา เงินฝากประจำพิเศษ 7-15 เดือน 2.30-2.85

ทหารไทย เงินฝากประจำดอกเบ้ียดวน 3 และ 12 เดือน 2.00 และ 2.70

ประจำ Up and Up 24 เดือน 1.00-5.50

ธนชาต+นครหลวงไทย เงินฝากประจำดอกเบ้ียไดใจ 2.00-2.75

ทิสโก Super Saving 2.00-1.50

ซีไอเอ็มบี CIMB Preferred Account 0.625-1.25

Page 87: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 85

บทวิเคราะห บทวิเคราะห เรื่อง แนวโนมเศรษฐกิจป 54 กับความทาทายทางเศรษฐกิจเร่ือง แนวโนมเศรษฐกิจป 54 กับความทาทายทางเศรษฐกิจ1

1 ผูเขียน : นางสาวอรอุมา หนูชวย เศรษฐกรตรี สวนแบบจำลองและประมาณการเศรษฐกิจการคลัง ขอขอบคุณ ดร.สิริกมล อุดมผล นายยุทธภูมิ จารุเศรนี และนางสาวกาญจนา จันทรชิต สำหรับขอมูล และขอขอบคุณ นางวิภารัตน ปนเปยมรัษฎ และนายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ สำหรับคำแนะนำ

บทสรุปผูบริหาร เศรษฐกิจไทยในป 2553 ขยายตัวไดในระดับสูง โดยไดแรงสงจากอุปสงคภายในประเทศและ

การฟนตัวของเศรษฐกิจโลกจากภาวะถดถอย ขณะที่เศรษฐกิจไทยในไตรมาสท่ี 1 ป 2554 มีสัญญาณเติบโต ตอเน่ืองท้ังการบริโภค การลงทุน และการสงออก

เศรษฐกิจไทยในป 2554 จะขยายตัวตอเน่ืองจากป 2553 โดยมีโอกาสท่ีจะขยายตัวในชวงคาดการณท่ีรอยละ 4.0–5.0 ตามอุปสงคภายในประเทศที่ยังคงมีแนวโนมขยายตัวตอเนื่องจากป 2553 ทั้ง การบริโภคและการลงทุน

ปจจัยทาทายในป 2554 แบงเปน 2 สวนสำคัญ คือ ปจจัยภายในประเทศ ไดแก ปญหาภาวะเงินเฟอ ภัยพิบัติ การขาดแคลนแรงงาน และความเสี่ยงจากการเมือง และปจจัยภายนอกประเทศ ไดแก ราคาน้ำมัน ราคาสินคาโภคภัณฑ ความเสี่ยงจากเงินทุนเคลื่อนยาย และเศรษฐกิจโลกชะลอตัว

1. บทนำ เศรษฐกิจไทยในปที่ผานมาตองเผชิญกับปจจัยเส่ียงทางเศรษฐกิจท้ังภายในและภายนอก ไมวาจะเปนภาวะการเงิน

โลกท่ีมีจุดเร่ิมตนจากภาคการเงินในสหรัฐอเมริกา นับตั้งแตป 2551 ที่สงผลกระทบตอเศรษฐกิจทั่วโลกรวมท้ังประเทศไทยดวย ทำใหอัตราการเจริญเติบโตของไทยในป 2552 หดตัวรอยละ -2.3 อยางไรก็ดี เศรษฐกิจไทยในป 2553 ฟนตัวอยางแข็งแกรงโดยขยายตัวรอยละ 7.8 เน่ืองจากไดรับปจจัยสนับสนุนหลักมาจากการสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐที่ขยายตัวในอัตราท่ีสูงรอยละ 14.7 ตามการฟนตัวของเศรษฐกิจประเทศคูคาหลัก รวมถึงการฟนตัวของการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนท่ีขยายตัวรอยละ 4.8 และรอยละ 13.8 ตามลำดับ ซึ่งไดรับแรงหนุนจากรายไดของเกษตรกรที่เพ่ิมสูงขึ้นจากการท่ีราคาพืชผลสำคัญปรับตัวสูงข้ึน และการขยายกำลังการผลิตเพ่ือรองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เพ่ิมขึ้นตามการสงออก สำหรับการใชจายของภาครัฐยังคงมีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนใหเศรษฐกิจไทยขยายตัวตอเน่ือง อยางไรก็ตาม แรงกระตุนผานรายจายลงทุนจะชะลอลงเน่ืองจากการเบิกจายงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจที่ลาชาเปนสำคัญ

2. แนวโนมเศรษฐกิจไทยในป 2554 เศรษฐกิจไทยในป 2554 คาดวาจะขยายตัวตอเน่ืองจากป 2553 โดยมีโอกาสท่ีจะขยายตัวในชวงคาดการณท่ี

รอยละ 4.0–5.0 ในป 2553 เศรษฐกิจไทยขยายตัวรอยละ 7.8 เรงขึ้นจากป 2552 ที่หดตัวรอยละ -2.3 โดยแรงขับเคล่ือนสำคัญมาจาก

การขยายตัวของอุปสงคทั้งในประเทศและนอกประเทศ โดยเฉพาะอุปสงคภายนอกประเทศผานการสงออกสินคาและบริการท่ี

ขยายตัวในระดับสูงถึงรอยละ 14.7 เทียบกับที่หดตัวรอยละ -12.5 ในปกอนหนาตามการฟนตัวของเศรษฐกิจประเทศคูคาโดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชียและประเทศเกิดใหม ในขณะท่ีอุปสงคภายในประเทศท้ังการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนฟนตัวข้ึนเชนกัน โดยการบริโภคภาคเอกชนกลับมาขยายตัวท่ีรอยละ 4.8 จากป 2552 ที่หดตัวรอยละ -1.1 ตามภาวะการจาง

Page 88: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 86

ภาพที่ 1 ประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)

งานและรายไดเกษตรกรที่อยูในเกณฑดี ตลอดจนความเชื่อมั่นผูบริโภคที่ปรับสูงข้ึนภายหลังเหตุการณความไมสงบทาง การเมืองภายในประเทศคล่ีคลายลง ในขณะเดียวกันการลงทุนภาคเอกชนก็ขยายตัวสูงถึงรอยละ 13.8 จากปกอนที่หดตัวมาก รอยละ -13.1 สอดคลองกับอัตราการใชกำลังการผลิตในหลายสาขาอุตสาหกรรมท่ีเริ่มตึงตัว อีกท้ังแรงสนับสนุนจากแนวโนมการบริโภคและการสงออกท่ีขยายตัวดียังทำใหภาคธุรกิจตองลงทุนเพ่ิมเติม เพ่ือรองรับการขยายตัวของอุปสงคในอนาคตท้ังจากในประเทศและตางประเทศ

สำหรับเศรษฐกิจไทยในป 2554 นั้น คาดวาเศรษฐกิจไทยจะไดแรงสง (Momentum) จากการฟนตัวของเศรษฐกิจในปกอน ทั้งนี้ สศค.ประเมินวาเศรษฐกิจไทยในป 2554 จะขยายตัวตอเนื่องจากป 2553 โดยมีโอกาสที่จะขยายตัวในชวง คาดการณที่รอยละ 4.0–5.0 ตามอุปสงคภายในประเทศท่ียังคงมีแนวโนมขยายตัวตอเน่ืองจากป 2553 ทั้งการบริโภคและ การลงทุน ขณะท่ีอุปสงคภายนอกประเทศคาดวาจะชะลอตัวจากปกอน เน่ืองจากยังมีความเส่ียงจากความเปราะบางของ การฟนตัวของเศรษฐกิจประเทศคูคาหลักท่ีอาจสงผลกระทบตอภาคการสงออกของไทยได

3. ปจจัยทาทายทางเศรษฐกิจในป 2554

ปจจัยทาทายในป 2554 แบงเปน 2 สวนสำคัญ คือ ปจจัยภายในประเทศ และปจจัยภายนอกประเทศ

ปจจัยภายในประเทศ ประกอบดวย 4 ปจจัยหลัก คือ

1. ความเสี่ยงจากเงินเฟอ ในป 2554 คาดวาจะมีแรงกดดันตอเงินเฟอจากปจจัยตาง ๆ หลายปจจัย คือ o ปจจัยภายนอก (External Factors) ประกอบดวย 3 ปจจัย คือ

• ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก ในป 2554 คาดวาราคาน้ำมันดิบดูไบจะอยูที่ 95.0 ดอลลารสหรัฐตอ

บารเรล (ชวงคาดการณ 90.0-100.0 ดอลลารสหรัฐตอบารเรล) เพ่ิมขึ้นจากในป 2553 ที่อยู 78.2 ดอลลารสหรัฐ หรือคิดเปน รอยละ 21.5 ตอป สงผลกระทบตออัตราเงินเฟอทั้งในทางตรงผานการเพ่ิมขึ้นของดัชนีราคาในหมวดน้ำมันเชื้อเพลิง และ

ทางออมผานตนทุนการผลิตท่ีเพ่ิมขึ้น

Page 89: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 87

• ราคาสินคาเกษตรในตลาดโลก โดยเฉพาะสินคาสงออกหลักของไทย เชน ขาว ยางพารา มันสำปะหลัง น้ำตาล ฯลฯ มีแนวโนมราคาปรับตัวสูงขึ้น เน่ืองจากพื้นที่เพาะปลูกของประเทศผูผลิตรายใหญลวน ประสบปญหาภัยธรรมชาติ ประกอบกับแรงเก็งกำไรในตลาดสินคาโภคภัณฑลวงหนา

• อัตราเงินเฟอของโลก โดยลาสุดพบวาประเทศจีนกำลังเผชิญปญหาเงินเฟอที่เรงตัวข้ึน ซึ่งในเดือน พฤศจิกายน 2553 ขยายตัวสูงสุดในรอบ 28 เดือน ที่รอยละ 5.1 ตอป สาเหตุจากราคาสินคาในหมวดอาหารท่ีปรับตัวข้ึนกวารอยละ 11.7 ตอป และอัตราเงินเฟอทั่วไปลาสุดในเดือนมีนาคม 2554 ของจีนอยูที่ระดับเฉล่ียท่ีรอยละ 5.4 ซึ่งเงินเฟอดังกลาวจะถูกสงผานสินคาสงออกไปยังประเทศตาง ๆ

o ปจจยัภายใน (Internal Factors) ประกอบไปดวย 2 สวน คือ • คาจางแรงงาน ในป 2554 คณะกรรมการคาจางกลางมีมติที่จะปรับเพ่ิมคาจางข้ันต่ำท่ัวประเทศข้ึน

8-17 บาทตอวัน สงผลตอตนทุนในการผลิตของผูประกอบการ ทำใหตองปรับราคาสินคาเพ่ิมขึ้น • อัตราดอกเบ้ีย ในป 2554 มีแนวโนมเพ่ิมขึ้นตอเน่ืองจากป 2553 หลังเศรษฐกิจผานพนชวงวิกฤต

สงผลตอตนทุนทางการเงินของผูประกอบการท่ีมีการกูยืมเงินผานสถาบันการเงินเพ่ิมขึ้น o นอกจากน้ันอุปสงคภายในประเทศท่ีขยายตัวไดดี ทั้งการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนท่ีคาดวาจะ

ขยายตัวไดที่รอยละ 4.8 และรอยละ 13.8 ตอป ตามลำดับ จะผลักดันเงินเฟอดานอุปสงค (Demand-pull Inflation) ใหปรับตัวสูงข้ึนได

ภาพที่ 2 แนวโนมอัตราเงินเฟอ

ที่มา : สศค.

อัตราเงินเฟอท่ัวไปในป 2554 คาดวาจะขยายตัวในชวงคาดการณท่ีรอยละ 3.1–4.1 ตอป เรงขึ้นจากปกอนหนา โดยในกรณีสูงพบวาอาจขยายตัวเรงขึ้นไดถึงรอยละ 4.5 ตอป ขณะที่กรณีต่ำจะขยายตัวที่รอยละ 2.9 ตอป

2. ความเสี่ยงจากภัยพิบัติ ความเส่ียงจากภัยพิบัติเปนปจจัยท่ีไมสามารถควบคุมได ซึ่งในป 2553 ที่ผาน

มาประเทศไทยประสบปญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติอยางรุนแรง ไมวาจะเปนภัยแลงในชวงตนปและอุทกภัยในชวงปลายป จากปญหาภัยพิบัติดังกลาวสงผลใหพ้ืนท่ีการเกษตรไดรับความเสียหายอยางมาก และไมใชแคภาคเกษตรอยางเดียวท่ีไดรับ

ผลกระทบ ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการและการทองเที่ยวก็ไดรับผลกระทบเชนเดียวกัน นอกจากน้ี การท่ีสภาพภูมิอากาศไมเอ้ืออำนวยตอการเพาะปลูกทางการเกษตรยังสงผลกระทบตอรายไดเกษตรกร และจะสงผลใหการใชจายในประเทศลดลง

Page 90: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 88

สำหรับในป 2554 นั้นมีแนวโนมวาปญหาดานภัยพิบัติจะยังคงไมหมดไป แตจะกลับมีแนวโนมที่รุนแรงมากขึ้น จากกราฟจะเห็นไดวาปรากฏการณลานีญาในครั้งน้ีมีความรุนแรงและคาดวาจะสงผลกระทบยาวนานกวาทุกครั้งในอดีต ซึ่งจะสงผลกระทบตอสภาพภูมิอากาศ ดังน้ี

1. เกิดสภาพอากาศหนาวเย็นและสภาพแหงแลงในทวีปอเมริกา รวมท้ังเกิดพายุเฮอรริเคนมากข้ึนในมหาสมุทรแอตแลนติก

2. เกิดฝนตกมากใน ASEAN ออสเตรเลีย และมรสุมเพ่ิมข้ึนบริเวณประเทศอินเดีย ปรากฏการณลานีญา คาดวาจะสงผลกระทบตอผลผลิตทางการเกษตรของไทยใหลดลง และอาจทำใหเกษตรกรขาดแคลนรายไดเพ่ือนำไปจับจายใชสอยในบางชวงเวลา

นอกจากน้ี ปรากฏการณลานีญาไมเพียงแตสงผลกระทบตอผลผลิตทางการเกษตรในประเทศไทยเทาน้ัน แตยังเกิดขึ้นในภูมิภาคอ่ืนท่ัวโลก โดยเฉพาะแหลงเพาะปลูกสินคาเกษตรในทวีปอเมริกาคาดวาอาจไดรับความเสียหายท้ังในประเทศสหรัฐอเมริกา บราซิล และอารเจนตินา ซึ่งจะสงผลกระทบใหอุปทานของน้ำตาล ถ่ัวเหลือง และกาแฟลดลง และสงผลใหราคาสินคาเกษตรดังกลาวปรับตัวสูงขึ้นมาก ประกอบกับสภาพอากาศท่ีหนาวเย็นจัดในทวีปอเมริกาจะสงผลใหอุปสงค ตอน้ำมันดิบในตลาดโลกเพิ่มขึ้นเพ่ือนำมาทำความรอน รวมทั้งการเกิดพายุเฮอรริเคนมากข้ึนในมหาสมุทรแอตแลนติก และอาวเม็กซิโก ก็จะสงผลใหราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นในอนาคต

ภาพที่ 3 ปรากฏการณลานีญา

ที่มา : National Oceamic and Atmospheric Administration‘ s

3. ความเสี่ยงจากการขาดแคลนแรงงาน ปญหาเร่ืองแรงงานเปนอีกปจจัยเส่ียงหน่ึง เพราะวาหากเกิด

ภาวะขาดแคลนแรงงานจะเปนอุปสรรคสำคัญในการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในอนาคต เน่ืองจากแรงงานยังคงเปนปจจัยการผลิตสำคัญในการผลิตสินคาของไทย ซึ่งปจจุบันสถานการณดานตลาดแรงงานของไทยนั้นถือวาคอนขางตึงตัว โดยดูไดจากอัตราการวางงานของไทยท่ีอยูในระดับที่ต่ำมาก โดยลาสุด ณ เดือนกุมภาพันธ 2554 อยูที่รอยละ 0.7 ของกำลังแรงงาน

รวม หรือคิดเปนจำนวนคนวางงานเพียง 2.7 แสนคนเทาน้ัน ซึ่งถือวาเปนอัตราการวางงานท่ีต่ำกวาอีกหลาย ๆ ประเทศท่ัวโลก นอกจากน้ี ตลาดแรงงานของไทยยังประสบปญหาขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะในภาคอุตสาหกรรม

เชน วิศวกร เน่ืองจากคานิยมของคนรุนใหมที่สนใจการทำงานในภาคบริการมากกวาทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งหากปญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมทวีความรุนแรงมากขึ้น ก็จะเปนอุปสรรคสำคัญตอการขยายการผลิตใน ภาคอุตสาหกรรมของไทยในอนาคต

Page 91: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 89

ภาพที่ 4 อัตราการวางงาน

ที่มา : สำนักงานสถิติแหงชาติ คำนวณโดย สศค.

4. ความเสี่ยงจากการเมือง สถานการณทางการเมืองในป 2554 ที่จะมีการเลือกต้ังท่ัวไป จึงตองติดตามวารัฐบาลชุดใหมจะมีการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจตอเน่ืองจากรัฐบาลชุดปจจุบันหรือไม หากเปนรัฐบาลชุดเดิมก็จะเปนผลดีในเร่ืองของความตอเน่ืองของการดำเนินนโยบาย แตหากวาเปนชุดใหมก็อาจทำใหนโยบายในบางเร่ืองขาดความตอเน่ืองได ที่กลาวมาขางตนเปนปญหาในแงของนโยบาย นอกจากน้ี หากมีปญหาเร่ืองความไมสงบทางการเมืองเชนท่ีเคยเกิดขึ้นในป 2553 ก็อาจสงผลกระทบตอความเช่ือมั่นของนักลงทุนจากตางประเทศได โดยสะทอนไดจากขอมูลในป 2553 ที่มีการชุมนุมทางการเมืองในชวงเดือนเมษายน-พฤษภาคมน้ัน ดัชนีความเช่ือมั่นภาคอุตสาหกรรม (Thailand Industrial Sentiment Index : TISI) ปรับตัวลดลงจนมาอยูในระดับที่ต่ำกวา 100 ซึ่งสะทอนวาผูประกอบการมองวาภาคอุตสาหกรรมมีแนวโนมที่จะหดตัวลงในอนาคต นอกจากนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภค (Consumer Confidence Index : CCI) ก็ปรับตัวลดลงเชนกัน เน่ืองจากประชาชนชะลอการจับจายใชสอยลง

ภาพที่ 5 ดัชนีความเชื่อม่ันภาคอุตสาหกรรมและดัชนีความเชื่อม่ันผูบริโภค

ที่มา : สศค.

Page 92: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 90

ปจจัยภายนอกประเทศ ประกอบดวย 3 ปจจัยหลัก คือ 1. ความเสี่ยงจากเงินทุนเคลื่อนยาย เปนประเด็นความเส่ียงท่ีตองติดตามอยางใกลชิดมากท่ีสุด เน่ืองจาก

จะสงผลกระทบตอความผันผวนของคาเงินบาทในป 2554 จะเห็นไดวาในชวงท่ีธนาคารกลางสหรัฐ (Federal Reserve : Fed) ไดประกาศวาจะดำเนินมาตรการ QE2 เพ่ือกระตุนเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา จากวิกฤตในภาคอสังหาริมทรัพยและภาค การเงินน้ัน คาเงินดอลลารสหรัฐออนคาลง สงผลใหเงินบาทแข็งคาข้ึนอยางรวดเร็ว

การประกาศใชนโยบายดังกลาวสงผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยสามารถแยกเปน 2 สวน ไดแก (1) ภาคการเงิน (Financial Sector) ผานการแข็งคาข้ึนของเงินบาทจากเงินทุนเคล่ือนยายท่ีเพ่ิมขึ้นมาก และ (2) ภาคเศรษฐกิจจริง (Real Sector) ผานผลกระทบตอการคาสินคาและบริการระหวางประเทศ กลาวคือ

เงินบาทแข็งคาข้ึนอยางรวดเร็วและมีแนวโนมแข็งคาข้ึนตอเน่ืองเม่ือเทียบกับดอลลารสหรัฐ เน่ืองจากปริมาณเงินท่ีเพ่ิมขึ้นจากการใชนโยบาย QE ของสหรัฐอเมริกาจะไหลออกนอกประเทศ เพ่ือแสวงหาผลตอบแทนที่สูงกวาในประเทศเกิดใหม (Emerging Markets) ที่เศรษฐกิจมีการเติบโตไดดีกวา อาทิ ประเทศในเอเชียรวมถึงประเทศไทย ทำใหปริมาณเงินทุนไหลเขา (Capital Inflow) มายังประเทศไทยเพ่ิมขึ้นอยางมาก อันสงผลใหเงินบาทแข็งคาข้ึนอยางตอเน่ือง

ในสวนของภาคเศรษฐกิจจริง นโยบาย QE ทำคาเงินดอลลารสหรัฐออนคาลงเม่ือเทียบกับคาเงินบาท ทั้งน้ี การแข็งคาของเงินบาทเม่ือเทียบกับดอลลารสหรัฐ สงผลกระทบตอผูสงออกใน 2 ดาน กลาวคือ 1) ทำใหรายไดของผูสงออกลดลงทันทีเมื่อแปลงเปนเงินบาท โดยเฉพาะผูสงออกรายยอยท่ีใชวัตถุดิบภายในประเทศเปนหลัก และ 2) ทำใหความสามารถทางการแขงขันดานราคาของผูสงออกลดลง และอาจทำใหปริมาณการสงออกลดลงในระยะตอไป โดยเฉพาะสินคาสงออกท่ีใชวัตถุดิบภายในประเทศเปนหลัก และจากสภาพเศรษฐกิจที่ยังคงเปราะบางจากวิกฤตเศรษฐกิจ ความเปราะบางในภาคอสังหาริมทรัพย ความกังวลตอภาวะเงินฝด และขอจำกัดของนโยบายการคลัง ทำใหมีโอกาสท่ีธนาคารกลางสหราชอาณาจักร และธนาคารกลางญ่ีปุนอาจตองใชนโยบาย QE เพ่ิมเติมดวยเชนกัน

ภาพที่ 6 เงินทุนเคลื่อนยาย

ที่มา : สศค.

2. ความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว โดยเฉพาะเศรษฐกิจของกลุมประเทศอุตสาหกรรมหลักอยางสหรัฐอเมริกา ยุโรป และญ่ีปุน ที่ยังคงมีการฟนตัวทางเศรษฐกิจที่เปราะบาง ในป 2554 คาดวาเศรษฐกิจคูคาหลักของไทย 14 ประเทศจะขยายตัวรอยละ 3.4 ตอป โดยเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียจะยังคงขยายตัวไดตอเน่ือง แมวาจะชะลอลงจาก

ปกอน เน่ืองจากฐานในปท่ีแลวท่ีสูงกวาปกติ ขณะท่ีปญหาหน้ีสาธารณะของกลุมประเทศยุโรปก็ยังเปนประเด็นท่ีตองติดตาม

วาจะลุกลามขยายออกไปเปนวงกวางหรือไม ทั้งน้ี การชะลอตัวลงของเศรษฐกิจโลกจะสงผลกระทบการสงออกและภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศไทย เน่ืองจากการสงออกมีมูลคาสัดสวนใน GDP สูงถึงรอยละ 52

Page 93: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 91

แนวโนมเศรษฐกิจของประเทศคูคาสำคัญในป 2554 ไดแก

เศรษฐกิจจีน ชะลอความรอนแรง (ซึ่งเปนตลาดสงออกใหญอันดับ 1 ของไทย : สัดสวนการสงออกรอยละ 11.0 ของมูลคาสงออกสินคารวมในป 2553) เศรษฐกิจตอนนี้มีความรอนแรงมาก ทำใหมีแนวโนมวาในป 2554 จีนอาจเพ่ิมความเขมงวดผานนโยบายการเงิน เพ่ือลดความรอนแรงทางเศรษฐกิจจากปญหาเร่ืองของเงินเฟอและปญหาฟองสบูในภาคอสังหาริมทรัพย จึงมีความเปนไปไดสูงท่ีจะเห็นจีนทยอยปรับขึ้นอัตราดอกเบ้ียนโยบายในป 2554 และคาดวาในป 2554 เศรษฐกิจจีนจะขยายตัวรอยละ 9.0 ตอป หรือในชวงคาดการณรอยละ 8.5–9.5 ตอป ชะลอลงจากปกอนหนา สวนหน่ึงจากปจจัยฐานสูง และการคาดการณวารัฐบาลจีนอาจออกมาตรการเพ่ือควบคุมภาวะเงินเฟอ

เศรษฐกิจญ่ีปุน (เปนตลาดสงออกอันดับ 2 รองจากจีน : สัดสวนการสงออกรอยละ 10.5 ของมูลคาสงออกสินคารวมในป 2553) ในป 2554 เศรษฐกิจญ่ีปุนประสบกับปญหาวิกฤตแผนดินไหวและสึนามิ ทำใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจญ่ีปุนตองหยุดชะงักลงอาจสงผลใหเศรษฐกิจญี่ปุนในไตรมาสที่ 1/2554 หดตัวลง ประกอบกับปญหาความเสี่ยงดานเงินฝดและปญหาการวางงานตอเน่ืองจากป 2553 โดยพบวาอัตราการวางงานอยูที่รอยละ 4.6 (ขอมูล ณ เดือนมีนาคม 2554) ของกำลังแรงงานรวม ขณะท่ีเงินเฟอทั่วไปอยูที่รอยละ 0.0 (ขอมูล ณ เดือนมีนาคม 2554) ทั้งน้ี สถานการณแผนดินไหวและสึนามิที่มีความรุนแรงจนสงผลกระทบใหเศรษฐกิจญี่ปุนตองมีการชะลอการผลิตสินคาเปนจำนวนมาก และตองดำเนินมาตรการเพ่ือฟนฟูเศรษฐกิจ เชน การอัดฉีดเม็ดเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจสูงกวา 15 ลานลานเยน และมีการปรับลดอัตราดอกเบ้ียนโยบายของธนาคารกลางญ่ีปุนในเดือนเมษายน 2554 (Overnight Call) ลงมาอยูในระดับต่ำท่ีรอยละ 0-0.1 เพ่ือสนับสนุนการลงทุนและการจางงานภายในประเทศ จึงทำใหคาดวาป 2554 เศรษฐกิจญี่ปุนจะขยายตัวรอยละ 1.3 ตอป

เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา (เปนตลาดสงออกอันดับ 3 รองจากญ่ีปุน : สัดสวนการสงออกรอยละ 10.3 ของมูลคาสงออกสินคารวมในป 2553) เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกายังคงมีความเส่ียงดานแรงงานและยังไมมีสัญญาณการฟนตัว โดยลาสุดอัตราการวางงานในสหรัฐอเมริกายังคงอยูที่ระดับสูงท่ีรอยละ 8.8 ของกำลังแรงงานรวม (ขอมูล ณ เดือนมีนาคม 2554) ซึ่งสงผลใหรัฐบาลสหรัฐอเมริกาตองดำเนินมาตรการดานการเงินแบบผอนคลายหรือ Quantitative Easing ระลอกท่ี 2 ในวงเงิน 600,000 ลานดอลลารสหรัฐ เพ่ือกระตุนเศรษฐกิจในประเทศ โดยมีชวงของการดำเนินมาตรการระหวางเดือนพฤศจิกายน 2553 ถึงเดือนมิถุนายน 2554 ทั้งนี้ คาดวาสหรัฐอเมริกาอาจจะตองออกมาตรการดังกลาวเพ่ิมเติมอีกหากเศรษฐกิจยังไมฟนตัว ทั้งน้ี คาดวาป 2554 เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาจะขยายตัวรอยละ 2.9 ตอป

เศรษฐกิจสหภาพยุโรป ยังคงมีความเปราะบางจากความเส่ียงดานหน้ีสาธารณะ ซึ่งทำใหรัฐบาลของประเทศสมาชิกตองปรับลดงบประมาณรายจายลง ทั้งน้ี คาดวาป 2554 เศรษฐกิจสหภาพยุโรป (EU-16) จะขยายตัวรอยละ 1.3 ตอป

4. สรุป

ภาพรวมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในป 2554 ยังคงมีแนวโนมเติบโตตอเน่ืองจากป 2553 แมจะเติบโตในอัตราที่ชะลอลงก็ตาม นอกจากน้ี ยังมีปจจัยเสี่ยงท้ังจากภายในประเทศและภายนอกประเทศที่อาจสงผลกระทบ ในดานลบตอเศรษฐกิจไทยอยูหลายประการที่จำเปนตองไดรับการติดตามอยางใกลชิด โดยภาคเอกชนจำเปนท่ีจะตองเตรียมพรอมรับมือกับความผันผวนทางเศรษฐกิจท่ีอาจเกิดขึ้น และมุงเนนการปรับตัวใหเขากับสถานการณเศรษฐกิจท่ีสามารถเปลี่ยนแปลงไปไดทุกเม่ือ ตามพลวัตของเศรษฐกิจไทยท่ีเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก

Page 94: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 92

รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินไทยในไตรมาสที่ 1 ป 2554 รายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินไทยในไตรมาสท่ี 1 ป 2554

ภาพที่ 1 อัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาคการเงิน ภาคการเงิน

อัตราดอกเบ้ียเงินกูและอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของธนาคารพาณิชยปรับตัวเพิ่มข้ึน ในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสที่ 1 ป 2554 โดยอัตราดอกเบ้ียเงินฝากประจำ 1 ป และอัตราดอกเบ้ียเงินกู MLR ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ 2554 ปรับเพ่ิมขึ้นจากรอยละ 1.55 และรอยละ 6.31 ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ป 2553 มาอยูที่รอยละ 1.73 และรอยละ 6.56 ตามลำดับ (ภาพที่ 1) ตามการปรับเพ่ิมอัตราดอกเบ้ียนโยบายของธนาคารแหงประเทศไทยในชวงดังกลาว ทั้งน้ี อัตราเงินเฟอที่ยังคงมี แนวโนมเพ่ิมขึ้นสงผลใหอัตราดอกเบ้ียเงินฝากท่ีแทจริงหดตัวในชวงไตรมาสท่ี 1 ของป 2554

อัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชยในป 2554 คาดวาจะปรับตัวเพิ่มขึ้น อัตราดอกเบ้ียของธนาคารพาณิชยมีแนวโนมที่จะปรับตัวเพ่ิมขึ้นตามอัตราดอกเบ้ียนโยบายท่ีคาดวาจะปรับตัวเพ่ิมขึ้นในป 2554 กอปรกับสภาพคลองของระบบธนาคารไทยท่ีมีแนวโนมลดลงจากการเพ่ิมขึ้นของสินเช่ือภาคเอกชนตามภาวะเศรษฐกิจที่ดีขึ้น

การปลอยสินเชื่อของสถาบันการเงินท่ีรับฝากเงิน (Depository Institutions) ในชวง 2 เดือนแรกป 2554 ขยายตัวในอัตราเรงขึ้นตอเน่ือง ขณะที่เงินฝากขยายตัวตอเนื่องจากไตรมาสกอนหนา แตในอัตราที่ชะลอกวาสินเชื่อ (ภาพท่ี 2 และภาพท่ี 3) โดย ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ 2554 สถาบันรับฝากเงิน (ไดแก ธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน สถาบันการเงินเฉพาะกิจ สหกรณออมทรัพย และกองทุนรวมตลาดเงิน) มียอดคงคางของสินเช่ือภาคเอกชนจำนวน 10,207.3 พันลานบาท เพ่ิมขึ้นรอยละ 15.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา และเม่ือขจัดผลของฤดูกาลแลวเพ่ิมขึ้นรอยละ 1.5 เมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา โดยเปนการขยายตัวของสินเชื่อภาคครัวเรือน โดยเฉพาะสินเช่ือเพ่ือที่อยูอาศัยและสินเช่ือเชาซื้อรถยนตและรถจักรยานยนตเปนสำคัญ ดานเงินฝากของสถาบันรับฝากเงินมียอดคงคางเงินฝากจำนวน 10,827.7 พันลานบาท เพ่ิมขึ้นรอยละ 10.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา และเม่ือขจัดผลของฤดูกาลแลวเพ่ิมขึ้นรอยละ 1.2 เมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา

ภาพที่ 2 สินเชื่อในสถาบันรับฝากเงิน

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 3 เงินฝากในสถาบันรับฝากเงิน

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

Page 95: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 93

การปลอยสินเชื่อของธนาคารพาณิชยในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสท่ี 1 ป 2554 ขยายตัวเรงขึ้นจากไตรมาสกอนหนา ในขณะท่ีการรับเงินฝากของธนาคารพาณิชยขยายตัวตอเน่ืองจากไตรมาสกอนหนา แตในอัตราที่ชะลอกวาการขยายตัวของสินเชื่อ (ภาพท่ี 4 และภาพท่ี 5) ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ 2554 ธนาคารพาณิชยมียอด คงคางสินเช่ือภาคเอกชนจำนวน 6,853.4 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 12.8 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา และเม่ือขจัดผลของฤดูกาลแลวเพ่ิมขึ้นรอยละ 1.4 เม่ือเทียบกับเดือนกอนหนา ดานเงินฝากของสถาบันรับฝากเงินมียอดคงคางเงินฝากจำนวน 7,586.0 พันลานบาท ขยายตัวรอยละ 7.2 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา และเมื่อขจัดผลของฤดูกาลแลวขยายตัวรอยละ 1.0 เมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา

ภาพที่ 4 สินเชื่อในธนาคารพาณิชย

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 5 เงินฝากในธนาคารพาณิชย

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

สินเชื่อภาคธุรกิจของธนาคารพาณิชยในชวง 2 เดือนแรกของไตรมาสท่ี 1 ป 2554 ขยายตัว เรงขึ้น ในขณะที่สินเชื่อภาคครัวเรือนยังคงขยายตัวตอเน่ือง (ภาพท่ี 6) สินเช่ือที่ใหแกภาคธุรกิจ ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ ป 2554 ขยายตัวเรงขึ้นเปนเดือนที่ 5 ที่รอยละ 11.3 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา สอดคลองกับการขยายตัวของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการลงทุนภาคเอกชน ในขณะท่ีสินเช่ือภาคครัวเรือนของธนาคารพาณิชยขยายตัวรอยละ 15.4 ขยายตัวเพ่ิมขึ้นจาก ณ สิ้นไตรมาสกอนหนาท่ีขยายตัวรอยละ 15.0 สะทอนวาประชาชนมีความเช่ือมั่นในภาวะเศรษฐกิจไทยและหันมาบริโภคจับจายใชสอยอยางตอเน่ือง

ภาพที่ 6 สินเชื่อครัวเรือนและสินเชื่อธุรกิจของธนาคารพาณิชย

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

Page 96: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 94

สินเชื่อธุรกิจภาคอุตสาหกรรม ภาคการเกษตร และภาคบริการในไตรมาสที่ 4 ป 2553 ขยายตัวเรงขึ้นจากไตรมาสกอนหนา ในขณะที่สินเชื่ออสังหาริมทรัพยหดตัวในอัตราท่ีชะลอลง (ภาพท่ี 8) สินเช่ือภาคอุตสาหกรรมซึ่งมี สวนแบงรอยละ 42.6 ของสินเช่ือธุรกิจ (ภาพท่ี 7) ขยายตัวรอยละ 7.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา เรงขึ้นจากไตรมาสกอนหนาท่ีขยายตัวรอยละ 4.3 ในขณะท่ีสินเชื่อภาคการเกษตรขยายตัวรอยละ 31.4 เรงขึ้นมากจากไตรมาสกอนหนาท่ีขยายตัวท่ีรอยละ 3.6 สอดคลองกับดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมและราคาสินคาเกษตรท่ียังคงอยูในระดับสูง ดานสินเช่ืออสังหาริมทรัพย หดตัวชะลอลงท่ีรอยละ -2.1 ขณะท่ีสินเช่ือภาคบริการซ่ึงมีสัดสวนกวารอยละ 45 ของสินเช่ือธุรกิจ ขยายตัวตอเน่ืองจากไตรมาสกอนหนาท่ีรอยละ 12.3 สอดคลองกับการขยายตัวของจำนวนนักทองเท่ียวในไตรมาสท่ี 4 ป 2553 ที่รอยละ 7.8

ภาพที่ 7 สัดสวนสินเชื่อธุรกิจธนาคารพาณิชย

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 8 การขยายตัวของสินเชื่อธนาคารพาณิชย

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 9 สัดสวนสินเชื่อผูบริโภคธนาคารพาณิชย

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

Page 97: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 95

สินเชื่อบุคคลเพื่อการซื้อหรือเชาซื้อรถยนตและรถจักรยานยนตในไตรมาสที่ 4 ของป 2553 ขยายตัวเรงขึ้นจากระยะเดียวกันของปกอนหนา ขณะที่สินเชื่อเพื่อท่ีอยูอาศัยขยายตัวชะลอลง สินเช่ือบุคคลเพ่ือซื้อรถหรือเชาซื้อรถยนตและรถจักรยานยนต ซึ่งคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 5 ของสินเช่ือรวม หรือรอยละ 22 ของสินเช่ือบุคคล

ขยายตัวรอยละ 29.5 เม่ือเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา เรงข้ึนจากการขยายตัวท่ีรอยละ 26.5 ในไตรมาสกอนหนา

สอดคลองกับยอดจำหนายรถยนตนั่งในไตรมาสที่ 4 ป 2553 ที่ขยายตัวในระดับสูงท่ีรอยละ 36.0 ตามการขยายตัวของ

เศรษฐกิจและความนิยมในการใชรถยนตประหยัดน้ำมันขนาดเล็ก (Eco-car) ที่เพ่ิมขึ้นตอเน่ือง ขณะท่ีสินเช่ือเพ่ือท่ีอยูอาศัย ซึ่ง

คิดเปนสัดสวนรอยละ 13 ของสินเช่ือทั้งหมด หรือประมาณรอยละ 55 ของสินเช่ือบุคคล ขยายตัวรอยละ 13.6 ชะลอลงตอเน่ือง

เปนไตรมาสที่ 2 ซึ่งเปนผลจากการยกเลิกมาตรการลดอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะจากการขายอสังหาริมทรัพย ในวันท่ี 30 มิถุนายน

2553 รวมถึงความเขมงวดของธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) ในการปลอยสินเช่ือท่ีอยูอาศัย โดยทาง ธปท.ไดมีการออก

เกณฑกำหนด Loan to value ratio (LTV ratio) ใหม เพ่ือเพ่ิมความเขมงวดในการปลอยสินเช่ือของธนาคารพาณิชย โดยเฉพาะ

ในสวนของสินเช่ือเพ่ือที่อยูอาศัยแนวสูง (คอนโดมิเนียม) ที่ราคาต่ำกวา 10 ลานบาท ในขณะเดียวกัน ดานการใชจายของภาค

ครัวเรือนผานบัตรเครดิตในเดือนมกราคม ป 2554 ขยายตัวรอยละ 15.2 ชะลอลงเล็กนอยเม่ือเทียบกับเดือนกอนหนาท่ีขยายตัว

รอยละ 17.7 บงชี้ภาคการบริโภคท่ีขยายตัวไดอยางตอเน่ือง สอดคลองกับดัชนีความเช่ือมั่นผูบริโภคในเดือนมกราคม 2554 ที่

เพ่ิมขึ้นจากเดือนกอนหนามาอยูที่ระดับ 72.6

ภาพที่ 10 การขยายตัวสินเชื่อบุคคล ธนาคารพาณิชยแยกประเภท

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

ภาพที่ 9 การใชจายภาคครัวเรือน ผานบัตรเครดิต

ที่มา : ธปท. / ประมวลผลโดย สศค.

Page 98: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

ประมาณการเศรษฐกิจไทย 96

Thailand’s Key Economic Indicators Thailand’s Key Economic Indicators ตารางเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจ (Economic Indicators)

Page 99: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง FISCAL POLICY OFFICE

ส เสนอแนะอยางมีหลักการ

ศ ศึกษาโดยไมหยุดนิ่ง

ค คนคลังที่มีคุณภาพ

Page 100: ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 (เดือนมีนาคม)

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลังถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400โทรศัพท 0-2273-9020 โทรสาร 0-2298-5602website : http://www.fpo.go.th