unit 8

21
บทที8 เรื่อง การทาหนังสือและพิมพ์ผลงานออกทางเครื่องพิมพ์ 1. การกาหนดหน้าหนังสือ PageMaker มีคาสั่งและการทางานเกี่ยวกับการจัดหน้าของหนังสือ ได้แก่ การใส่เลขหน้า การสลับลาดับหน้า การสร้างสารบัญ การสร้างดรรชนีคา และการรวมเล่ม อันดับแรก จะต้องกาหนดเสียก่อนว่าหนังสือที่กาลังจัดหน้าอยู่นั้น มีรูปเล่มแบบพิมพ์หน้า เดียว (ในกระดาษแต่ละแผ่นของหนังสือมีข้อความพิมพ์อยู่หน้าเดียว ) หรือแบบพิมพ์สองหน้า ซึ ่ง ขั้นตอนการกาหนดมีดังนีขั้นตอนที1 เลือกคาสั่ง File > Document Setupขั้นตอนที2 เลือกลักษณะรูปเล่มของหนังสือ รูปที8.1 แสดงการเลือกลักษณะและรูปเล่มของหนังสือ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ , 2553) กาหนดตัวเลือกตรงส่วนของ Option ของไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup ดังนีDouble-sided เลือกเพื่อกาหนดให้รูปเล่มเป็นแบบพิมพ์สองหน้า ถ้าไม่เลือกก็เป็นรูปเล่ม แบบพิมพ์หน้าเดียว Facing pages เลือกให้เห็นหน้าที่จัดบนหน้าทีละสองหน้า ถ้าไม่เลือกจะเห็นหน้าที่จัดทีละ หน้า (ตัวเลือกนี้ไม่มีผลต่อลักษณะรูปเล่ม แต่เลือกเพื่อความสะดวกในการดูหน้าที่จัด) Adjust layout เลือกให้ออบเจ็กต์ต่าง ๆ ที่อยู่ในหน้าปรับเปลี่ยนตาแหน่งไปตามลักษณะ หน้าที่เปลี่ยนไปโดยอัตโนมัติ เมื่อมีการเปลี่ยนรูปเล่มจากแบบพิมพ์สองหน้าไปเป็นแบบพิมพ์หน้าเดียว หรือกลับกัน ขั้นตอนที3 คลิกปุ่ม OK ขั้นตอนที4 ลักษณะหน้าที่เห็นบนหน้าจอเปลี่ยนไปตามที่เรากาหนด

Upload: comcmpoly

Post on 19-Jun-2015

176 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Unit 8

บทท่ี 8 เร่ือง การท าหนังสือและพิมพ์ผลงานออกทางเครื่องพิมพ์

1. การก าหนดหน้าหนังสือ PageMaker มีค าสั่งและการท างานเก่ียวกับการจัดหน้าของหนังสือ ได้แก่ การใส่เลขหน้า การสลับล าดับหน้า การสร้างสารบัญ การสร้างดรรชนีค า และการรวมเล่ม

อันดับแรก จะต้องก าหนดเสียก่อนว่าหนังสือที่ก าลังจัดหน้าอยู่นั้น มีรูปเล่มแบบพิมพ์หน้าเดียว (ในกระดาษแต่ละแผ่นของหนังสือมีข้อความพิมพ์อยู่หน้าเดียว ) หรือแบบพิมพ์สองหน้า ซ่ึงขั้นตอนการก าหนดมีดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 เลือกค าสั่ง File > Document Setup… ขั้นตอนที่ 2 เลือกลักษณะรูปเล่มของหนังสือ

รูปที่ 8.1 แสดงการเลือกลักษณะและรูปเล่มของหนังสือ

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ก าหนดตัวเลือกตรงส่วนของ Option ของไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup ดังนี้ Double-sided เลือกเพ่ือก าหนดให้รูปเล่มเป็นแบบพิมพ์สองหน้า ถ้าไม่เลือกก็เป็นรูปเล่มแบบพิมพ์หน้าเดียว Facing pages เลือกให้เห็นหน้าที่จัดบนหน้าทีละสองหน้า ถ้าไม่เลือกจะเห็นหน้าที่จัดทีละหน้า (ตัวเลือกนี้ไม่มีผลต่อลักษณะรูปเล่ม แต่เลือกเพ่ือความสะดวกในการดูหน้าที่จัด) Adjust layout เลือกให้ออบเจ็กต์ต่าง ๆ ที่อยู่ในหน้าปรับเปลี่ยนต าแหน่งไปตามลักษณะหน้าที่เปลี่ยนไปโดยอัตโนมัติ เมื่อมีการเปลี่ยนรูปเล่มจากแบบพิมพ์สองหน้าไปเป็นแบบพิมพ์หน้าเดียว หรือกลับกัน ขั้นตอนที่ 3 คลิกปุ่ม OK ขั้นตอนที่ 4 ลักษณะหน้าที่เห็นบนหน้าจอเปลี่ยนไปตามที่เราก าหนด

Page 2: Unit 8

1.1 การใส่เลขหน้า ในการใส่เลขหน้าลงไปในหน้าที่จัดแต่ละหน้า เลขหน้าที่ใส่นั้นจะไม่ใช่ตัวเลขที่ตายตัวตามปกติ แต่จะสามารถปรับเปลี่ยนตัวเลขของหน้าเองไปตามล าดับที่แท้จริงของหน้าที่อยู่

ใส่เลขหน้าลงไปในหน้ามาสเตอร์ที่เดียว ก็จะได้เลขหน้าไปปรากฏอยู่ในทุก ๆ หน้าที่ใช้หน้ามาสเตอร์นั้น แถมต าแหน่งของตัวเลขยังจะตรงกันในทุก ๆ หน้าอีกด้วย ขั้นตอนการใส่เลขหน้าลงในหน้ามาสเตอร์ มีดังต่อไปนี้

ขั้นตอนที่ 1 เลือกหน้ามาสเตอร์

รูปที่ 8.2 แสดงการใส่เลขหน้าให้กับหน้ามาสเตอร ์(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 2 คลิกต าแหน่งเลขหน้า ขั้นตอนที่ 3 กดปุ่ม < Ctrl+Alt+P >

รูปที่ 8.3 แสดงเลขหน้าปรากฏที่หน้าสิ่งพิมพ ์

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 3: Unit 8

ขั้นตอนที่ 4 พิมพ์ข้อความเพ่ิมเติม

รูปที่ 8.4 แสดงการพิมพ์ข้อความเพิ่มเติม (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 5 เมื่อเปิดหน้าท างาน เลขหน้าก็จะปรากฏ ดังรูปที่ 8.5

รูปที่ 8.5 แสดงเลขหน้าปรากฏขึ้นในหน้าท างาน (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 4: Unit 8

1.2 รูปแบบของล าดับเลขหน้า PageMaker มีระบบล าดับเลขหน้าหลายแบบด้วยกัน นอกเหนือจากระบบตัวเลขอารบิคที่ใช้

กันตามปกติ ซึ่งเราจะเปลี่ยนระบบล าดับของเลขหน้าได้ด้วยขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือกค าสั่ง File>Document Setup… ขั้นตอนที่ 2 คลิกปุ่ม Numbers…

รูปที่ 8.6 แสดงขั้นตอนของการเลือกรูปแบบของล าดับเลขหน้า

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 3 ปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Page Numbering ให้เลือกระบบล าดับส าหรับเลขหน้าจากตัวเลือกดังนี้ Arabic numeral ระบบตัวเลขอารบิค Upper Roman ระบบเลขโรมัน โดยใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ Lower Roman ระบบเลขโรมัน โดยใช้ตัวอักษรตัวพิมพ์เล็ก Upper alphabetic ระบบตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ โดยที่ A-Z จะแทนตัวเลข 1-26 และ AA-ZZ แทนตัวเลข 27-52 Lower alphabetic ระบบตัวอักษรพิมพ์เล็ก โดยที่ a-z จะแทนตัวเลข 1-26 และ aa-zz แทนตัวเลข 27-52

Page 5: Unit 8

ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม OK ทั้งของไดอะล็อกบ็อกซ์ Page Numbering และของไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup หมายเหตุ ส าหรับระบบเลขโรมัน (ทั้งตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก ) ที่ใช้กับเลขหน้าที่เกิน 4999 และระบบตัวอักษร (ทั้งตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก ) ที่ใช้กับเลขหน้าที่เกิน 52 PageMaker จะเปลี่ยนไปใช้เลขหน้าในระบบตัวเลขอารบิคแทน

1.3 การสลับล าดับหน้า ในกรณีที่ได้จัด และเรียงหน้าหนังสือไว้เรียบร้อยแล้วแต่เกิดต้องการสลับล าดับของบางหน้า

เสียใหม่ ก็มีวิธีที่ท าได้แบบตรงไปตรงมา คือการสร้างหน้าเปล่าขึ้น แล้วย้ายออบเจ็กต์ทั้งหมดจากหน้าที่ต้องการย้ายนั้นมาใส่หน้าใหม่ แล้วท าการลบหน้าที่เกินออกเสีย วิธีนี้ดูจะยุ่งยากเกินไปสักหน่อย PageMaker จึงได้เตรียมค าสั่งและการท างานที่อ านวยความสะดวกส าหรับการนี้โดยเฉพาะ ซึ่งมีขั้นตอนของการท างานดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 เลือกค าสั่ง Layout > Sort Pages… ขั้นตอนที่ 2 คลิก ค้างตรงหน้าที่ต้องการย้ายล าดับ

รูปที่ 8.7 แสดงหน้า Sort Pages… (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 6: Unit 8

ขั้นตอนที่ 3 คลิกเมาส์ลากตรงหน้าที่ต้องการย้ายล าดับ

รูปที่ 8.8 แสดงการคลิกเมาส์ลากเพื่อสลับหน้า (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม OK ขั้นตอนที่ 5 เกิดการสลับล าดับหน้า (เลขหน้าเปลี่ยนโดยอัตโนมัติ)

รูปที่ 8.9 แสดงเมื่อปล่อยเมาส์ล าดับหน้าก็จะเปลี่ยนไป (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

1.4 การปรับเปลี่ยนการท างานของวินโดวส์ Sort Pages

นอกเหนือจากการสลับล าดับหน้าที่จัดแล้ว ในวินโดวส์ Sort Pages ยังมีค าสั่งส าหรับปรับเปลี่ยนการท างานของตัวเองอีกด้วย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

Page 7: Unit 8

รูปที่ 8.10 แสดงตัวเลือกเพิ่มในอะล็อกบ็อก Options (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Double-sided เลือกเพ่ือก าหนดให้รูปเล่มเป็นแบบพิมพ์สองหน้า ถ้าไม่เลือกก็เป็นรูปเล่มแบบพิมพ์หน้าเดียว Facing pages เลือกให้เห็นหน้าที่จัดบนหน้าจอทีละสองหน้า ถ้าไม่เลือกจะเห็นหน้าที่จัดทีละหน้า (ตัวเลือกทั้งสองนี้ ให้ผลเช่นเดียวกับตัวเลือก ที่มีชื่อเหมือนกันในไดอะล็อกบ็อกซ์ Document Setup) Show detailed thumbnails เลือกเพ่ือดูรายละเอียดในหน้าที่จัด ถ้าไม่เลือกเราจะเห็นทุก ๆ หน้าเป็นสีทึบหมด ซึ่งท าให้ หน้าในวินโดวส์ Sort Pages ปรากฏรวดเร็วยิ่งขึ้น

Do not move elements เลือกแล้วออบเจ็กต์ต่าง ๆ ในหน้าจะอยู่คงท่ีแม้มีการเปลี่ยนรูปเล่มจากการ คลิก ตัวเลือก Double-sided แต่ถ้าไม่เลือกออบเจ็กต์ต่าง ๆ จะปรับเปลี่ยน ต าแหน่งไปตามลักษณะรูปเล่มที่เปลี่ยนไป (จากพิมพ์สองหน้าเป็นพิมพ์หน้าเดียวหรือกลับกัน ) เมื่อเลือกตัวเลือกในไดอะล็อกบ็อกซ์แล้วให้ คลิกปุ่ม OK

2. การสร้างสารบัญ ถ้าต้องการให้ PageMaker สร้างหน้าสารบัญให้โดยอัตโนมัติ เราควรมีการวางแผนการใช้สไตล์ของย่อหน้าตั้งแต่ก่อนที่จะเริ่มลงมือจัดหน้าหนังสือเลย เพราะสไตล์ของย่อหน้าจะช่วยในการก าหนดลักษณะของสารบัญที่ PageMaker สร้างออกมาได้มากทีเดียว ในตอนนี้จะกล่าวถึงการสร้างสารบัญส าหรับหนังสือที่มีทุก ๆ หน้ารวมอยู่ในไฟล์เดียวกันเท่านั้น ส่วนการจัดการกับหนังสือมีหลาย ๆ บทกระจายอยู่ในตอน “การรวมบท” ที่จะอธิบายต่อไป การสร้างสารบัญประกอบด้วย 2 วิธีด้วยกัน ได้แก่

วิธีที่ 1 คือการก าหนดบรรทัดที่เป็นหัวเรื่องท้ังหลายให้ไปปรากฏอยู่ในสารบัญ ซึ่งเราอาจใช้วิธีก าหนดไปทีละบรรทัดก็ได้ ดังนี้

Page 8: Unit 8

ขั้นตอนที่ 1 ใช้ Text Tool คลิกตรงบรรทัดที่เป็นหัวเรื่อง

รูปที่ 8.11 แสดงการคลิกท่ีบรรทัดหัวเรื่อง (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 2 เลือกค าสั่ง Type > Paragraph

รูปที่ 8.12 แสดงParagraph Specifications

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 3 คลิกตัวเลือกส าหรับการสร้าง ให้เราเลือกตรง Include in table of contents ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม OK

Page 9: Unit 8

หมายเหตุ ในการก าหนดหัวเรื่องส าหรับสารบัญ มีข้อควรระวังคือจะต้องไม่ใช้แท็บ (Tab) ในบรรทัดที่เป็นหัวเรื่อง เพราะแท็บจะมีผลต่อค าสั่งสร้างสารบัญโดยอัตโนมัติในขั้นตอนต่อไป ซึ่งจะท าให้สารบัญที่ได้ผิดเพี้ยนไปหากต้องการให้หัวเรื่องเว้นย่อหน้าก็ให้ใช้การก าหนด First-line indent แทน วิธีที่ 2 ของการสร้างสารบัญ คือการใช้ค าสั่งของ PageMaker เพ่ือน าเอาบรรทัดต่าง ๆ ในหน้าหนังสือมาสร้างสารบัญโดยอัตโนมัติ ขั้นตอนของการใช้ค าสั่งมีดังต่อไปนี้

ขั้นตอนที่ 1 เลือกค าสั่ง Utilities > Create TOC… ขั้นตอนที่ 2 ระบุลักษณะสารบัญ

รูปที่ 8.13 แสดงขั้นตอนท่ี 1, 2 และ 3 (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Replace existing table of contents เลือกเพ่ือให้สารบัญที่ก าลังจะสร้างใหม่ทับสารบัญที่มีอยู่เดิม

Include paragraphs on hidden layers เลือกเพ่ือให้หัวเรื่องในเลเยอร์อ่ืน ๆ ที่ไม่ใช้ เลเยอร์ปัจจุบันปรากฏในสารบัญด้วย

Page 10: Unit 8

Format: No page number เลือกไม่ให้มีเลขหน้าในสารบัญ Page number before entry เลือกให้เลขหน้าอยู่หน้าหัวเรื่อง Page number after entry เลือกให้เลขหน้าอยู่หลังหัวเรื่อง Between entry and page number: ระบุให้ตัวอักษรพิเศษท่ีจะอยู่ระหว่างหัวเรื่อง กับเลขหน้า โดยที่ ^t หมายถึงจุดไข่ปลา ซึ่งถ้าไม่ต้องการก็ลบออกไปได ้

ขั้นตอนที่ 3 คลิก OK ขั้นตอนที่ 4 PageMaker ใช้เวลาสร้างสารบัญสักครู่ จากนั้น ถ้าในข้ั นตอนที่ 2 เราเลือก

Replacing existing table of contents จะเกิดสารบัญใหม่ทับสารบัญเดิมทันที คลิก ตรงต าแหน่งที่เป็นหน้าสารบัญ

รูปที่ 8.14 แสดงการสร้างหน้าสารบัญ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

หมายเหตุ หากต้องการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหัวเรื่องในสารบัญที่ถูกสร้างออกมาเรียบร้อยแล้ว เราควร

กลับไปแก้ในหัวเรื่องในหน้าหนังสือ แล้วใช้ค าสั่งสร้างสารบัญใหม่อีกครั้งแทนที่จะมาแก้ไขในสารบัญโดยตรง วิธีนี้จะ ท าให้การแก้ไขของเราคงอยู่ตลอดไปไม่ต้องมานั่งแก้ท่ีจุดเดิมทุก ๆ ครั้งที่มีการสร้างสารบัญใหม่ขึ้นมา

2.1 การแก้ไขลักษณะตัวอักษรของสารบัญ สารบัญที่ PageMaker สร้างข้ึนโดยอัตโนมัตินั้นก็คือออบเจ็กต์ของข้อความธรรมดานี่เอง

ดังนั้นเราจึงสามารถปรับเปลี่ยนลักษณะต่าง ๆ ของตัวอักษรและข้อความที่ปรากฏในสารบัญได้ทันที

Page 11: Unit 8

แต่ก็ไม่ควรใช้วิธีนี้ เพราะหากมีการสร้างสารบัญครั้งใหม่ครั้งใด เราก็ต้องล าบากมาปรับเปลี่ยนลักษณะข้อความทุก ๆ ครั้ง

ทางท่ีถูกคือเราควรไปแก้ในสไตล์ของหัวเรื่องในสารบัญจะดีกว่า ซึ่งสไตล์ที่ว่านี้จะเกิดขึ้นเองพร้อมกับสารบัญที่โปรแกรมสร้างขึ้น โดยมีชื่อสไตล์ขึ้นต้นด้วยค าว่า TOC แล้วต่อท้ายด้วยชื่อสไตล์ที่หัวเรื่องนั้นใช้อยู่ เช่น จากหัวเรื่องท่ีใช้สไตล์ชื่อ Title จะเกิดสไตล์ส าหรับสารบัญชื่อ TOC Title เป็นต้น

รูปที่ 8.15 แสดงวิธีการแก้ไขช่ือหัวเรื่องในสไตล ์(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

3. การพิมพ์เครื่องหมายและเลขล าดับ การพิมพ์เครื่องหมายหน้าหัวข้อ ในกรณีที่พิมพ์ข้อความไว้แล้ว ถ้าต้องการก าหนด

เครื่องหมายต่าง ๆ วางหน้าข้อความเพ่ือให้เอกสารมีความสวยงามสามารถท าได้ดังนี้

รูปที่ 8.16 แสดงข้อความที่ต้องการใส่เครื่องหมาย (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

เลือกข้อความที่ต้องการ โดยใช้ จาก Tool Box ลากคลุมข้อความ ทุกบรรทัดที่ต้องการ แล้วท าตามขั้นตอน ดังนี้

Page 12: Unit 8

ขั้นตอนที่ 1 เลือก Plug-ins จาก Menu Utilities ขั้นตอนที่ 2 เลือก Bullets and Numbering

รูปที่ 8.17 แสดงขั้นตอนการใส่เครื่องหมายหน้าข้อความ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

จะปรากฏรายละเอียดดังรูปที่ 8.18

รูปที่ 8.18 แสดงหน้าต่างของ Bullets and Numbering (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ก าหนดรายละเอียดของการวางเครื่องหมายที่ต้องการในช่อง Range For Next: paragraphs ก าหนดให้กับข้อความกี่ย่อหน้า All those with style: ก าหนดให้ข้อความที่ถูกจัดโดย Style ที่ก าหนด Every paragraph in story ก าหนดให้ทุกย่อหน้า Only selected paragraphs ก าหนดให้เฉพาะย่อหน้าที่เลือกเท่านั้น

Page 13: Unit 8

ขั้นตอนที่ 3 คลิกปุ่ม Edit เพ่ือเลือกเครื่องหมายที่ต้องการ

รูปที่ 8.19 แสดงหน้าต่างของ Bullets and Numbering

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 4 เลือกชุดเครื่องหมายที่ต้องการในช่อง Font ขั้นตอนที่ 5 เลือกเครื่องหมายและก าหนดขนาดที่ต้องการในช่อง Size ขั้นตอนที่ 6 คลิกปุ่ม OK ขั้นตอนที่ 7 จะได้เครื่องหมายที่ต้องการดังนี้

รูปที่ 8.20 แสดงเครื่องหมายที่ต้องการปรากฏอยู่หน้าข้อความที่เลือก (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

3.1 การลบเครื่องหมายหน้าหัวข้อ

เมื่อก าหนดเครื่องหมายหน้าหัวข้อให้กับข้อความเรียบร้อยแล้ว ถ้าต้องการจะเปลี่ยนเครื่องหมายหน้าหัวข้อเป็นแบบอื่นสามารถท าได้ แต่ก่อนที่จะเปลี่ยนเครื่องหมายเป็นแบบอ่ืนจะต้องท าการลบเครื่องหมายเดิมที่ก าหนดไว้แล้วออกไปก่อน แล้วจึงก าหนดใหม่ ส าหรับขั้นตอนในการลบเครื่องหมายออกท าได้ดังนี้

Page 14: Unit 8

ขั้นตอนที่ 1 เลือกข้อความที่ต้องการลบเครื่องหมายออก อาจเลือกเพียงบรรทัดเดียวก็ได้ ขั้นตอนที่ 2 ลือก Plug-ins จาก Menu Utilities ขั้นตอนที่ 3 เลือก Bullets and Numbering ขั้นตอนที่ 4 คลิก ปุ่ม Remove จะปรากฏ Dialog Box ถามความแน่ใจ

ขั้นตอนที่ 5 ตอบ OK

รูปที่ 8.21 แสดงการลบเครื่องหมายหน้าหัวข้อ (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

3.2 การเปลี่ยนเครื่องหมายหน้าหัวข้อ

หลังจากท่ีก าหนดเครื่องหมายหน้าหัวข้อเรียบร้อยแล้ว ถ้าต้องการเปลี่ยนเครื่องหมายหน้าหัวข้อ สามารถเข้าไปเปลี่ยนได้โดยท าตามขั้นตอนเช่นเดียวกับการเข้าไปก าหนดดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 เลือกข้อความที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบเครื่องหมาย อาจเลือกเพียงบรรทัดเดียว ก็ได้

ขั้นตอนที่ 2 เลือก Plug-ins จาก Menu Utilities ขั้นตอนที่ 3 เลือก Bullets and Numbering ขั้นตอนที่ 4 คลิก ปุ่ม Edit เพ่ือเลือกเครื่องหมายที่ต้องการ ขั้นตอนที่ 5 เลือกชุดเครื่องหมายที่ต้องการในช่อง Font ขั้นตอนที่ 6 เลือกเครื่องหมายและก าหนดขนาดที่ต้องการในช่อง Size ขั้นตอนที่ 7 คลิกปุ่ม OK 2 ครั้ง

Page 15: Unit 8

รูปที่ 8.22 แสดงเครื่องหมายหน้าข้อความที่เปลี่ยนไป

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

3.3 การก าหนดเลขล าดับ

เลขล าดับคือ เลขท่ีพิมพ์ต่อเนื่องกันไป และมีระยะห่างท่ีเท่ากัน ซึ่งสามารถก าหนดได้ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 พิมพ์ข้อความที่ต้องการ ขั้นตอนที่ 2 เลือกข้อความที่ต้องการ โดยใช้ จาก Tool Box ขั้นตอนที่ 3 เลือก Plug-ins จาก Menu Utilities ขั้นตอนที่ 4 เลือก Bullets and Numbering ขั้นตอนที่ 5 คลิกปุ่ม Numbers ขั้นตอนที่ 6 เลือกรูปแบบตัวเลขที่ต้องการในช่อง Numbering Style

Page 16: Unit 8

ขั้นตอนที่ 7 เลือกตัวคั่นระหว่างตัวเลขกับข้อความที่ต้องการในช่อง Separator ขั้นตอนที่ 8 ก าหนดเลขเริ่มต้นที่ต้องการพิมพ์ในช่อง Start At ขั้นตอนที่ 9 ก าหนดขอบเขตการแสดงตัวเลขที่ต้องการในช่อง Range ขั้นตอนที่ 10 คลิกปุ่ม OK ดังรูปที่ 8.22

รูปที่ 8.22 แสดงหน้าต่างของ Bullets and Numbering (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 17: Unit 8

รูปที่ 8.23 แสดงตัวหน้าข้อความที่เปลี่ยนไป

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 10 ถ้าต้องการลบหรือเปลี่ยนรูปแบบเลขล าดับให้ท าเช่นเดียวกับเครื่องหมายหน้า

หัวข้อ

4. การพิมพ์ผลงานออกทางเคร่ืองพิมพ์ เมื่อสร้างงานเรียบร้อยแล้วถ้าต้องการสั่งพิมพ์งานออกทางกระดาษ สามารถท าได้ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 เลือก Print จากเมนู File

รูปที่ 8.24 แสดงการสั่ง Print ผลงาน (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 18: Unit 8

จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ ดังรูปที่ 8.25

รูปที่ 8.25 แสดงรายละเอียดไดอะล็อกบ็อกซ์ของค าสั่ง Print (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ก าหนดเครื่องพิมพ์ที่ต้องการในช่อง Printer ก าหนดจ านวนชุดที่ต้องการในช่อง Copies

Collate ก าหนดให้พิมพ์เป็นชุดต่อเนื่องกันไป Reverse ก าหนดให้พิมพ์จากหน้าสุดท้ายขึ้นมาหน้าแรก Proof ก าหนดให้พิมพ์แบบคร่าว ๆ ก าหนดหน้าที่ต้องการพิมพ์ในช่อง Pages

All พิมพ์ทุกหน้า Ranges พิมพ์เฉพาะหน้าที่ก าหนด ถ้าต้องการพิมพ์เฉพาะหน้าคี่ หน้าคู่ หรือทั้งสองหน้า ให้ก าหนดในช่อง Print Both Pages พิมพ์ทั้งสองหน้า Odd Pages พิมพ์เฉพาะหน้าคี ่ Even Pages พิมพ์เฉพาะหน้าคู ่ก าหนดแนวการพิมพ์ในช่อง Orientation ขั้นตอนที่ 2 คลิกปุ่ม Print หลังจากก าหนดรายการต่าง ๆ เรียบร้อยแล้ว

หน้าที่พิมพ์

จ านวนที่พิมพ์

Collate เรียงหน้าเป็นชุด ๆ เมื่อพิมพ์หลายชุด Reverse พิมพ์จากหน้าสุดท้ายไปหน้าแรก Proof พิมพ์เพื่อตรวจพรู๊ฟ

เลือกเครื่องพิมพ์

พิมพ์ทุกหน้าหรือเฉพาะหน้าคู่ หรือหน้าคี ่ แนววางกระดาษ

Page 19: Unit 8

ใบงานที่ 8.1 ก าหนดเวลาในการปฏิบัติงาน 180 นาที

จุดประสงค์ของงาน

น าเครื่องมือที่ได้เรียนมาน ามาประยุกต์ใช้ในการท าแผ่นพับ กิจกรรม

ค าสั่ง ให้นักศึกษาท าแผ่นพับ ดังนี้ 1. File>New>Document Setup ตั้งค่าหน้ากระดาษเป็นแนวนอนตามตัวอย่าง 2. ให้ก าหนดแบ่งคอลัมน์ 3 คอลัมน์ 3. ให้คลิกเมนู Layout>Column Guide สร้างคอลัมน์ ก าหนด 3 คอลัมน์จะได้งาน

คอลัมน์ 3 คอลัมน์ 4. ให้ไปก าหนดที่หน้า 2 ด้วย ให้ก าหนดการพิมพ์งานแต่ละคอลัมน์ดังนี้

Page 20: Unit 8

งานหน้าที่ 1

เกณฑ์การพิจารณา

1. ตั้งคอลัมน์ได้ถูกต้อง 2. ใช้ค าสั่งต่างๆ ได้ถูกต้อง 3. ตกแต่งแผ่นพับได้สวยงาม 4. ปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่ก าหนด

Page 21: Unit 8

ใบงานที่ 8.2 ก าหนดเวลาในการปฏิบัติงาน 180 นาที

จุดประสงค์ของงาน

น าเครื่องมือที่ได้เรียนมาน ามาประยุกต์ใช้ในการท าหน้าปก CD กิจกรรม

ค าสั่ง ให้นักศึกษาท าหน้าปก CD ดังนี้ 1. File>New>Document Setup ตั้งค่าหน้ากระดาษตามตัวอย่างจะได้ขนาดกระดาษ

เหมือนหน้าปกของ CD 2. สร้างเส้น Guide แบ่งต าแหน่งของการใส่รูปภาพและข้อความ 3. ให้ใช้เครื่องมือรูปออบเจ็กต์ต่าง ๆ วาดรูปทรงตกแต่งหน้าปก ใส่ข้อความที่เป็นข้อมูลของ

หน้าปก CD ใส่รูปภาพ ให้สวยงาม ตัวอย่าง

เกณฑ์การพิจารณา

1. ตั้งค่าหน้ากระดาษตามตัวอย่างได้ถูกต้อง 2. ใช้ค าสั่งในการวาดภาพและค าสั่งอื่นๆ ได้ถูกต้อง 3. ตกแต่งหน้าปก CD ได้สวยงาม 4. ปฏิบัติงานเสร็จตามเวลาที่ก าหนด