unit 3

22
บทที3 การใช้เมนูและแถบคาสั่งใน PageMaker 7.0 1. เมนู File เมนู File เป็นเมนูที่รวมคาสั่งเกี่ยวกับการจัดการ ต่าง ๆ ของโปรแกรม ซึ่งมีรายละเอียด คาสั่งดังนีรูปที3.1 แสดงคาสั่ง File ในแถบของ Menu Bar (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ , 2553) 1.1 คาสั่ง New… เป็นคาสั่งที่ใช้สาหรับสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ จะใช้คาสั่งนี้เมื่อต้องการพิมพ์ สิ่งพิมพ์ใหม่ เมื่อเลือกคาสั่งนี้จะปรากฏ ไดอะล็อกบ็อกซ์ ( Dialog Box) เพื่อให้กาหนดรายละเอียด ของหน้ากระดาษ เช่น ขนาด จานวนหน้า ขอบเขตการพิมพ์ ฯลฯ การใช้คาสั่ง New ถ้ามีแฟ้มข้อมูล เก่าอยู่จะมี Dialog Box ถามความต้องการว่าจะบันทึกแฟ้มเก่าหรือไม่ หลังจากตอบอย่างใดอย่าง หนึ่งแล้วจึงจะเริ่มได้ รูปที3.2 แสดงไดอะล็อกบ็อกของคาสั่ง New (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ , 2553)

Upload: comcmpoly

Post on 19-Jun-2015

89 views

Category:

Education


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: Unit 3

บทที่ 3 การใช้เมนูและแถบค าสั่งใน PageMaker 7.0

1. เมนู File เมนู File เป็นเมนูที่รวมค าสั่งเกี่ยวกับการจัดการ ต่าง ๆ ของโปรแกรม ซึ่งมีรายละเอียด

ค าสั่งดังนี ้

รูปที่ 3.1 แสดงค าสั่ง File ในแถบของ Menu Bar (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

1.1 ค าสั่ง New… เป็นค าสั่งที่ใช้ส าหรับสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ จะใช้ค าสั่งนี้เมื่อต้องการพิมพ์สิ่งพิมพ์ใหม่ เมื่อเลือกค าสั่งนี้จะปรากฏ ไดอะล็อกบ็อกซ์ ( Dialog Box) เพ่ือให้ก าหนดรายละเอียดของหน้ากระดาษ เช่น ขนาด จ านวนหน้า ขอบเขตการพิมพ์ ฯลฯ การใช้ค าสั่ง New ถ้ามีแฟ้มข้อมูลเก่าอยู่จะมี Dialog Box ถามความต้องการว่าจะบันทึกแฟ้มเก่าหรือไม่ หลังจากตอบอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วจึงจะเริ่มได้

รูปที่ 3.2 แสดงไดอะล็อกบ็อกของค าสั่ง New (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 2: Unit 3

1.2 ค าสั่ง Open… เป็นค าสั่งที่ใช้ส าหรับเปิดไฟล์ที่สร้างและบันทึกไว้แล้ว ไฟล์เอกสาร ที่สร้างและบันทึกไว้ถ้าต้องการน ามาใช้หรือแก้ไขปรับปรุงใหม่ก็สามารถเปิดไฟล์มาใช้ได้โดยเลือกค าสั่ง Open จากเมนู File

รูปที่ 3.3 แสดงการเปิดไฟล์งาน ที่ File > Open (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ในกรณีที่มีการบันทึกไฟล์ไว้แล้ว ถ้าต้องการเรียกไฟล์ ที่บันทึกไว้มาใช้งาน มีข้ันตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เลือก Open จาก Menu File

รูปที่ 3.4 แสดงไดอะล็อกบ็อกของค าสั่ง Open (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 2 เปิด Drive/Directory ที่บันทึก File ไว้ ขั้นตอนที่ 3 เลือกชื่อไฟล์ที่ต้องการเปิด

Page 3: Unit 3

รูปที่ 3.5 แสดงการเรียกหาช่ือไฟล์งานท่ีได้บันทึกไว ้

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม Open ก็จะได้งานที่บันทึกไว้ขึ้นมาใช้งาน และปรากฏชื่อของไฟล์งาน

อยู่ที่มุมบนด้านซ้ายมือใต้แถบของ Tool Bar ดังรูปที่ 3.6

รูปที่ 3.6 แสดงไฟล์งานที่ได้เปิดขึ้นมาพร้อมที่จะท าการแก้ไขหรือใช้งานต่อไป

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 4: Unit 3

1.3 ค าสั่ง Close เป็นค าสั่งส าหรับปิดไฟล์ที่เปิดอยู่บนจอภาพแต่ยังไม่ออกจาก โปรแกรมPageMaker 7.0 โดยปกติก่อนเปิดจะต้องตอบค าถามว่าจะบันทึกข้อมูลลงในไฟล์หรือไม่ ในกรณีท่ีเคยบันทึกไฟล์นี้แล้วจะถามว่า จะให้บันทึกข้อมูลที่แก้ไขครั้งหลังสุดนี้หรือไม่ ดังรูปที่ 3.7 แต่ถ้ายังไม่เคยบันทึกข้อมูลไฟล์มาก่อนจะถามชื่อไฟล์ที่ต้องการบันทึก

ขั้นตอนที่ 1 เลือก Close จากเมนู File ขั้นตอนที่ 2 ในกรณีที่ยังไม่ได้ท าการบันทึกข้อมูลไว้โปรแกรมจะมี ไดอะล็อกบ็อกซ์ เพื่อ

ถามถึงการบันทึก ขั้นตอนที่ 3 ตอบ Yes ถ้าต้องการบันทึกไฟล์ไว้

ตอบ No ถ้าไม่ต้องการบันทึกไฟล์ ตอบ Cancel ถ้าต้องการยกเลิกค าสั่ง

รูปที่ 3.7 แสดงการถามถึงการบันทึกหลังจากเลือกค าสั่ง Close (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 5: Unit 3

1.4 ค าสั่ง Save ใช้บันทึกข้อมูลที่สร้างหรือแก้ไขแล้วลงไฟล์ โดยจะถามชื่อไฟล์ทุกครั้งก่อนที่จะบันทึกซึ่งจะมีประโยชน์ในกรณีท่ีต้องการบันทึกข้อมูลลงในไฟล์ใหม่หรือต้องการเปลี่ยนดิสก์ไดรว์ ส าหรับบันทึก

รูปที่ 3.8 แสดงไดอะล็อกบ็อกของค าสั่ง Save (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

หลังจากท่ีมีการสร้างงานขึ้นมาแล้ว ถ้าต้องการเก็บไว้ใช้ในครั้งต่อไปจะต้องท าการบันทึกงานนั้น ๆ เอาไว้ใน Diskette หรือ Hard Disk ซึ่งถ้าต้องการเรียกใช้เมื่อใดก็สามารถใช้ค าสั่งในการเปิดไฟล์ เพ่ือเรียกงานที่บันทึกไว้มาใช้งานได้ ส าหรับวิธีการในการจัดการกับไฟล์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการบันทึก การเปิดไฟล์ ใช้งานหรือการปิดไฟล์สามารถท าได้ตามข้ันตอนดังนี้ การบันทึกงานที่สร้างไว้เพื่อน ามาใช้ในครั้งต่อไป ส าหรับขั้นตอนในการบันทึก นั้นสิ่งที่ส าคัญคือ ผู้ใช้ต้องก าหนด Drive หรือ Directory

รูปที่ 3.9 แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ของ Save Publication (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 6: Unit 3

ขั้นตอนที่ 1 ก าหนด Drive/Directory ที่จะเก็บไฟล์ให้ถูกต้อง และตั้งชื่อไฟล์ให้สอดคล้องกับงานท่ีท า เพื่อความสะดวกในการเรียกใช้ในครั้งต่อไป ส าหรับวิธีการบันทึกไฟล์ ท าได้ตามข้ันตอนดังนี้ที่ต้องการบันทึกไฟล์ ในที่นี้ให้บันทึกใน Drive G

ขั้นตอนที่ 2 ตั้งโฟลเดอร์ที่จัดเก็บไว้เป็นงานของตนเอง ในที่นี้ให้ตั้งโฟลเดอร์ว่า PageMaker ขั้นตอนที่ 3 ตั้งชื่อไฟล์ที่ต้องการในช่อง File Name ว่า Page01 ดังรูปที่ 3.10

รูปที่ 3.10 แสดงการจัดเก็บไฟล์งาน

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

ขั้นตอนที่ 4 คลิกปุ่ม Save ก็จะได้งานชื่อ Page01 อยู่ในโฟลเดอร์ที่ชื่อว่า PageMaker 7.0 ให้เราได้เรียกเปิดงานออกมาแก้ไขและปรับปรุงงานได้สะดวกและรวดเร็ว งานที่ได้บันทึกหรือจัดเก็บแล้ว จะแสดงชื่อของงานปรากฎอยู่ที่มุมบนด้านซ้ายมือของหน้าจอที่แถบ Title Bar แทนที่ Untitled-1 เป็นชื่องานที่ได้บันทึกว่า [G:\Page01.pmd] ดังรูปที่ 3.11

รูปที่ 3.11 แสดงงานท่ีได้บันทึกไว้และสามารถปิดงานนั้นได ้(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 7: Unit 3

1.5 ค าสั่ง Save As… บันทึกข้อมูลที่สร้างหรือแก้ไขแล้วลงไฟล์ โดยจะแบ่งเป็น 2 กรณี คือ กรณีที่ 1 ถ้าเป็นแฟ้มใหม่ท่ียังไม่เคยมีการบันทึกมาก่อน โปรแกรมจะถามว่า ต้องการ

จะเก็บแฟ้มนี้ในชื่อว่าอะไร หลังจากใส่ชื่อแล้ว ให้กดปุ่ม Save เพื่อท าการบันทึก กรณีที่ 2 ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลเก่าท่ีมีการบันทึกอยู่ก่อนแล้ว ถ้า Save As โดยใส่ชื่อเดิม

จะบันทึกลงในชื่อเดิม แต่ถ้า Save As ในชื่อที่ตั้งข้ึนใหม่ จะบันทึกให้เป็นแฟ้มใหม่ข้อมูลใหม่ทันที ซึ่งจะไม่ไปแทนที่ข้อมูลเก่า

1.6 ค าสั่ง Revert เป็นการกลับไปข้อมูลเดิม ยกเลิกการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลทั้งหมดที่

ได้ท าไปแล้วก่อน Save หรือ Save as ลงไฟล์เมื่อเลือกค าสั่งนี้จะมไีดอะล็อกบ็อกซ์ถามความแน่ใจ

รูปที่ 3.12 แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ของค าสั่ง Revert (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

1.7 ค าสั่ง Place… เป็นการน าเอาข้อมูลจากโปรแกรมต่าง ๆ เช่น โปรแกรมทางด้านรูปภาพ ด้านตัวอักษรหรือข้อความ ฯลฯ มาประกอบในการจัดหน้ากระดาษ

1.8 Acquire เป็นค าสั่งส าหรับน าภาพชนิด TIFF เข้ามาไว้ใน PageMaker

1.9 ค าสั่ง Export เป็นการแปลงเพื่อโอนย้ายไฟล์ข้อมูลที่สร้างโดยโปรแกรม PageMaker ไปเป็นไฟล์ข้อมูลแบบข้อความ (Text Only) หรือเป็นข้อมูลของโปรแกรม Word Processor อ่ืน ๆ

1.10 ค าสั่ง Links Manager ตัวควบคุมและจัดการเกี่ยวกับการ Link File และจะเป็นค าสั่งที่ใช้ในการแก้ไขหรือปรับปรุงข้อมูลนั้น

1.11 ค าสั่ง Document Setup ส าหรับใช้ก าหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของหน้ากระดาษ 1.12 ค าสั่ง Printer Styles เป็นค าสั่งทีใ่ช้ก าหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์งาน

Page 8: Unit 3

1.13 ค าสั่ง Print ใช้ในการสิ่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์

รูปที่ 3.13 แสดงรายละเอียดไดอะล็อกบ็อกของค าสั่ง Print

1.14 ค าสั่ง Preferences ใช้ก าหนดมาตรวัดและการแสดงผลในจอภาพ 1.15 ค าสั่ง Send Mail ใช้สั่งส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์

รูปที่ 3.14 แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ของค าสั่ง Send Mail

1.16 ค าสั่ง Exit เป็นค าสั่งส าหรับออกจากโปรแกรม PageMaker

หน้าที่พิมพ์

จ านวนที่พิมพ์

Collate เรียงหน้าเป็นชุด ๆ เมื่อพิมพ์หลายชุด Reverse พิมพ์จากหน้าสุดท้ายไปหน้าแรก Proof พิมพ์เพื่อตรวจพรู๊ฟ

เลือกเครื่องพิมพ์

พิมพ์ทุกหน้าหรือเฉพาะหน้าคู่ หรือหน้าคี ่ แนววางกระดาษ

Page 9: Unit 3

2. เมนู Edit ค าสั่ง Edit เป็นค าสั่งที่ใช้ส าหรับเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายละเอียดต่าง ๆ ของสิ่งพิมพ์ประกอบไปด้วยค าสั่งต่างๆ ดังนี้

รูปที่ 3.15 แสดงค าสั่ง Edit ในแถบของ Menu Bar (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

2.1 ค าสั่ง Undo Cut ยกเลิกค าสั่งที่ได้ใช้ ตัดหรือลบชิ้นงาน ไปแล้วในขณะนั้น ซึ่งค าสั่งที่จะใช้ค าสั่ง Undo ยกเลิกได้จะมีสีเข้มให้เห็น ส่วนค าสั่งใดถ้าใช้ค าสั่ง Undo ไม่ได้จะมีสีจาง 2.2 ค าสั่ง Cut ใช้ตัดส่วนของข้อความที่เลือกไว้จากจอภาพไปเก็บไว้ใน Clipboard ซึ่งถ้า มีข้อมูลเดิมใน Clipboard ก็จะถูกลบทันท ี

2.3 ค าสั่ง Copy ใช้สั่งใหค้ัดลอกข้อความหรือภาพที่เลือกไว้แล้วเก็บลงใน Clipboard คล้ายกับค าสั่ง CUT แต่ข้อความหรือภาพที่เลือกไว้จะไม่หายไปเหมือนค าสั่ง Cut 2.4 ค าสั่ง Paste น าข้อมูลจาก Clipboard ที่ได้จากการ Cut หรือ Copy มาแปะหรือแทรกในเอกสารสิ่งพิมพ์ที่ก าลังจัดอยู่ในขณะนั้น 2.5 ค าสั่ง Clear ใช้สั่งเมื่อต้องการให้ ลบข้อความหรือภาพ ที่ไม่ต้องการออก จากสิ่งพิมพ์บนจอภาพ 2.6 ค าสั่ง Select All เลือกข้อความหรือภาพทั้งหมด ที่ไม่ต้องการ ทั้งบนจอภาพของหน้าสิ่งพิมพ์และส่วนของ Pasteboard เมื่อเลือกค าสั่งนี้จะสังเกตเห็นส่วนของข้อความจะมีเส้นแบ่งขอบเขตแสดงออกมา และส่วนภาพจะแสดงจุดล้อมรอบภาพ

Page 10: Unit 3

2.7 ค าสั่ง Deselect All ยกเลิกการเลือกวัตถุหรือข้อความทั้งหมด

2.8 ค าสั่ง Paste Multiple… น าข้อความหรือวัตถุออกมาหลาย ๆ ชิ้นหรือหลาย ๆ ข้อความ

2.9 ค าสั่ง Paste Special น าข้อความหรือวัตถุมาจากโปรแกรมอ่ืน

2.10 ค าสั่ง Insert Object น าข้อความจากโปรแกรมอ่ืนเข้ามาใน PageMaker

2.11 ค าสั่ง Edit Story โหมดการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสิ่งพิมพ์ที่เป็นข้อความ

2.12 ค าสั่ง Edit Original แก้ไขวัตถุต้นแบบที่ใช้ในการ Link

3. เมนู Layout ค าสั่ง Layout เป็นค าสั่งที่เกี่ยวกับการจัดหน้ากระดาษงานพิมพ์ต่างๆ ประกอบด้วยค าสั่ง

ต่างๆ ดังนี้

รูปที่ 3.16 แสดงค าสั่ง Layout ในแถบของ Menu Bar (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

3.1 ค าสั่ง Go to Page… หมายถึงการเลือกเปลี่ยนหน้า ไปยังหน้าที่ต้องการ เมื่อเลือกค าสั่งนี้จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ ดังรูปที่ 3.17

Page 11: Unit 3

รูปที่ 3.17 แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ของ Go to Page (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

3.2 ค าสั่ง Insert Pages…หมายถึงการเพ่ิมหรือแทรกหน้ากระดาษว่างเพ่ิมเข้าไป โดยพิมพ์จ านวนหน้าที่ต้องการ ในส่วนของ Insert Page ดังรูปที่ 3.18

รูปที่ 3.18 แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ของ Insert Page (s) (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

3.3 ค าสั่ง Remove Pages… คือการลบหน้ากระดาษที่ไม่ต้องการทิ้งไป และจะลบทุกอย่างที่อยู่บนหน้านั้นด้วย ดังนั้น (จึงควรระวังเมื่อใช้ค าสั่งนี้) เมื่อเลือกค าสั่งนี้ 3.4 ค าสั่ง Sort Pages จัดเรียงหน้าเอกสารใหม่ 3.5 ค าสั่ง Go Back เลื่อนกลับไปยังหน้าที่ผ่านมา 3.6 ค าสั่ง Go Forward เลื่อนไปยังหน้าต่อไป 3.7 ค าสั่ง Column Guide ก าหนดจ านวนและระยะห่างของ Column 3.8 ค าสั่ง Copy Master Guides คัดเลือกเส้นประจากหน้าต้นแบบไปให้หน้าอื่นด้วย 3.9 ค าสั่ง Autoflow ก าหนดการไหลของข้อความที่โอนมาโดยใช้ค าสั่ง Place

Page 12: Unit 3

4. เมนู Type ค าสั่ง Type เป็นค าสั่งใช้ก าหนดลักษณะของ รูปแบบและสไตล์ของ ตัวอักษรส าหรับพิมพ์รายละเอียด ประกอบไปด้วยค าสั่งต่างๆ ดังนี้

รูปที่ 3.19 แสดงค าสั่ง Type ในแถบของ Menu Bar (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

4.1 ค าสั่ง Font

ค าสั่ง Font เป็นการ ก าหนดชนิด รูปแบบ ของตัวอักษรแบบต่าง ๆ อยู่ในส่วนของ Subdirectory ของวินโดวส์ ดังนั้น การเลือกฟอนต์ที่ให้สนับสนุนภาษาไทย ให้สังเกตที่แสดงออกมาจะต้องลงค าต่อท้ายด้วย UPC ส าหรับในส่วนของไมโครซอฟท์ ฟอนต์ที่จะสนับสนุน ภาษาไทยจะมี 2 รูปแบบ คือ ที่เป็น UPC และท่ีเป็นฟอนต์ใหม่ เช่น Angsana new หรือ Courier new เป็นต้น การใช้ค าสั่ง Font โดยคลิกที่เมนู Type > Font จะแสดงรายชื่อ Font ออกมา

รูปที ่3.20 แสดงรายการรูปแบบของตัวอักษรที่มีให้เลือก ในค าสั่ง Font (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 13: Unit 3

4.2 ค าสั่ง Size เป็นการเลือกขนาดให้กับตัวอักษรที่เราได้ก าหนดไว้ก่อนที่จะพิมพ์ลงบนหน้ากระดาษ ซึ่งตัวอักษรแต่ละชนิดจะมีขนาดไม่เท่ากัน 4.3 ค าสั่ง Leading เป็นการก าหนดความสูงของ ระยะห่างระหว่างบรรทัด แต่ให้ขนาดของตัวอักษรเท่าเดิม ซึ่งในค าสั่ง Leading จะมีค่าให้มาอยู่หลายค่า โดยค่าเริ่มต้น เป็น Auto ไปจนถึง 48 หรืออาจเป็นค่าที่ระบุเองก็ได้เช่นกัน 4.4 ค าสั่ง Type Style เป็นการก าหนดรูปแบบให้กับข้อความ การพิมพ์แบบต่าง ๆ เช่น ตัวปกติ ตัวเอียง ตัวหนา เป็นต้น 4.5 ค าสั่ง Expert Kerning การลดช่องว่างระหว่างตัวอักษร 4.6 ค าสั่ง Expert Tracking เป็นการก าหนดระยะห่างระหว่างตัวอักษร ให้ห่างออกจากกัน หรือชิดเข้าหากัน ในค าสั่งจะแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ ห่างออกจากกัน (Loose) ให้มีระยะปกติ (Normal) และให้ชิดเข้าหากัน (Tight) ดังรูปที่ 3.21

รูปที่ 3.21 แสดงค าสั่งย่อยของ Export Tracking (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

4.7 ค าสั่ง Horizontal Scale เป็นการก าหนด Scale ในแนวนอนให้กับข้อความ จะท าให้ตัวอักษรมีความกว้างตามค่าที่เราได้ก าหนดไว้

Page 14: Unit 3

รูปที่ 3.22 แสดงค าสั่งย่อยของ Horizontal Scale (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

4.8 ค าสั่ง Character เป็นการก าหนด ฟอนต์ ขนาด รูปแบบ ระยะห่างต่าง ๆ ตัวอักษร 4.9 ค าสั่ง Paragraph เป็นค าสั่งที่มีหน้าที่ในการก าหนดระยะของหน้ากระดาษ รายละเอียดของย่อหน้า 4.10 ค าสั่ง Indents / Tabs ก าหนดระยะ Tab 4.11 ค าสั่ง Hyphenation ก าหนดให้แสดง Hyphenation หรือไม ่ 4.12 ค าสั่ง Alignment จัดข้อความชิดขอบตามด้านต่าง ๆ ที่ต้องการ เช่น

Align Left เป็นการเรียงข้อความให้ชิดขอบซ้ายของหน้ากระดาษ Align Center เป็นการจัดเรียงข้อความให้อยู่ต าแหน่งกึ่งกลาง Align Right เป็นการจัดเรียงข้อความให้ชิดขอบด้านขวาของหน้ากระดาษ Justify เป็นการจัดเรียงข้อความให้อยู่ในแนวเดียวกัน Force Justify เป็นการจัดเรียงข้อความให้อยู่ในแนวเดียวกัน รวมทั้งไฟล์ตัวอักษรให้

อยู่ในแนวตรงเดียวกันหมด ดังแสดงในรูปที่ 3.23

Page 15: Unit 3

รูปที ่ 3.23 แสดงค าสั่งย่อยของ Alignment

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

4.13 ค าสั่ง Style เลือกรูปแบบที่ก าหนดไว้แล้วมาใช้กับข้อความที่ต้องการ เช่น เราสามารถที่จะก าหนดได้ตั้งแต่ หัวข้อใหญ่ หัวข้อย่อย ค าบรรยายใต้ภาพ เนื้อหา และอ่ืน ๆ

4.14 ค าสั่ง Define Style เป็นการก าหนดหรือสร้างรูปแบบตัวอักษร ลงในสไตล์ เช่น เลือกฟอนต์ ขนาด ตัวเน้น และสีให้กับข้อความ

5. เมนู Element ค าสั่ง Element เป็นเมนูที่รวมค าสั่งของการตกแต่งภาพและแก้ไขภาพใน PageMaker ที่

เมนู Element จะประกอบไปด้วยค าสั่งต่าง ๆ มากมาย เช่น Fill, Stroke, Fill and Stroke, Frame, Arrange, Align Object, Text Warp, Group, Ungroup, Lock Position, Unlock, Mask, Unmask, Image, Polygon Setting, Rounded Corners, Link Info, Link Option, Non – Printing, Remove Transformation จะปรากฏอยู่ในค าสั่งย่อยต่าง ๆ ในรูปที่ 3.24

รูปที่ 3.24 แสดงค าสั่ง Element ในแถบของ Menu Bar (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 16: Unit 3

1.1 ค าสั่ง Fill ก าหนดลักษณะลวดลายของพ้ืนวัตถุ

1.2 ค าสั่ง Stroke ก าหนดลักษณะของเส้นให้วัตถุ

1.3 ค าสั่ง Fill and Stroke ก าหนดลักษณะของเส้นและลวดลายของพ้ืนให้วัตถุ

1.4 ค าสั่ง Frame จัดการกบักรอบเอกสาร

1.5 ค าสั่ง Arrange จัดล าดับหรือต าแหน่งในการวางวัตถุ

1.6 ค าสั่ง Align Object จัดแนวการวางวัตถุ

1.7 ค าสั่ง Text Warp ก าหนดลักษณะการวางภาพกับข้อความ

5.8 ค าสั่ง Group รวมกลุ่มวัตถ ุ

1.9 ค าสั่ง Ungroup ยกเลิกการรวมกลุ่มวัตถุ

5.10 ค าสั่ง Lock Position ล็อคต าแหน่งของวัตถุ 5.11 ค าสั่ง Unlock ยกเลิกการล็อค 5.12 ค าสั่ง Mask การตัดส่วนวัตถุให้อยู่ในขอบเขตของวัตถุที่ต้องการ 5.13 ค าสั่ง Unmask ยกเลิกการตัดส่วนวัตถุ 5.14 ค าสั่ง Image การก าหนดรายละเอียดให้ภาพ 5.15 ค าสั่ง Polygon Setting ก าหนดลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม 5.16 ค าสั่ง Rounded Corners ก าหนดลักษณะมุมของสี่เหลี่ยมให้กลมมน

Page 17: Unit 3

5.17 ค าสั่ง Link Info แสดงรายละเอียดของวัตถุที่มีการเชื่อมโยงกันอยู่ 5.18 ค าสั่ง Link Option ก าหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของการเชื่อมโยงไฟล์ 5.19 ค าสั่ง Non – Printing ก าหนดให้วัตถุไม่สามารถสั่งพิมพ์ออกไปได ้ 5.20 ค าสั่ง Remove Transformation ยกเลิกการหมุน การบิด การท าภาพสะท้อนของวัตถ ุ

6. เมนู Utilities ค าสั่ง Utilities เป็นที่รวมเอาค าสั่งต่าง ๆ มาเก็บไว้ในส่วนนี้ อีกท้ังยังมีส่วนที่ส าคัญของ

โปรแกรม PageMaker 7.0 ดังนี้

รูปที่ 3.25 แสดงค าสั่ง Utilities ในแถบของ Menu Bar (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

6.1 ค าสั่ง Plug-ins ชุดค าสั่งที่อ านวยความสะดวกในการท างาน 6.2 ค าสั่ง Find ใช้ค้นหาข้อความในสิ่งพิมพ์ 6.4 ค าสั่ง Find Next ค้นหาค าเดิมต่อไป 6.5 ค าสั่ง Change ค้นหาและเปลี่ยนข้อความ

Page 18: Unit 3

6.6 ค าสั่ง Spelling ตรวจสอบตัวสะกดตามหลักไวยากรณ์ 6.7 ค าสั่ง Book สร้างหนังสือ 6.8 ค าสั่ง Index Entry สร้างดัชนี 6.9 ค าสั่ง Show Index แสดงดัชนีที่สร้างไว้ 6.10 ค าสั่ง Create Index สร้างดัชนีจากเอกสารที่เปิดอยู่ 6.11 ค าสั่ง Create Toc.. สร้างสารบัญ (Table of Contents) 6.12 ค าสั่ง Define Colors การจัดการเก่ียวกับสี

7. เมนู View ค าสั่ง View เป็นค าสั่งที่เกี่ยวกับการจัดการกับหน้าจอภาพ ประกอบไปด้วยค าสั่งต่างๆ ดังนี้

รูปที่ 3.26 แสดงค าสั่งView ในแถบของ Menu Bar (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

7.1 ค าสั่ง Display Master Items แสดงข้อความหรือวัตถุที่อยู่ในหน้าต้นแบบลงในหน้าเอกสาร

Page 19: Unit 3

7.2 ค าสั่ง Display Non – Printing Items แสดงวัตถุท่ีก าหนดให้พิมพ์ออกไปไม่ได้ 7.3 ค าสั่ง Zoom In ขยายขนาดหน้าจอให้ใหญ่ข้ึนทีละข้ัน 7.4 ค าสั่ง Zoom Out ลดขนาดหน้าจอให้เล็กลงทีละขั้น 7.5 ค าสั่ง Actual Size แสดงเอกสารขนาดปกติ 7.6 ค าสั่ง Fit in Window แสดงย่อให้เห็นทั้งหน้ากระดาษบนจอภาพ 7.7 ค าสั่ง Entire Pasteboard แสดงพื้นท่ีทั้งหมดของกระดาษทด 7.8 ค าสั่ง Zoom To ปรับขนาดหน้าจอตามขนาดที่ต้องการ 7.9 ค าสั่ง Hide Rulers ซ่อนไม้บรรทัด 7.10 ค าสั่ง Snap to Rulers วางข้อความหรือวัตถุบนเส้น Ruler 7.11 ค าสั่ง Zero Lock ล็อคต าแหน่งศูนย์ 7.12 ค าสั่ง Hide Guides ซ่อนเส้นไกด์ 7.13 ค าสั่ง Snap to Guides วางข้อความหรือวัตถุบนเส้นไกด์ 7.14 ค าสั่ง Lock Guides ล็อคเส้นไกด ์ 7.15 ค าสั่ง Clear Ruler Guides ยกเลิกเส้น Ruler Guides 7.16 ค าสั่ง Send Guides to Back น าเส้นไกด์ไปไว้ด้านหลัง 7.17 ค าสั่ง Hide Scroll Bars ซ่อนแถบเลื่อนข้อมูล

Page 20: Unit 3

8. เมนู Window ค าสั่ง Window เป็นที่เก็บรวบรวมของชุดเครื่องมือต่างๆ ที่สามารถเรียกใช้และจัดเก็บชุดเครื่องมือเหล่านั้นไว้เมื่อไม่ต้องการใช้งาน ประกอบไปด้วยค าสั่งต่างๆ ดังนี้

รูปที่ 3.27 แสดงค าสั่ง Window ในแถบของ Menu Bar (ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

8.1 ค าสั่ง Arrange Icon จัด Icon เอกสาร 8.2 ค าสั่ง Tile จัดการวางหน้าต่างเอกสารเป็นช่อง 8.3 ค าสั่ง Cascade จัดการวางหน้าต่างเอกสารเป็นชั้น 8.4 ค าสั่ง Show Control Palette แสดง/ซ่อน Control Palette 8.5 ค าสั่ง Show Colors แสดง/ซ่อนตารางสี 8.6 ค าสั่ง Show Styles แสดง/ซ่อนชื่อ Styles 8.7 ค าสั่ง Show Layers แสดง/ซ่อนชื่อ Layers 8.8 ค าสั่ง Show Master Pages แสดงหน้าต้นแบบ 8.9 ค าสั่ง Show Hyperlinks แสดง/ซ่อน Hyperlink Palette

Page 21: Unit 3

8.10 ค าสั่ง Plug - in Palette แสดง/ซ่อน Plug-In Palettes

9. เมนู Help ค าสั่ง Help เป็นเมนูที่มีค าสั่งเกี่ยวกับระบบช่วยเหลือ /วิธีใช้/รายละเอียดของโปรแกรม

รูปที่ 3.28 แสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ของค าสั่ง Help

(ที่มา : สุรีรัตน์ ทักษะวสุ, 2553)

Page 22: Unit 3

ใบงานที่ 3.1 จุดประสงค์ของงาน

1. เพ่ือให้นักศึกษาฝึกหัดการเรียกใช้ค าสั่งได ้

กิจกรรม 1. ให้นักศึกษาเรียกใช้เมนูค าสั่งต่างๆ ดังนี้ File, Edit, Layout, Type, Utilities, View,

Window และ Help เกณฑ์การพิจารณา

1. ตรวจดูที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่นักศึกษาใช้ว่ามีการเรียกใช้เมนูค าสั่งถูกต้องหรือไม่

หมายเหตุ ไม่มีคะแนน มีเกณฑ์ผ่านหรือไม่ผ่าน