tfpa weekly brief 14-20 jun 11 issue 20

50
Vol. 2 Issue 20 1 14 - 20 June 2011 Thai Food Processors’ Association WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2 issue 20 www.thaifood.org P i n ea p p l e S w e et C or n T u na S e af oo d F r ui t s & Veget a bl es F ood I ngr edient s & Ready- t o- Eat พรบ.ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ แวดล้อม ในการท�างาน พ.ศ.2554 จี้รัฐบาลวางนโยบายความมั่นคง อาหาร-พลังงาน อียูปลื้มระบบป้องกันประมงไอยูยูของไทย สถานการณ์กัมมตรังสีและมาตรการความ ปลอดภัยของอาหารญี่ปุ ่น อกอีแป้นแตกปิดหีบอ้อยปีน้ 96 ล้านตัน

Upload: thai-food-processors-association

Post on 28-Mar-2016

219 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

TRANSCRIPT

Page 1: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

Vol. 2 Issue 2014 - 20 June 2011

1

14 - 20 June 2011

Thai Food Processors’ Association

WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2

issue 20

www.thaifood.org

Pineap

ple Sweet Corn Tun

a Se

afood

Fruits &

Vegetab

les Food

Ingredients &

Ready-to-Eat

พรบ.ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�างาน พ.ศ.2554

จี้รัฐบาลวางนโยบายความมั่นคงอาหาร-พลังงาน

อียูปลื้มระบบป้องกันประมงไอยูยูของไทย

สถานการณ์กัมมตรังสีและมาตรการความปลอดภัยของอาหารญี่ปุ่น

อกอีแป้นแตกปิดหีบอ้อยปีนี้ 96 ล้านตัน

Page 2: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011

2

ContentsContentsข่าวประชาสัมพันธ์• ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา “เตรียมรับมือ พรบ.ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�างาน พ.ศ.2554” เอกสารแนบ 1 • เชิญเข้าร่วมสัมมนาฟรี เรื่อง เจาะตลาด EU ด้วยมาตรฐาน GlobalGAP เอกสารแนบ 2• ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา เรื่อง “เตรียมพร้อม รองรับ ปรับตัว FTA ไทย-EU และไทย-EFTA” เอกสารแนบ 3• ขอเชิญเข้าร่วมงาน “The 2011 China (Qinghai) International Halal Food and Products Fair” เอกสารแนบ 4

สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร• สถานการณ์กัมมตรังสีและมาตรการความปลอดภัยของอาหารญ่ีปุ่น เอกสารแนบ 5 • แคนาดาไฟเขียวน�าเข้าอาหารญี่ปุ่น• ไต้หวันท�าลายอาหารปนเปื้อนสารก่อมะเร็ง 12 ตัน • “ซีพี-มาม่า-องุ่น”แห่ติดฉลากคาร์บอน ขี่กระแสลดโลกร้อนหวังบุกตลาดตปท.• ญี่ปุ่นห้ามส่งออกชาจาก 4 จังหวัด• มะกันออกกฎน�าเข้าเงาะสดจากมาเลย์และเวียดนาม• EU สนับสนุนกฎให้แสดงฉลากโภชนาการ • สหราชอาณาจักรออกมาตรฐานการติดฉลากอาหาร (Composition and Labelling Standards)

สถานการณ์ด้านประมง• อียูปลื้มระบบป้องกันประมงไอยูยูของไทย• พาณิชย์เตือนผู้ส่งออกรับมือสหรัฐ ออกกฎป้องผู้บริโภคอาหารทะเล• UN เรียกร้องโลกให้อนุรักษ์ทะเลเพื่อสิ่งมีชีวิตรุ่นหลัง • จีนน�าโด่ง ธุรกิจฟาร์มเลี้ยงปลาเติบโตอย่างรวดเร็ว • ญี่ปุ่นพบปริมาณซิเซียมในปลาวาฬ • กรมประมงเตือนห้ามใช้ยาปฏิชีวนะเลี้ยงกุ้ง • 10 ชาติถกแผนความมั่นคงประมง อาเซียน-ญ่ีปุ่นจับมือ”ซีฟเดค” วางกรอบแก้สัตว์น�้าขาดแคลน

สถานการณ์ด้านเกษตร• ราคาผักและผลไม้ในสเปนร่วง เหตุถูกเข้าใจผิดเรื่องเชื้อ E. coli• อกอีแป้นแตกปิดหีบอ้อยปีนี้ 96 ล้านตัน!

สถานการณ์ด้านการค้า• คนท่ัวโลกปรับการรับประทานอาหาร• พาณิชย์เดินหน้าจัด ‘ไทยแลนด์ เบสท์ เฟรนด์’ กระตุ้นส่งออก • ไทยโอดสินเค้าเข้าจีนยาก เสนอจัดเวิร์กชอป• ก.พลังานดีเดย์ ขึ้นแอลพีจี 1 ก.ค.ภาคอุตฯ• จ้ีรัฐบาลวางนโยบายความมั่นคงอาหาร-พลังงาน• ไทยตาโตตลาดอาหารอินโดฯ• เอกชนโวยอุปสรรคลงทุน AEC

สรุปการประชุม ครม.อัตราแลกเปลี่ยน

3

344

55667778

991010111112

1313

14141515161717

03

05

09

13

20

14

19

Page 3: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

Vol. 2 Issue 2014 - 20 June 2011

3

Contentsข่าวประชาสัมพันธ์

ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา

“เตรียมรับมือ พรบ.ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ

สภาพแวดล้อม ในการท�างาน พ.ศ.2554” เอกสารแนบ 1

พรบ.ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม

ในการท�างาน พ.ศ.2554 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

แล้ว เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2554 และจะมีผลใช้บังคับ

ในวันที่ 16 กรกฎาคม 2554 สาระส�าคัญ คือ“ให้ราชการ

ส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และ

กิจการอื่นตามที่ก�าหนดในกฎกระทรวง จัดให้มีมาตรฐานใน

การบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย

และสภาพแวดล้อมในการท�างานในหน่วยงานของตน” การ

ก�าหนดให้สถานประกอบการต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย

ในการท�างาน (จป.) การก�าหนดบทลงโทษ และข้อปฏิบัติ

ต่างๆที่นายจ้างจะต้องจัดให้มีตามพระราชบัญญัติดังกล่าว

download พรบ. ได้ที่ http://www.hrcenter.co.th/

law/safety.pdf

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ก�าหนดจัดสัมมนา

เตรียมรับมือฯ ในวันอังคารที่ 12 กรกฎาคม 2554 เวลา

13.00-16.30 น. ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เพื่อให้

ผู้ประกอบการและผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยว

กับสาระส�าคัญ การตีความรายมาตราตามข้อก�าหนด และ

รับทราบเทคนิค/ แนวปฏิบัติตามกฎหมายน้ี อัตราค่าลง

ทะเบียนส�าหรับสมาชิกสภาอุตฯ 700 บาท/ท่าน บุคคล

ทั่วไป 1,000 บาท/ ท่าน ผู้สนใจส่งเอกสารตอบรับการ

เข้าร่วมสัมมนาฯไปท่ีงานแรงงาน สภาอุตฯ ภายในวันที่ 7

กรกฎาคม 2554 ทางโทรสารหมายเลข 02-3451036 หรือ

02-3451293 รายละเอียดดัง เอกสารแนบ 1

เชิญเข้าร่วมสัมมนาฟรี เรื่อง เจาะตลาด EU ด้วย

มาตรฐาน GlobalGAP เอกสารแนบ 2

“กรมการค้าต่างประเทศ ก�าหนดจัดสัมมนา เรื่อง “เจาะ

ตลาด EU ด้วยมาตรฐาน GlobalGAP” ในวันศุกร์ที่ 22

กรกฎาคม 2554 ณ ห้องริชมอนด์บอลรูม 2 ชั้น 4 โรงแรม

ริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี เพื่อให้ผู้ประกอบการที่ผลิตและส่ง

ออกสินค้าเกษตรและอาหารไป EU ได้รับความรู้ความเข้าใจ

เกี่ยวกับขั้นตอนปฏิบัติตามมาตรฐาน GlobalGAP และ

พัฒนามาเป็นมาตรฐาน ThaiGAP รวมทั้งเตรียมความพร้อม

ให้แก่ผู้ผลิตรายใหม่ที่สนใจจะประกอบธุรกิจส่งออกสินค้า

เกษตรและอาหารไป EU และประเทศอื่นๆ ที่ใช้มาตรฐาน

GlobalGAP เป็นมาตรฐานเทียบเคียง (รายละเอียดตาม

สิ่งที่ส่งมาด้วย) สมาคมฯ จึงขอเรียนเชิญท่านสมาชิกฯ

เข้าร่วมสัมมนาในเรื่องดังกล่าว โดยสามารถส่งเอกสาร

ตอบรับการเข้าร่วมสัมมนาฯไปที่ส�านักมาตรการทางการค้า

โทรสารหมายเลข 02-5474736 หรือ 02-5474881 ภายใน

วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 ทั้งนี้สามารถเข้าร่วมสัมมนาฯ

ได้จ�านวน 3 ท่าน/บริษัท และไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ” ราย

ละเอียด เอกสารแนบ 2

Page 4: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011

4

ขอเชิญเข้าร่วมสัมมนา เร่ือง “เตรียมพร้อม รองรับ ปรับ

ตัว FTA ไทย-EU และไทย-EFTA” เอกสารแนบ 3

ด้วยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศจะจัดสัมมนา

เรื่อง “เตรียมพร้อม รองรับ ปรับตัว FTA ไทย-EU และ

ไทย-EFTA” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากทุกภาคส่วนของไทยได้ทราบข้อมูล

สถานะล่าสุดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมของไทยในการ

ท�าความตกลง FTA และ ไทย-EU และ ไทย-EFTA” ให้ทุก

ภาคส่วนที่อาจได้รับประโยชน์ผลกระทบจาก FTA และสร้าง

ความสัมพันธ์ ตระหนักเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากภาครัฐ

ในการเยียวยา ในวันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน 2554 ณ

ห้องเรนโบว์ ชั้น 5 โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค สุขุมวิท

22 กรุงเทพฯ รายละเอียดเอกสารแนบ 3

ขอเชิญเข้าร่วมงาน “The 2011 China (Qinghai)

International Halal Food and Products Fair” เอกสาร

แนบ 4

สมาคมส่งเสริมการค้าอาเซียน (ASEAN TRADE

PROMOTION ASSOCIATION) and FOOD INDUSTRY

NETWORK CO., LTD. ขอเชิญผู้ประกอบการอุตสาหกรรม

เข้าร่วมงานแสดงสินค้า “The 2011 China (Qinghai)

International Halal Food and Products Fair” ที่

“ชิงไห่” ประเทศจีน “ฟรี” ระหว่างวันที่ 22 - 25

กรกฎาคม 2011

จ�านวนจ�ากัด โปรดติต่อคุณปราณี สุริยันตร์ ท่ี 086-366-

4189 หรือ 02-714-4816-9 expo@foodindustrythailand.

com รายละเอียด เอกสารแนบ 4

Page 5: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

Vol. 2 Issue 2014 - 20 June 2011

5

สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร

5

สถานการณ์กัมมตรังสีและมาตรการความปลอดภัยของอาหารญี่ปุ่น เอกสารแนบ 5

จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิครั้งใหญ่ในเขคภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554

จนท�าให้เกิดความเสียหายกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุคุชิมะที่1

และมีข่าวการแพร่กระจายของกัมมันตภาพรังสีและมีการ

ปนเปื้อนของสารกัมมันตรังสีในอาหารบางชนิดในญี่ปุ่นนั้น

รัฐบาลญ่ีปุ่นได้ด�าเนินการต่าง ๆ เพื่อควบคุมสถานการณ์

รวมทั้งมีมาตรการอย่างเข้มงวด เพื่อตรวจสอบการแพร่

กระจายของกัมมันตภาพรังสีในอากาศ น�้า และอาหาร ดังนี้

1. การเฝ้าระวังกัมมันภาพรังสีในอากาศ รัฐบาลญ่ีปุ่น

ร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญจากสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และทบวง

การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ(International Atomic

Energy Agency:IAEA) ในการควบคุมสถานการณ์ของ

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และตรวจสอบระดับกัมมันตภาพรังสี

ในอากาศและสิ่งแวดล้อมอย่างสม�่าเสมอ โดยส�าหรับ

บริเวณรัศมี 20 กิโลเมตร ห่างจากโรงไฟฟ้าพบว่า ระดับ

กัมมันตภาพรังสีโดยรวมมีแนวโน้มลดลงหรือคงที่และอยู่ใน

ระดับไม่อันตรายต่อสุขภาพ

2. การเฝ้าระวังการปนเปื ้อนของสารกัมมันตรังสีใน

อาหาร น�้าประปา และน�้าทะเล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่าง

ๆ ของญี่ปุ่น ได้ติดตามตรวจสอบและรายงานสถานการณ์

ให้ประชาชนญี่ปุ ่นและคณะฑูตต่างประเทศได้ทราบอย่าง

ต่อเนื่อง ทั้งนี้ หากพบว่าผลิตภัณฑ์ใดมีสารกัมมันตรังสี

ปนเปื้อนในระดับที่เกินมาตรฐาน 3 ครั้งติดต่อกัน จะ

พิจารณาประกาศส่ังห้ามจ�าหน่ายทั้งในประเทศและส่ง

ออก ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ที่ห้ามจ�าหน่ายแล้ว ได้แก่ เห็ด

หอม จากจ.ฟุคุชิมะ,ผักโขม จากจ.อิบารากิ และปลา

Sand Lance จากจ.ฟุคุชิมะ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข

แรงงาน และสวัสดิการ(Ministry of Health, Labour and

Welfare:MHLW) ได้เผยแพร่ประกาศค�าส่ังห้ามจ�าหน่าย/

บริโภคอาหารประเภทต่าง ๆ ที่เว็บไซด์ http://www.mhlw.

go.jp/english/topics/2011eq/index.html

3. การตรวจสอบรังสีและออกใบรับรองตู้คอนเทนเนอร์

และเรือที่ออกจากท่าในญี่ปุ่น กระทรวงที่ดิน โครงสร้าง

พื้นฐาน คมนาคมและท่องเที่ยวญ่ีปุ่น(Ministry of Land,

Infrastructure, Transport and Tourim: MLIT) ได้ออก

แนวปฏิบัติและแนวทางการตรวจสอบรังสีและออกใบรับรอง

ส�าหรับตู้คอนเทนเนอร๋และเรือที่ออกจากท่าในญี่ปุ่น ตาม

มาตรฐาน IAEA และประมวลข้อบังคับว่าด้วยการขนส่ง

สินค้าอันตรายทางทะเล (International Maritime Danger-

ous Foods(IMDG) Code) ขององค์การกิจการทางทะเล

ระหว่างประเทศ(International Maritime Organization:

IMO) และแจ้งผลการตรวจสอบแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของ

ประเทศน�าเข้า อาทิ ด่านศุลกากรและด่านกักกันพืชและ

สัตว์ โดยเริ่มใช้แนวทางดังกล่าวตั้งแต่วันที่ 28 เม.ย. 54

อนึ่ง รัฐบาลญี่ปุ่นพยายามอย่างยิ่งที่จะประชาสัมพันธ์

และสร้างความเชื่อมั่นในความปลอดภัยของอาหารและ

ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรจากญี่ปุ่น และขอความร่วมมือจาก

สื่อต่าง ๆ ให้ยุติการเสนอข่าวในแง่ลบ

ท่ีมา : สมาคมฯ ได้รับหนังสือของกระทรวงการต่างประเทศผ่านทางกลุ่ม

อุตสาหกรรมอาหาร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 15 มิ.ย. 54

อ่านข้อมูลเพิ่มเติม เอกสารแนบ 5

แคนาดาไฟเขียวน�าเข้าอาหารญี่ปุ่น

เม่ือวันที่ 14 มิถุนายน 2554 รัฐบาลญี่ปุ ่นระบุว่า

แคนาดายกเลิกข้อจ�ากัดการน�าเข้าอาหารญี่ปุ่นท้ังหมดแล้ว

เนื่องจากผลการทดสอบอาหารญี่ปุ่นทั้งหมดมีค่ากัมมันตรังสี

ต�่ากว่าที่ก�าหนดไว้มาก โดยก่อนหน้านี้แคนาดาออกข้อจ�ากัด

ดังกล่าวเนื่องจากเกรงกลัวการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีจาก

วิกฤตโรงไฟฟ้าฟูกุชิมะ ไดอิจิ และถือว่าเป็นประเทศแรกท่ี

ยกเลิกข้อจ�ากัดการน�าเข้าอาหารญ่ีปุ่นทั้งหมด ขณะท่ีอีก 40

Page 6: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011

6

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011

6

ประเทศยังคงจ�ากัดการน�าเข้าอาหารญี่ปุ่นต่อไป

เม่ือวันที่ 13 มิถุนายน 2554 ส�านักงานตรวจสอบ

อาหารแคนาดา (CFIA) กล่าวว่าจากการประเมินพบว่าไม่

จ�าเป็นที่ต้องทดสอบอาหารน�าเข้าเป็นประจ�า และกล่าวเสริม

ว่าทางการสาธารณสุขแคนาดาจะด�าเนินการตรวจติดตาม

อาหารที่จ�าหน่ายในประเทศอย่างสม�่าเสมอซึ่งรวมถึงอาหาร

ที่มาจากญี่ปุ่นด้วย

ทั้งน้ี CFIA ก�าหนดให้อาหารทั้งหมดจาก 12 จังหวัด

ได้แก่ จังหวัดฟุกุชิมะและจังหวัดในบริเวณใกล้เคียงที่น�าเข้า

แคนาดาจะต้องแสดงผลการทดสอบเพื่อพิสูจน์ว่าปลอดภัย

ตั้งแต่วันท่ี 1 เมษายน 2554 และก�าหนดให้อาหารน�าเข้า

จากญี่ปุ่นที่มาจากจังหวัดอื่นต้องแสดงใบรับรองต้นก�าเนิด

อีกด้วย

ในปี 2553 ญี่ปุ่นส่งออกสินค้าเกษตรและประมงไปยัง

แคนาดาคิดเป็นมูลค่า 4.6 พันล้านเยน

อนึ่งเมื่อเดือนพฤษภาคม 2554 จีนเคยระบุว่าอาจจะลด

ข้อจ�ากัดการควบคุมการน�าเข้าสินค้าเกษตรจากญี่ปุ่น แต่ก็

ยังไม่มีรายละเอียดหรือกฎเกณฑ์ที่แน่ชัดในเรื่องนี้

ที่มา : มกอช.(Manufacturing.Net (16/06/54)) วันที่ 16 มิ.ย. 54

ไต้หวันท�าลายอาหารปนเปื้อนสารก่อมะเร็ง 12 ตัน

ประธานาธิบดีหม่า อิงจิว และนายกรัฐมนตรีอู๋ ตุนอี้

แห่งไต้หวัน เป็นประธานในการเผาท�าลายอาหารปนเปื้อน

สารประกอบพลาสติกปริมาณกว่า 12 ตัน ที่โรงงานท�าลาย

ขยะในเมืองฉางฮัว นอกจากนี้ ยังมีการท�าลายอาหารปน

เปื้อนอีก 18 ตัน ตามโรงงานท�าลายขณะต่างๆทั่วเกาะ

ไต้หวัน หลังจากที่การทดสอบตัวอย่างผลิตภัณฑ์ พบว่าใน

อาหารมีสาร Di(2-ethylhexyl) phthalate (DEHP) ที่เป็น

ส่วนประกอบท่ีใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตพลาสติก เพื่อช่วย

ให้พลาสติกมีความยืดหยุ่น ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง รัฐบาล

ไต้หวันเพิ่มความเข้มงวดในการตรวจสอบการปนเปื้อนใน

อาหารมากขึ้น หลังเกิดการแพร่ระบาดของเชื้อแบคทีเรียอี

โคไลในทวีปยุโรป โดยรัฐสภาไต้หวัน เพิ่งผ่านกฎหมายด้าน

ความปลอดภัยอาหารฉบับใหม่ ที่เพิ่มบทลงโทษผู้ประกอบ

การที่ละเมิดกฏ เป็นโทษปรับระหว่าง 300,000 ดอลลาร์

ไต้หวัน (10,500 ดอลลาร์สหรัฐ) ถึง 6 ล้านดอลลาร์ไต้หวัน

(209,000 ดอลลาร์สหรัฐ)และอาจถูกถอนใบอนุญาตประกอบ

ธุรกิจอีกด้วย

ทั้งนี้ เฉพาะในเดือนมิถุนายน มีการตรวจสอบผลิตภัณฑ์

อาหารไปแล้ว 23,435 รายการจาก 2,043 บริษัท

ท่ีมา : มกอช. (Voice TV (16/04/54)) วันที่ 14 มิ.ย. 54

“ซีพี-มาม่า-องุ่น”แห่ติดฉลากคาร์บอน ขี่กระแสลดโลกร้อนหวังบุกตลาดตปท.

เ อกชนแห ่ ขอติดฉลาก

คาร์บอนทั้งรายเล็กรายใหญ่

เกือบ 100 บริษัทกว่า 300

ผลิตภัณฑ์ น�าทีมโดยเครือ

เจริญโภคภัณฑ์ขอติดฉลาก

มากที่สุด ตามมาด้วยมาม่า

สหพัฒน์, โค้กกระป๋อง, เบทา

โกร, ซีเล็คทูน่า, เขียวหวาน

การบินไทย, น�้ามันพืชองุ่น ไปจนกระทั่งถึงเสื้อแอร์โร่ว์ ชี้

ผู้บริโภคในสหภาพยุโรปต้องการสินค้าลดโลกร้อน ใครไม่

ท�ามีสิทธิตกขบวน แข่งขันไม่ได้

ทั้งนี้ อบก.ได้ให้การรับรองฉลากคาร์บอน 3 รายการ

ได้แก่ 1) คาร์บอนฟุตพรินต์ (Carbon Footprint) หมาย

ถึง ฉลากที่ระบุปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจาก

ผลิตภัณฑ์แต่ละหน่วย ตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์

ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ-การขนส่ง-การประกอบชิ้นส่วน-

การใช้งาน และการจัดการซากผลิตภัณฑ์หลังใช้งาน โดย

ค�านวณออกมาในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า

ปัจจุบัน ได้รับการรับรองไปแล้ว 52 บริษัทจ�านวน 196

ผลิตภัณฑ์ อาทิ บริษัทซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จ�ากัด

ขอติดฉลากในผลิตภัณฑ์ไก่ย่างเทอริยากิ-เนื้อไก่สด-ไก่ห่อ

Page 7: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

Vol. 2 Issue 2014 - 20 June 2011

7

14 - 20 June 2011

7

Vol. 2 Issue 19

สาหร่าย-อาหารไก่, บริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์ โปรดักส์ จ�ากัด

(มหาชน), บริษัท เบทราโกร จ�ากัด (มหาชน) อาหารไก่

เนื้อเบอร์ 203 และบริษัทน�้ามันพืชไทย จ�ากัด (มหาชน)

อ่านต่อ คลิก http://www.prachachat.net/news_detail.

php?newsid=1308102725&grpid=00&catid=&subcatid=

ที่มา : ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 15 มิ.ย. 54

ญี่ปุ่นห้ามส่งออกชาจาก 4 จังหวัดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2554

รัฐบาลญี่ปุ ่นประกาศห้ามส่งออก

ชาเขียวที่ปลูกใน 4 จังหวัด ได้แก่

โตชิกิ ชิบะ อิบารากิ และคานางะ

วะ เนื่องจากพบการปนเปื้อนสาร

ซิเซียมเกินกว่าปริมาณที่ก�าหนด โดยระงับการส่งออกใบชา

ชนิดแห้งจาก 3 จังหวัด ได้แก่ โตชิกิ ชิบะ และคานางะ

วะ และชาเขียวทุกชนิดที่ปลูกในจังหวัดอิบารากิ

นับเป็นครั้งแรกท่ีระงับการส่งออกชาเขียว หลังเกิดการ

รั่วไหลของสารกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้าฟุกุชิมะ ไดอิจิ ที่

ประสบภัยพิบัติสึนามิ เมื่อเดือนมีนาคม 2554

ที่มา : มกอช.(Mainichi) วันที่ 16 มิ.ย. 54

มะกันออกกฎน�าเข้าเงาะสดจากมาเลย์และเวียดนาม

หน ่ วยบ ริการ

ต ร ว จ ส อ บ สุ ข

อ น า มั ย แ ล ะ สุ ข

อนามัยพืช (Ani-

mal and Plant

Health Inspection

Service; APHIS)

ภายใต้กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (United States Depart-

ment of Agriculture; USDA) ได้ออกกฎระเบียบอนุญาต

น�าเข้าเงาะสดจากมาเลเซียและเวียดนาม โดยมีสาระส�าคัญ

ดังนี้

1. เงาะท่ีส่งออกจากมาเลเซียจะผ่านการตรวจสอบจาก

เจ้าหน้าที่หน่วยงานอารักขาพืชของมาเลเซีย (NPPO) ตาม

ข้ันตอนที่ระบุไว้ในข้อก�าหนดของ APHIS/USDA เพื่อรับรอง

ว่าสินค้าทุกเที่ยวสินค้าปลอดจากเช้ือรา Oidium nephelii

2. เงาะที่ส่งออกมาจากทั้งสองประเทศดังกล่าว จะต้อง

ถูกบ�าบัดโดยก! ารฉายรังสีที่ระดับปริมาณรังสีขั้นต�่า 400

Gy ดังนี้

2.1 หากการฉายรังสีกระท�านอกสหรัฐฯ เงาะท่ีส่งออก

จากประเทศทั้งสองต้องเข้าร่วมโครงการตรวจรับรองล่วง

หน้า (Preclearance program) เพื่อให้มีการสุ่มตรวจโดย

เจ้าหน้าที่จาก APHIS ในประเทศที่ส่งออก และออกใบรับ

รองด้านสุขอนามัย (PC) โดยองค์กรอารักขาพืช (NPPO)

ของประเทศส่งออกนั้นๆ เพื่อยืนยันขั้นตอนการผ่านการฉาย

รังสี ส�าหรับมาเลเซียต้องมีการระบุค�ายืนยันว่า ปลอดจาก

เชื้อรา Oidium nephelii

2.2 หากบ�าบัดด้วยวิธีการฉายรังสีที่ปลายทาง ณ น�า

เข้า ของสหรัฐฯ เงาะที่ส่งออกจากมาเลเซียจะต้องได้รับการ

ตรวจรับรองจากเจ้าหน้าที่อารักขาพืชจากมาเลเซียก่อนส่ง

ออก และใบรับรองด้านสุขอนามัยพืช (PC) ระบุค�ายืนยัน

ว่า ปลอดจากเช้ือรา Oidium nephelii

3 . เงาะได้รับอนุญาตการน�าเข้าสู่สหรัฐฯ เพื่อการ

พาณิชย์เท่านั้น

ทั้งนี้ กฎระเบียบดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันท่ี 19

เมษายน 2554

ท่ีมา : มกอช. วันที่ 16 มิ.ย. 54

EU สนับสนุนกฎให้แสดงฉลากโภชนาการ

เม่ือวันที่ 15 มิถุนายน 2554 สหภาพยุโรปได้บรรลุข้อ

ตกลงในการเจรจาว่าด้วยเรื่องการติดฉลากโภชนาการซึ่งมี

จุดประสงค์เพื่อลดจ�านวนคนเป็นโรคในยุโรป โดยการให้

ข้อมูลแก่ผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า ข้อตกลง

ดังกล่าวมีสาระส�าคัญดังนี้

• ผลิตภัณฑ์อาหารทุกชนิดต้องแสดงปริมาณพลังงาน

เกลือ น�้าตาล โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และไขมันอิ่มตัว

• ไม่จ�าเป็นต้องแสดงฉลากโภชนาการหน้าบรรจุภัณฑ์

แต่ผู้ผลิตเลือกที่จะระบุสารอาหารบางอย่างซ�้าบนด้านหน้า

Page 8: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011

8

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

8

บรรจุภัณฑ์ได้

• เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้รับการยกเว้นการติดฉลากดัง

กล่าว รวมไปถึงเคร่ืองดื่มประเภท Alcopop (alcopop is

an alcoholic beverage made with fruit juices and

other flavorings which tend to conceal the alcohol

content of the drink behind a sweet, fruity flavor.)

• การระบุปริมาณที่แนะน�าต่อวัน (Guideline Daily

Amount, GDA) ในการบริโภค เกลือ ไขมัน น�้าตาล และ

พลังงาน ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของผู้ผลิต

• ต้องระบุประเทศแหล่งก�าเนิดของสินค้าประเภท เนื้อ

สุกร เนื้อสัตว์ปีก เน้ือแกะ และเนื้อแพะ ภายใน 2 ปี หลัง

จากบังคับใช้ (การบังคับใช้กฎหมายการระบุประเทศแหล่ง

ก�าเนิดของเนื้อวัว ได้มีการประกาศใช้เมื่อปี 2543 ก่อน

วิกฤตการณ์โรควัวบ้าครั้งที่ 2 ในยุโรปเล็กน้อย) โดยก่อน

จะบังคับใช้การติดฉลากประเทศแหล่งก�าเนิดสินค้าอันใหม่นี้

คณะกรรมการจะต้องคิดระบุวิธีติดฉลากประเทศต้นก�าเนิด

หากสัตว์เหล่านี้มีการ เกิด การเลี้ยง การฆ่า มากกว่า

หนึ่งประเทศ

• คณะกรรมการจะต้องได้ข้อสรุปภายในปี 2556 ว่าการ

ติดฉลากประเทศแหล่งก�าเนิดสินค้าควรจะครอบคลุมเนื้อ

สัตว์แปรรูปหรือไม่ และในปี 2557 จะต้องพิจารณาว่าควร

ติดฉลากดังกล่าวในสินค้าประเภทนมหรือไม่

• ประเทศในสหภาพยุโรปใช้ฉลากโภชนาการที่ให้ข้อมูล

ดีกว่าของ EU ได้ โดยต้องยึดหลักทางวิทยาศาสตร์และท�า

โดยความสมัครใจ ทั้งนี้ สหราชอาณาจักรและประเทศอื่นๆ

จึงยังสามารถใช้ระบบการติดฉลากแบบไฟจราจรได้

อนึ่ง ระบบการติดฉลากแบบไฟจราจรเป็นการจัดล�าดับ

ปริมาณไขมัน น�้าตาล และ เกลือ ดังนี้สูง (สีแดง) กลาง

(สีเหลือง) และ ต�่า (สีเขียว)

ที่มา :มกอช. (Reuters, Bangkok Post) วันที่ 17 มิ.ย. 54

สหราชอาณาจักรออกมาตรฐานการติดฉลากอาหาร (Composition and Label-ling Standards)

โดยระบุปริมาณชองกลูเตนในผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ผู้บริโภค

ที่มีอาการแพ้ตัดสินใจเลือกซื้ออาหารได้อย่างปลอดภัย

พร้อมบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 เป็นต้นไป

สหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในประเทศที่ให้ความส�าคัญ

กับเรื่องอาหารก่อภูมิแพ้ โดยเฉพาะกลูเตน (Gluten) ใน

อาหารจ�าพวกแป้ง เรื่องจากการศึกษาพบว่าในประชากร

ทุกๆ 100 คน จะพบผู้มีอาการแพ้ 1 คน ดังนั้นแล้ว สห

ราชอาณาจักรจึงได้ออกเป็นมาตรฐานการติดฉลากอาหาร

(Composition and Labelling Standards) เพื่อให้ผู้

บริโภคได้ใช้ประกอบการตัดสินใจเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัย

โดยดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

http://fic.nfi.or.th/upload/worldfoodlaw/me-

dia/9465.pdf

ท่ีมา สถาบันอาหาร วันที่ 19 มิ.ย. 54

14 - 20 June 2011

Page 9: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

Vol. 2 Issue 2014 - 20 June 2011

99

สถานการณ์ด้านประมง

อียูปล้ืมระบบป้องกันประมงไอยูยูของไทย

ดร.สมหญิง เปี่ยมสมบูรณ์ อธิบดีกรมประมง เปิดเผย

ภายหลังประชุมสรุปผลการตรวจสอบกระบวนการป้องกัน

ขจัดและยับย้ังการท�าประมงไอยูยู หลังจากที่สหภาพยุโรป

(EU) ส่งเจ้าหน้าที่ระดับสูงมาตรวจกระบวนการด�าเนินการ

รองรับกฎระเบียบว่าด้วยการ ป้องกัน ขจัดและยับยั้งการ

ท�าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม

(IUU Fishing) ซ่ึงเป็นระเบียบที่ป้องกันการสนับสนุนการค้า

สินค้าประมงผิดกฎหมายจากทุกน่าน น�้าทั่วโลก ที่จะน�าเข้า

สู่ประชาคมยุโรป

ทั้งน้ี เจ้าหน้าที่ EU ได้เดินทางมาตรวจกระบวนการ

รองรับกฎระเบียบ โดยได้ตรวจสอบเกี่ยวกับระบบการออก

ใบรับรองการจับสัตว์น�้า (Catch Certification) ระบบ

การตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) ถึงที่มาที่ไปของ

ผลิตภัณฑ์สัตว์น�้า ท่ีมีการผลิตมาจากวัตถุดิบที่ได้มาโดย

การประมงที่ไม่ผิดกฎหมาย โดยระบบการตรวจสอบย้อน

กลับ ได้แก่ การบันทึกการซื้อขายสินค้าสัตว์น�้าจากท่าเรือ

ถึงโรงงานผลิตของผู้ประกอบการ ซึ่งต้องมีใบก�ากับการซื้อ

ขายสินค้าสัตว์น�้าหรือใบ MCPD (Marine Catch Pur-

chasing Document) ระบบการควบคุมการท�าประมงไอ

ยูยู คือ การจดทะเบียนเรือประมง และการออกอาชญา

บัตรหรือใบอนุญาตท่ีถูกต้อง ระบบการป้องกันการขาดการ

รายงาน ได้แก่ การบันทึกการท�าประมงลงในสมุดบันทึก

การท�าประมง หรือ log book ว่าเรือที่จับปลาชื่ออะไร

จับปลาได้จากที่ไหน เป็นปลาชนิดใด ได้มาเท่าไหร่ และ

ระบบติดตามเรือ หรือ VMS ซึ่งการตรวจในครั้งนี้สร้าง

ความพอใจและเชื่อม่ันให้กับทาง EU อย่างมาก เพราะเห็น

ถึงความตั้งใจและความพยายามของประเทศไทยท่ีจะร่วมกัน

ช่วยแก้ปัญหา การท�าประมงไอยูยู อีกทั้ง ระบบการท�างาน

ที่ประเทศไทยก�าหนดขึ้นครอบคลุมและสามารถตรวจสอบ

ย้อนกลับได้ทุก ข้ันตอน ตลอดจนทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องให้ความ

ร่วมมือและสามารถตอบข้อซักถามและแสดง เอกสารที่ EU

ต้องการได้อย่างถูกต้อง

ท่ีมา บ้านเมือง วันที่ 17 มิ.ย. 54

พาณิชย์เตือนผู้ส่งออกรับมือสหรัฐ ออกกฎป้องผู้บริโภคอาหารทะเล

วุฒิสภาสหรัฐรับรองกฎหมายปกป้องผู ้บริโภคอาหาร

ทะเล พาณิชย์เตือนผู้ส่งออกรับมือ ช้ีเป็นมาตรการกีดกัน

ระบุ มีเวลา 6 เดือนปรับตัว

นาง นันทวัลย์ ศกุนตนาค อธิบดีกรมส่งเสริมการส่ง

ออก เปิดเผยว่า ตามที่ รมว.พาณิชย์ พรทิวา นาคาศัย

ได้สั่งการให้เฝ้าติดตามสถานการณ์ตลาดโลกนั้น ล่าสุดได้

รับรายงานจาก ส�านักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ

ณ นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ที่ประชุมวุฒิสภา (Senate

Panel) ลงมติรับกฎหมายปกป้องผู ้บริโภคอาหารทะเล

(Commercial Seafood Consumer Protection Act)

แล้ว โดยกฎหมายฉบับนี้ออกมา เพื่อสร้างความเข้มแข็ง

ให้กับโครงการความปลอดภัยอาหารทะเลของรัฐบาลกลาง

และต่อสู้กับการกระท�าผิดฉ้อฉลที่เกี่ยวข้องกับอาหารทะเล

14 - 20 June 2011 Vol. 2 Issue 20

Page 10: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011

1010

รายละเอียดคลิก http://www.washingtonwatch.com/

bills/show/110_SN_2688.html

นางนันทวัลย์ กล่าวว่า จะเกิดผลกระทบกับการส่งออก

กุ้งแช่แข็งของไทยไปตลาดสหรัฐ ที่ขณะนี้เก็บภาษีทุ่มตลาด

อยู่แล้วและไทยเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ที่สุดอันดับ 1 ในตลาด

สหรัฐ เกรงว่าในอนาคตคงเล่ียงไม่พ้นกฎหมายฉบับนี้อีก ดัง

นั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งของรัฐบาลและเอกชน จะ

ต้องติดตามเร่ืองน้ีอย่างใกล้ชิดและหาวิธีป้องกันต่อไป

นาง สมจินต์ เปล่งข�า อัครราชทูต (ฝ่ายการพาณิชย์)

ประจ�านิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา กล่าวว่า กฎหมายจะมีผลใน

ทางปฏิบัติ ภายใน 6 เดือน ซึ่ง รมว.พาณิชย์และหน่วยงาน

ที่เกี่ยวข้องของรัฐบาลสหรัฐ ได้จัดท�าบันทึกความเข้าใจ เพื่อ

สร้างความเข้มแข็งด้านความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ

ในประเด็นเกี่ยวกับความปลอดภัย, การติดฉลาก และการ

คดโกง/ฉ้อฉล อาหารทะเล ซึ่งจะรวมไปถึงเรื่องการทดสอบ

อาหาร การตรวจสอบในส่วนที่อยู่ต่างประเทศ สร้างข้อมูล

ที่เก็บรวบรวมโดยหน่วยงานต่างๆ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน

ที่มา กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 16 มิ.ย. 54

UN เรียกร้องโลกให้อนุรักษ์ทะเลเพื่อสิ่งมีชีวิตรุ่นหลัง

นาย บัน คีมูน เลขาธิการ

สหประชาชาติได้ออกแถลงการณ์

ในวันที่ 10 มิถุนายน2554 ซึ่งเป็น

วันทะเลโลกของทุกปีเพื่อให้เห็น

ความส�าคัญของวันดังกล่าว โดย

เรียกร้องให้รัฐบาลและประชาชน

ของทุกชาติช่วยกันปกป้องรักษาทะเลเพื่อสิ่งมีชีวิตในรุ่นหลัง

พร้อมทั้งเตือนว่าในอนาคต ทั่วโลกจะต้องเผชิญผลกระทบ

จากทะเลอย่างหนัก อาทิ การใช้ทรัพยากรทางทะเลจนหมด

ผลกระทบจากสภาวะอากาศแปรปรวน ความเส่ือมโทรมของ

สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยทางทะเล สถานะการตกงาน

ของชาวประมง และปัญหาพื้นดินถูกแทนที่โดยทะเลซึ่งเป็น

ปัญหาที่ส�าคัญมากขึ้นเรื่อยๆ

ที่มา : มกอช.( FIS ) วันที่ 16 มิ.ย. 54

จีนน�าโด่ง ธุรกิจฟาร์มเลี้ยงปลาเติบโตอย่างรวดเร็ว

เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2554 รายงานจากองค์กร

WorldFish Center ซึ่งเป็นองค์กรสิ่งแวดล้อมภาคเอกชน

ที่ส่งเสริมการลดความหิวโหยโดยผ่านการประมงอย่างยั่งยืน

ระบุว่าเกือบครึ่ง ของการบริโภคปลาทั่วโลกมาจากฟาร์ม

เพาะเลี้ยง ไม่ใช่ปลาจากแหล่งน�้าธรรมชาติ เนื่องจากความ

ต้องการปลามีมากขึ้นประกอบกับข้อจ�ากัดในการเพิ่มการจับ

ปลาจาก แหล่งน�้าธรรมชาติ การท�าฟาร์มเพาะเล้ียงสัตว์น�้า

จะยังคงเติบโตสูง

จีนเพียงประเทศเดียวท�าฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าถึง 60%

จากทั่วโลก สัตว์น�้าที่ส�าคัญ คือ ปลาไน ซึ่งเป็นที่ต้องการ

มาก ในเอเชียโดยรวมประมาณ 90 % นักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

บางคนกังวลว่าการฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าจะก่อมลพิษ ใน

บริเวณชายฝั่ง แต่ผลการศึกษาระบุว่าการท�าฟาร์มเพาะเล้ียง

สัตว์น�้าก่อมลพิษน้อยกว่าการท�า ฟาร์มปศุสัตว์เช่น โค และ

สุกร โดยศึกษาจากผลกระทบของการท�าฟาร์มเพาะเล้ียง

ปลาในด้านการใช้พลังงาน กระบวนการสร้างกรดและการ

เปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ

นอกจากการเพาะเลี้ยงปลาไนแล้วการเพาะเลี้ยงปลาสาย

พันธุ์อื่นๆล้วนส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมาก ได้แก่

ปลาไหล ปลาแซลมอน กุ้ง เนื่องจากเป็นสัตว์กินเนื้อ ซึ่ง

หมายความว่าจะต้องให้ปลาเป็นอาหารและใช้พลังงานเพิ่ม

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011

Page 11: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

Vol. 2 Issue 2014 - 20 June 2011

1111

ขึ้น ในขณะที่หอยสองฝา หอยนางรมและสาหร่ายทะเลส่ง

ผลกระทบน้อยกว่า

ผลศึกษาพบว่าการท�าฟาร์มเลี้ยงปลามีผลกระทบต่อสิ่ง

แวดล้อมแตกต่างกันมากในแต่ ละประเทศ และหากแต่ละ

ประเทศแบ่งปันข้อปฏิบัติที่ดีให้แก่กันคาดว่าอาจจะช่วยลด

ผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมได้ ในการเปรียบเทียบผลก

ระทบต่อสิ่งแวดล้อมของจีนและไทย พบว่าผลกระทบต่อ

สิ่งแวดล้อมจากการท�าฟาร์มเพาะเล้ียงกุ้งในจีนจะลดลงถึง

50-60 % ถ้าใช้ระดับพลังงานเท่ากับไทย

ที่มา : มกอช.(Bangkok Post ) วันที่ 17 มิ.ย. 54

ญี่ปุ่นพบปริมาณซิเซียมในปลาวาฬ ญี่ปุ่นรายงานว่า พบการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีซิเซียม

ในปลาวาฬ (minke whale) 2 ตัว ที่จับได้บริเวณทางเหนือ

ของเกาะฮอกไกโด ห่างจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ถูกแผ่นดิน

ไหวและคลื่นสึนามิถล่ม 650 กิโลเมตรไปทางตะวันออก

เฉียงเหนือ นักวิจัย

ทดสอบปลาวาฬ

6 ตัว จาก 17

ตัว ณ เมืองคุชิโระ

ของเกาะฮอกไกโด

พบสารซิ เ ซียมใน

ปลาวาฬ 2 ตัว

(31 และ 24.3 เบคเคอเรลต่อกิโลกรัม) ซึ่งปริมาณที่ตรวจ

พบถือว่าต�่ากว่าระดับปลอดภัยที่ก�าหนดปริมาณซิเซียมไว้ไม่

เกิน 500 เบคเคอเรลต่อกิโลกรัม

อย่างไรก็ตาม เมื่อเดือนพฤษภาคม 54 กลุ่มกรีนพีซ

เปิดเผยว่า พบปริมาณสารกัมมันตรังสีในสาหร่ายและสัตว์

ทะเลอื่นๆ ที่ห่างจากโรงไฟฟ้าฟุกุชิมะ 20 กิโลเมตร ท้ังซิเซี

ยมและไอโอดีนสูงกว่าปริมาณที่กฎหมายก�าหนดไว้ 50 เท่า

มีการรายงานว่าน�้าทะเลบริเวณใกล้กับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์พบ

สารกัมมันตรังสีสต รอนเทียมปนเปื้อนในปริมาณที่สูงกว่า

ค่าที่กฎหมายก�าหนดไว้ถึง 240 เท่า ซึ่งสารสตอนเทียมนี้

อาจก่อให้เกิดมะเร็งที่กระดูกและโรคลิวคิเมียได้

ที่มา : มกอช. (FIS) วันที่ 17 มิ.ย. 54

กรมประมงเตือนห้ามใช้ยาปฏิชีวนะเลี้ยงกุ้ง ดร.สมหญิง เปี่ยมสมบูรณ์ อธิบดีกรมประมง เปิดเผยว่า

จากสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนในปัจจุบัน ท�าให้การจัดการ

ฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลมีความยุ่งยากมากขึ้นซึ่งอาจน�าไปสู่ความ

เสี่ยงที่จะท�าให้กุ ้งเป็นโรคได้ง่ายและเกษตรกรอาจตัดสิน

ใจแก้ป ัญหาโดยใช้ยา

ปฏิชีวนะและสารเคมี

ต ้องห ้ามในการเ ล้ียง

กระทั่งมีการตกค้างปน

เปื้อนจนท�าให้ผู ้บริโภค

ไม่ยอมรับในผลิตภัณฑ์

สินค้ากุ้ง ที่น�าเข้าจากประเทศไทย

ดังเช่น กรณีการตรวจพบสารตกค้าง ในกุ้งทะเลที่ส่ง

ออกไปยังประเทศญ่ีปุ่น เม่ือเดือนพฤษภาคม 2554 ที่ผ่าน

มา ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อการส่งออกกุ้งของไทยเป็นอย่าง

มาก เนื่องจากทางการญี่ปุ่นได้มีมาตรการคุมเข้มในการสุ่ม

ตรวจสารตกค้างในสินค้า กุ้งที่น�าเข้าจากประเทศไทย โดย

เฉพาะสารที่ประเทศญ่ีปุ่นไม่อนุญาตให้มีการปนเปื้อนในกุ้งท่ี

ใช้ส�าหรับ บริโภคเด็ดขาด ซึ่งหากมีการตรวจพบในปริมาณ

ที่สูงเกินมาตรฐานอีกครั้ง อาจมีการกักกันสินค้ากุ้งที่น�าเข้า

จากไทยในทุกรอบการสั่งซื้อหรือร้ายแรงสุด อาจมีการห้าม

น�าเข้ากุ้งจากประเทศไทย ซึ่งจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อ

อุตสาหกรรมกุ้งของไทยทั้งระบบ

“กรมประมงจะตรวจสอบย้อนกลับแล้วสามารถชี้ชัดได้

ว่าฟาร์มใดมีการใช้ยาปฏิชีวนะและสารเคมีต้องห้าม ซึ่งจะ

ด�าเนินการระงับการใช้และเพิกถอนใบ GAP ทันที เพื่อ

ป้องกันไม่ให้มีการส่งออกกุ้งที่มีสารตกค้างไปยังต่างประเทศ

ตลอดจนเพื่อเป็นการรักษาอุตสาหกรรมที่ด�าเนินการอยู่ภาย

ใต้ความรับผิดชอบต่อ สังคมของเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้ง

ส่วนใหญ่ให้คงอยู่ได้อย่างยั่งยืนต่อไป” ดร.สมหญิง กล่าว.

ท่ีมา : มกอช.(นสพ.เดลินิวส์ หน้า 10) วันที่ 16 มิ.ย. 54

14 - 20 June 2011 Vol. 2 Issue 20

Page 12: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011

12

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

7 - 13 June 2011WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

10 ชาติถกแผนความมั่นคงประมง อาเซียน-ญี่ปุ่นจับมือ”ซีฟเดค” วางกรอบแก้สัตว์น�้าขาดแคลน

น า ย ธี ร ะ ว ง ศ ์

สมุ ท ร รมว . เกษตร

และสหกรณ์ เปิดเผย

ว่า กรมประมงเป็นเจ้า

ภาพจัด “มหกรรมการ

ประชุมอาเซียน-ซีฟเดค

การประมงอย่างยั่งยืน

เพื่อความมั่นคงทางอาหารในทศวรรษหน้า” ที่โรงแรมโซฟิ

เทลเซนทารา แกรนด์ ซึ่งจะก่อให้เกิดความร่วมมือของ

ประเทศสมาชิกอาเซียน 9 ชาติ รวมทั้งญี่ปุ่น และศูนย์

พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ ซีฟเดค

(SEAFDEC) เพื่อเสริมสร้างความตระหนักในบทบาทและ

ความส�าคัญของภาคประมง ต่อความมั่นคงทางอาหารและ

ความเป็นอยู่ท่ีดีของประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออก

เฉียงใต้ ซ่ึงการเตรียมการประชุมครั้งนี้ ได้ผ่านการหารือ

ทั้งในระดับประเทศและระดับภูมิภาคร่วมกับองค์กรต่างๆ

และภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องตั้งแต่ปี 2552เป็นต้นมา โดยจะมี

การน�าร่างมติและแผนปฏิบัติการเพื่อการประมงที่ยั่งยืนน�า

เสนอต่อที่ประชุมระดับปลัดกระทรวงและระดับรัฐมนตรีที่รับ

ผิดชอบด้านการประมงของประเทศสมาชิกอาเซียน-ซีฟเคค

ในวันที่ 16 - 17 มิถุนายน เพื่อมุ่งไปสู่แนวทางที่ชัดเจน

ในการสร้างความมั่นคงทางอาหารในอีก 10 ปีข้างหน้าหรือ

ในทศวรรษต่อไป

ด้าน นางสมหญิง เปี่ยมสมบูรณ์ อธิบดีกรมประมง

เปิดเผยว่าการประชุมครั้งนี้จะอยู่ภายใต้กรอบการหารือ 8

ประเด็น ได้แก่ การเพิ่มขีดความสามารถในการบริหาร

จัดการประมง การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าอย่างยั่งยืน

การส่งเสริมการบริหารจัดการประมงเชิงนิเวศน์ การพัฒนา

เทคโนโลยีการแปรรูปสัตว์น�้าและคุณภาพสัตว์น�้า การค้า

สัตว์น�้าและผลิตภัณฑ์ประมงการปรับตัวและการจัดการผลก

ระทบที่เกิดขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ส่ง

ผลต่อภาคการประมงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ชุมชนชาว

ประมงขนาดเล็กและการส่งเสริมความยั่งยืนผลผลิตจาก

การประมงน�้าจืด

ท่ีมา : มกอช.(นสพ.แนวหน้า หน้า 14) วันท่ี 16 มิ.ย. 54

14 - 20 June 2011

12

Page 13: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

Vol. 2 Issue 2014 - 20 June 2011

13

7 - 13 June 2011

สถานการณ์ด้านเกษตร

13

Vol. 2 Issue 19Vol. 2 Issue 19

ราคาผักและผลไม้ในสเปนร่วง เหตุถูกเข้าใจผิดเรื่องเชื้อ E. coli

ก ร ะ ท ร ว ง สิ่ ง

แวดล ้อมสเปนเป ิด

เผยว ่า ราคาผลไม้

และผักในสเปนลดลง

อย ่างมากนับตั้ งแต ่

เกิดวิกฤติการณ์เชื้อ

E. coli ระบาดใน

แตงกวา

เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2554 รายงานประจ�าสัปดาห์

ของกระทรวงส่ิงแวดล้อมแสดงให้เห็นว่าระหว่างวันที่ 30

พฤษภาคม ถึงวันที่ 5 มิถุนายน ราคาสินค้าเกษตรของ

สเปนลดลง 42 % โดยเฉลี่ย เนื่องจากการขาดความม่ันใจ

และการซื้อขายในตลาด

แม้ว่าขณะนี้มีการยืนยันว่าถั่วงอกในเยอรมนีเป็นสาเหตุ

ของเชื้อ E.coli แต่ผลิตผลทางการเกษตรของสเปน อาทิ

แตงกวา มะเขือเทศ พริกไทย และผลไม้ถูกโจมตีอย่าง

หนักจากรัฐบาลเยอรมนีในเบื้องต้นและเป็นการโจมตีที่ผิด

เนื่องจากกล่าวหาว่าแตงกวาของสเปนเป็นสาเหตุของการ

ระบาด

แม้กระทั่งราคาของผลิตผลซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับแตงกวาก็

ปรับลดลงอย่างมาก โดยสหภาพยุโรปได้จัดสรรเงินจ�านวน

210 ล้านยูโร (302 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) เพื่อช่วยบรรเทา

ความเสียหายแก่ภาคเกษตรกรรมของสเปน แต่รัฐบาลของ

นาย Jose Luis Rodriguez Zapatero เห็นว่าเงินจ�านวน

นี้ไม่เพียงพอเมื่อเทียบกับความเสียหายซึ่งประมาณการไว้ที่

200 ล้านยูโร (288 ล้านดอลลาร์) ต่อสัปดาห์ตั้งแต่เกิด

วิกฤติการณ์ดังกล่าว

ทั้งนี้สเปนยังไม่ได้ตัดสินใจอย่างเป็นทางการว่าจะด�าเนิน

การทางกฎหมายต่อเยอรมนีหรือไม่

ที่มา : มกอช. วันที่ 16 มิ.ย. 54

อกอีแป้นแตกปิดหีบอ้อยปีนี้ 96 ล้านตัน!

นาย ประเสริฐ ตปนียางกูร เลขาธิการส�านักงานคณะ

กรรมการอ้อยและน�้าตาลทราย (สอน.) เผยว่า ขณะนี้

โรงงานน�้าตาลทั้งหมด 47 แห่ง ได้ปิดหีบอ้อยเรียบร้อยแล้ว

จากปกติที่ ต้องปิดหีบอ้อยในเดือน เม.ย. อันเป็นผลจาก

ปริมาณอ้อยเข้าโรงงานมีปริมาณมากถึง 95.4 ล้านตัน จาก

ประมาณการเดิม 66 ล้านตัน ท�าให้ได้ผลผลิตน�้าตาล 9.6

ล้านตัน คิดเป็นมูลค่าเกือบ 200,000 ล้านบาท สูงกว่าปีที่

ผ่านมา ที่อยู่ในระดับ 130,000 ล้านบาท

ทั้งนี้ ปริมาณอ้อยที่เพิ่มข้ึนส่งผลให้กองทุนอ้อยและ

น�้าตาลทราย (กท.) ต้องไปเจรจาเพื่อ ขอกู้เงินมาเพิ่มค่า

อ้อยให้กับชาวไร่อีก 105 บาทต่อตัน ตามมติคณะรัฐมนตรี

(ครม.) จากเดิมที่คาดว่าจะขอกู้เพียง 7,000 ล้านบาท บน

สมมติฐานปริมาณอ้อยปีนี้อยู่ที่ 66 ล้านตัน แต่ในปีนี้มี

ปริมาณอ้อยสูงถึง 95.4 ล้านตัน ท�าให้คาดว่าต้องขอกู้เพิ่ม

เป็น 10,000 ล้านบาท โดย สอน.และ กท.จะ เร่งหารือ

กับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)

ในเร็วๆนี้ คาดว่าคงไม่มีปัญหา

ท่ีมา ไทยรัฐออนไลน์ วันที่ 18 มิ.ย. 54

14 - 20 June 2011

Page 14: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011

14

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14

สถานการณ์ด้านการค้าคนทั่วโลกปรับการรับประทานอาหาร

ส�านักข่าวบลูมเบิร ์กรายงานผลส�ารวจความคิดเห็น

ประชาชนกว่า 16,000 คน ใน 17 ประเทศทั่วโลกของ

องค์กรออกซ์แฟม พบว่าประชาชนทั่วโลกก�าลังปรับเปลี่ยน

พฤติกรรมการรับประทานหลังราคาอาหารปรับตัวสูงขึ้น

โดยผู้คนในประเทศยากจนได้รับผลกระทบรุนแรงที่สุด การ

ส�ารวจของออกซ์แฟมครอบคลุมทั้งประเทศที่ร�่ารวย เช่น

สหรัฐฯ และเยอรมนี ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ เช่น บราซิล

และประเทศยากจน เช่น เคนยา และกานา

ผ ล ส� า ร ว จ

พบว ่าผู ้บริ โภค

53% ของกลุ ่ม

ตัวอย ่างทั่วโลก

ป รั บ เ ป ลี่ ย น

พฤติกรรมการรับ

ประทานอาหาร

ในช่วง 2 ปีที่

ผ ่ า นม า โ ดย

39% กล ่าวว ่า

พวกเขาต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพราะอาหารมีราคา

แพงขึ้น โดยในเคนยา 76% ของกลุ่มตัวอย่างกล่าวว่าพวก

เขาเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทาน 79% กล่าวว่า เป็น

เพราะอาหารแพงขึ้น โดยสหประชาชาติ ระบุว่า เม่ือปีที่

แล้วอาหารแพงขึ้นถึง 37%

ส่วนประเทศในตะวันตกได้รับผลกระทบจากกรณีดัง

กล่าวเช่นกัน โดย 55% ของกลุ่มตัวอย่างแบบสอบถาม

ในสหรัฐฯบอกว่า พวกเขาไม่ได้รับประทานอาหารแบบเดิม

เหมือนเมื่อ 2 ปีก่อนแล้ว โดยชาวอเมริกัน 31% กล่าว

ว่า สาเหตุมาจากราคาอาหารปรับตัวสูงขึ้น ขณะที่อาหาร

ในสหรัฐฯ เมื่อปีท่ี2553 สูงขึ้น 3.1% ส่วนที่อังกฤษมี 46%

ที่ปรับเปลี่ยนการบริโภค 36% ค�านึงถึงสุขภาพ และ 41%

เนื่องจากราคาที่แพงข้ึน

นายเจเรมี ฮอบส์ ผู้อ�านวยการบริหารออกซ์แฟม กล่าว

ว่า พฤติกรรมการรับประทานอาหารก�าลังเปลี่ยนแปลงไป

อย่างรวดเร็ว ซึ่งหลายคนมองว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงไปสู่

สิ่งที่เลวร้าย คนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศยากจน ก�าลัง

ลดปริมาณและคุณภาพอาหารที่รับประทานลง เนื่องมาจาก

ราคาอาหารปรับตัวข้ึน

ท่ีมา : มกอช.(Voice TV) วันที่ 17 มิ.ย. 54

พาณิชย์เดินหน้าจัด 'ไทยแลนด์ เบสท์ เฟรนด์' กระตุ้นส่งออก

เ ม่ื อ วั น ที่ 1 4

มิ.ย. อธิบดีกรมส่ง

เสริมการส่งออก เปิด

เผยว่า ขณะนี้ กรม

ได้เร่งจัดกิจกรรมส่ง

เสริมการส่งออก เพื่อ

ให้มูลค่าการส่งออก

สินค้าไทยในปีนี้ขยายตัวได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ท่ี 15%

คิดเป็นมูลค่าประมาณ 219,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ

เกือบ 7 ล้านล้านบาท ซึ่งการจัดงานไทยแลนด์ เบสท์

เฟรนด์ (Thailand’s Best Friends) ในครั้งนี้คาดว่าจะช่วย

ดันยอดการส่งออกในปีนี้ให้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 1,000 ล้าน

ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 30,000 ล้านบาท รวมทั้งจะ

เร่งจัดกิจกรรมสร้างผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม

(เอสเอ็มอี) รายใหม่ให้เข้าสู่การเป็นผู้ส่งออกด้วย

"การ จัดงานในครั้งนี้ กระทรวงพาณิชย์ ได้เชิญผู้น�า

เข้าสินค้าไทยรายส�าคัญมาร่วมงานจ�านวน 100 ราย จาก

34 ประเทศ เช่น อาเซียน ญ่ีปุ่น สหรัฐฯ สหภาพยุโรป

14 - 20 June 2011

Page 15: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

Vol. 2 Issue 2014 - 20 June 2011

15

Vol. 2 Issue 19Vol. 2 Issue 19

15

ครอบคลุมกลุ่มลูกค้าที่เป็นผู้ซื้อที่มีศักยภาพสูง และลูกค้า

รายใหม่ท่ีมีก�าลังซ้ือสูง เช่น ออสเตรเลีย อินเดีย เกาหลีใต้

โดยคาดว่าจะช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่าง

ผู้ส่งออกไทยและคู่ ค้า รวมถึงช่วยรักษาฐานลูกค้าเดิม

และช่วยเพิ่มยอดส่งออกของประเทศให้สูงขึ้น” นางนันท

วัลย์ กล่าว

ส�าหรับ การจัดงานครั้งนี้ จะจัดขึ้นเป็นปีที่ 3 ระหว่างวัน

ที่ 22-24 มิ.ย.น้ี เพ่ือสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้ารายส�าคัญ

นอกจากนี้ ยังจะได้รับเกียรติบัตรแสดงถึงความเป็นเพื่อนที่ดี

ของคนไทย จากนายกรัฐมนตรี ที่ท�าเนียบรัฐบาล เพื่อสร้าง

ความภาคภูมิใจให้กับลูกค้า และผูกพันประเทศไทยมากขึ้น

ก่อให้เกิดการสั่งซ้ือสินค้าไทยเพิ่มขึ้น

ที่มา ไทยรัฐ วันที่ 14 มิ.ย. 54

ไทยโอดสินเค้าเข ้าจีนยาก เสนอจัดเวิร ์กชอป

วันที่ 13 มิ .ย .

อธิบดีกรมเจรจาการ

ค ้าระหว ่างประเทศ

เ ป ิ ด เ ผ ยถึ ง ผ ลก า ร

ประชุมคณะเจรจาการ

ค้าอาเซียน-จีน คร้ัง

ที่ 38 ระหว่างวันที่

8-11 มิ.ย.54 ว่า ไทย

ได ้ เสนอให ้มีการจัด

ประชุมเชิงปฏิบัติการ (เวิร์กชอป) ระหว่างศุลกากรของ

อาเซียนและจีน เพ่ือแก้ไขปัญหากฎ ระเบียบ กติกา ในด้าน

การรับรองกฎถิ่นก�าเนิดสินค้า และพิธีการศุลกากร ที่มีความ

ยุ่งยากและเป็นอุปสรรคในการส่งออกสินค้าของอาเซียนไป

ยังจีน ซึ่งจีนตอบรับในเรื่องดังกล่าวแล้ว

“ปัจจุบัน การส่งออกสินค้าไปยังจีน สามารถเข้าสู่ตลาด

จีนได้หลายท่าเรือ ท้ังเซี่ยงไฮ้ กวางโจว และเซี๊ยะเหมิน ซึ่ง

แต่ละด่าน แต่ละท่าเรือ จะมีกฎระเบียบเป็นของตัวเอง นอก

เหนือจากกฎระเบียบใหญ่ ท�าให้สินค้าเข้าสู่ตลาดจีนได้ยาก

บางครั้งสินค้าส่งออกไปแล้ว พอถึงท่าเรือกลับถูกปฏิเสธ ไม่

ให้น�าเข้า ซ่ึงสร้างปัญหาให้กับสินค้าอาเซียน รวมถึงไทย

มาก และไทยผลักดันให้มีการแก้ไขปัญหานี้มาโดยตลอด”

นอกจากนี้ ยังได้หารือถึงการจัดท�ามาตรการด้านสุข

อนามัยพืช และ สัตว์ และ มาตรการและอุปสรรคทางการ

ค้าที่มิใช่ภาษี เพื่อให้การค้าขายในอาเซียนมีมาตรฐาน

เดียวกัน โดยการแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนจากการบังคับใช้ข้อ

ตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน ทั้งหมดนี้ เพื่อให้การค้าขาย

ในอาเซียน-จีน มีความคล่องตัวมากข้ึน ซึ่งหากตกลงกัน

ได้ จะเสนอผลสรุปให้รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน-จีน ลง

นามภายในปีนี้ต่อไป

ท่ีมา ไทยรัฐ วันที่ 14 มิ.ย. 54

ก.พลังานดีเดย์ ขึ้นแอลพีจี 1 ก.ค.ภาคอุตฯเมื่อวันที่ 15 มิ.ย. ปลัดกระทรวงพลังงานเปิดเผย

ภายหลังการประชุมคณะ

กรรมการบริหารนโยบาย

พลงังาน หรอื กบง. กล่าว

ว่า วันที่ 1 ก.ค.นี้ ราคา

แอลพีจีของประเทศแบ่ง

เป็น 2 ราคา คือ กลุ่ม

อุตสาหกรรมท่ีขึ้นราคา

และภาคขนส่ง-ครัวเรือน

ที่ไม่ได้ปรับราคาโดยจ�าหน่ายในราคา 18.13 บาท/กิโลกรัม

กระทรวงพลังงานจะมีการติดตามป้องกัน ไม่ให้เกิดปัญหา

การยักย้ายถ่ายเทของแต่ละกลุ่มผู้ใช้แอลพีจีและการข้ึนราคา

ภาคอุตสาหกรรมจะเป็นผลดีต่อเงินกองทุนน�้ามันฯ ที่มีภาระ

ในการดูแลราคาพลังงานล่าสุด มีวงเงินเหลือทางบัญชี 344

ล้านบาท และมีเงินสดเหลือ 23,864 ล้านบาท ซึ่งในวัน

นี้ (15 มิ.ย.) ทาง กบง. มีมติลดจัดเก็บเงินกองทุนน�้ามัน

ดีเซลลง 40 สตางค์ มีผลวันพรุ่งนี้ (16 มิ.ย.) เหลือจัด

เก็บเพียง 70 สตางค์/ลิตร ส่งผลให้เงินกองทุนไหลออก41

ล้านบาทต่อวันทั้งนี้ หากราคาน�้ามันดิบดูไบ ยังอยู่ในระดับ

ปัจจุบัน คือ ประมาณ 110 ดอลลาร์สหรัฐ/บาร์เรล ไม่

ได้สูงไปถึง 130-140 ดอลลาร์สหรัฐ/บาร์เรลแล้ว เงินสด

ในมือที่เหลือก็ท�าให้กองทุนน�้ามันฯ ไม่จ�าเป็นต้องกู้เงินไป

จนถึงสิ้นเดือน ก.ย.นี้

ท่ีมา ไทยรัฐ วันที่ 15 มิ.ย. 54

14 - 20 June 2011

Page 16: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011

16

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

จี้รัฐบาลวางนโยบายความมั่นคงอาหาร-พลังงาน

“สุ วิทย ์”จี้รัฐวางนโยบายสร ้างความมั่นคงอาหาร-

พลังงานท่ีชัดเจน ชี้บริบทโลกเปลี่ยนแปลง ไทยต้องพร้อม

รับมือกับโลกท่ีเลื่อนไหล-ความไม่แน่นอนสูง

ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ ผู ้อ�านวยการสถาบัน SIGA

ปาฐกถาพิเศษเรื่อง “ความท้าทายอนาคตของโลก” ในการ

สัมมนา กรุงเทพธุรกิจ Economic Forum: "วิกฤติพืชอาหาร

บนกระแสพลังงานทางเลือก" โดย กรุงเทพธุรกิจ ร่วม

กับ ศูนย์วิจัย ธ.ก.ส. และสถาบันพัฒนาผู้ประกอบการเชิง

สร้างสรรค์ (CEDI) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 15

มิ.ย.ที่ผ่านมา ว่า โลกที่เลื่อนไหลและไม่คงรูป เนื่องจากการ

เปลี่ยนแปลงครั้งย่ิงใหญ่อีกครั้งในศตวรรษที่ 21 ท�าให้คน

ทั่วประเทศมีปฏิสัมพันธ์กันมากขึ้น และวัฒนธรรม “Nano

Second Culture” หรือ วัฒนธรรม “ความเป็นเดี๋ยวนี้”

ส่งผลให้อุปสงค์และอุปทานของโลกเปลี่ยนไปทั้งหมด

ด้านอุปสงค์ท�าให้เกิดค่านิยม Hyper Consumption คือ

บริโภคไว้ก่อน กักตุนไว้ก่อน เพราะไม่รู้ว่าจะพรุ่งนี้เกิดอะไร

ขึ้น ทุกคนเอาแต่ได้ไว้ก่อน ท�านองเดียวกันในด้านซัพพลาย

เกิด Hyper Competition คือ คนพยายามเอาทรัพยากรที่

มีอยู่ไปตอบโจทย์ด้านดีมานไซด์ให้ได้มากที่สุด โดยไม่สนใจ

ว่าทรัพยากรเหล่าน้ีที่สุดจะหมดไป เป็น Hyper Capital-

ism ส่วนคนรุ่นต่อไปจะเป็นอย่างไร ไม่สนใจ เราสนใจแต่

วันนี้ ผลที่เกิดขึ้น คือ มีการพัฒนา แต่เราไม่มีความสุข

เพราะเป็นการพัฒนาที่ไม่สมดุล การสร้างความมั่งคั่งในเชิง

เศรษฐกิจยิ่งมากเท่าไหร่ กลับมีผลกระทบมากมายต่อสังคม

สิ่งแวดล้อม และภูมิปัญญาที่มีอยู่ ส่งผลให้เกิดความโหด

ร้ายจากธรรมชาติในรูปของภัยพิบัติต่างๆ กรณีล่าสุดที่ญี่ปุ่น

นิวซีแลนด์ ไข้หวัดนก ไข้หวัด 2009 และการลี้ภัยที่เกิด

จากความหิวโหยของมนุษย์

โลกมีทางเลือก 2 ทาง คือ ทางเลือกที่มีแต่ความขัด

แย้ง มีวิกฤติ ที่น�าไปสู่การล่มสลายของอารยธรรมของ

มนุษยชาติ หรือ 3C หรือ ทางเลือกที่เราจะเดินในเรื่อง

ความม่ันคง ความมีเสถียรภาพ และความยั่งยืน หรือ 3S

โดยต้องท�างานทีเ่น้นวตัถปุระสงค์มากขึน้ ไม่ใช่ต่างคนต่างท�า

ในเรื่องความมั่นคงด้านอาหารและพลังงานไม่ใช่วาระ

ของประเทศแล้ว แต่เป็นวาระของโลก เพราะขณะนี้บริบท

ของโลกก�าลังถูกคุมคามจากปัจจัยที่น่ากลัว 4 เรื่อง คือ

การขาดแคลนอาหาร พลังงาน น�้า และขาดแคลนคนที่มี

ทักษะมีวิทยาการ ในขณะที่ประชากรโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

มีคนชั้นกลางมากข้ึน โดยเฉพาะในจีนและอินเดีย ที่คนไม่

เคยมีความม่ังคั่งมาก่อน แต่ขณะนี้มีความม่ันคั่งมหาศาล

และชนชั้นกลางจ�านวนมาก ท�าให้มีความต้องการอาหาร

และพลังงานที่เพิ่มขึ้น

การแย่งชิงทรัพยากรจะเกิดขึ้นแน่นอน ซึ่งเป็นผลมา

จากความไม่สมดุลของโลก เพราะประชากรในโลกที่ 3 จะ

มีจ�านวนเพิ่มขึ้น โดยประชากรที่มีอายุต�่ากว่า 15 ปีจ�านวน

9 ใน 10 คนของประชากรโลกจะอยู่ในประเทศโลกที่ 3 ที่

ไม่มีอนาคตและไม่มีอาหารเพียงพอ แต่ประเทศร�่ารวยจะมี

อาหารมากเกินพอ และไม่ใช่แต่เฉพาะความต้องการอาหาร

ที่จะเพิ่มขึ้นเท่านั้น แต่หากมองมิติพลังงาน จะพบว่าความ

ต้องการพลังงานจะเพิ่มข้ึนไม่หยุดไปจนถึงปี 2035

ส่วนผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศว่า

ไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งอยู่ในเขต

เส้นศูนย์สูตร หากไม่มีมาตรการรับมือกับภาวะโลกร้อนจะ

ท�าให้จีดีพีจะหายไป 5% เทียบกับโลก ส่วนโลกจีดีพีจะ

หายไป 2% ขณะที่ผลการวิจัยชิ้นนี้ระบุว่า การผลิตข้าว

16

Page 17: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

Vol. 2 Issue 2014 - 20 June 2011

17

Vol. 2 Issue 19Vol. 2 Issue 1914 - 20 June 2011

ไทยจะหายไป 50% ไทยจึงอยู่ในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงมาก

จากภาวะโลกร้อน และมีความเป็นไปได้ที่ไทยจะถูกบังคับ

ให้ผลิตอาหารมากขึ้น ซึ่งท�าให้ภาคเกษตรของไทยอ่อนแอ

ลงเรื่อยๆ น่ีคือสิ่งที่เราต้องเตรียมรับมือ

หากพูดถึงนโยบายความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน

ของไทย คงต้องถามว่าเคยมีรัฐบาลไหนบ้างที่นั่งค�านวณ

ว่าโอกาสที่จะเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติกับภัยคุกคามจาก

น�้ามือมนุษย์มีสัดส่วนเท่าไหร่ และหากไทยเกิดภัยธรรมชาติ

จะสร้างความเสียหายเท่าใด คนยากจนต้องใช้เงิน 70%

ของรายได้จ่ายเป็นค่าอาหาร หากอาหารเพิ่มเป็น 2 เท่า

เขาจะอยู่อย่างไร ถามว่าเรามีนโยบายที่ชัดเจนอะไรหรือ

ยัง หรือเป็นเพราะเรามีปัจจัยภายในที่เกิดจากความห่วยใน

เร่ืองการบริหารจัดการของเราเอง หรือตลาดที่ท�างานไม่มี

ประสิทธิภาพ

อ ่ านทั้ ง หมด คลิ ก h t tp : / /www .bangkok -

biznews.com/home/detail/business/center-busi-

ness/20110616/395867/

ที่มา : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ วันที่ 16 มิ.ย. 54

ไทยตาโตตลาดอาหารอินโดฯส ถ า บั น อ า ห า ร ผ นึ ก

เอกชนรายใหญ่ติวเข้มผู ้ส่ง

ออกไทยรุกตลาดอาหารแดน

อิเหนา ชี้ศักยภาพสูง เป็น

ตลาดที่ใหญ่ ประชากรมีค่า

ใช้จ่ายด้านอาหารสัดส่วนกว่า 50% และ 4 ปีจากนี้มี

ความต้องการอาหารเพิ่มเกือบเท่าตัว ขณะที่เศรษฐกิจก�าลัง

ขยายตัว "ทียูเอฟ-แพร่เอ็กซปอร์ต" แนะสินค้ามีศักยภาพท�า

ตลาดสูง พร้อมแนะทางส�าเร็จ

ดร.อมร งามมงคลรัตน์ รองผู้อ�านวยการสถาบันอาหาร

เปิดเผยว่า อินโดนีเซียถือเป็นประเทศที่น่าสนใจที่ผู้ประกอบ

การของไทยจะรุกเข้าไปท�าตลาด ด้านสินค้าอาหารให้มาก

ขึ้น ทั้งน้ีเน่ืองจากเป็นประเทศที่ใหญ่มีจ�านวนประชากร

มากกว่า 245 ล้านคน ในจ�านวนนี้เป็นผู้มีรายได้สูงคิดเป็น

สัดส่วน 10% ของจ�านวนประชากร หรือประมาณ 24.5

ล้านคน คนกลุ่มนี้จะอาศัยในเขตเมืองใหญ่ ชอบสินค้าที่

มีแบรนด์เป็นที่น่าเชื่อถือ บริโภคสินค้าน�าเข้าจ�านวนมาก

รวมทั้งอาหารอินทรีย์และอาหารเพื่อสุขภาพท่ีก�าลังมีแนว

โน้มขยายตัวดี

อย ่ างไรก็ตามป ัญหาและอุปสรรคทางการค ้าใน

อินโดนีเซียที่ส�าคัญคือ มีกฎระเบียบ/มาตรการกีดกัน

ทางการค้าที่หลากหลาย ซับซ้อน ยุ่งยาก เช่น ในการขอ

ใบอนุญาตต่าง ๆ และยังมีปัญหาด้านคอร์รัปชัน ซึ่งจะ

ท�าให้มีต้นทุนสูงขึ้น หากท�าการค้ากับนักธุรกิจอินโดนีเซียที่

ไม่มีความสัมพันธ์กันมาก่อน จะเข้าถึงได้ยาก ในบางภาค

ธุรกิจยังมีลักษณะปิด เรื่องต่างๆ เหล่านี้ผู้ประกอบการไทย

ควรศึกษาให้ดี อ่านทั้งหมดคลิก

h t t p : / / www . t h a n n ew s . t h . c om / i n d e x .

p hp ?op t i o n = com_con t e n t & v i ew=a r t i c l e &

id=71568:2011-06-17-11-29-33&catid=87:2009-02-08-

11-23-26&Itemid=423

ท่ีมา : ฐานเศรษฐกิจ วันที่ 17 มิ.ย. 54

เอกชนโวยอุปสรรคลงทุน AECนายวัลลภ วิตนากร รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ง

ประเทศไทย (ส.อ.ท.) และที่ปรึกษาสมาคมอุตสาหกรรม

เครื่องนุ ่งห่มไทย เปิดเผยกับ "ฐานเศรษฐกิจ" ในงาน

สัมมนาเรื่อง "AEC : จุดเปลี่ยนการส่งออกสู่การลงทุนใน

ต่างประเทศ" (ธสน.) ว่า จากการที่อาเซียนจะรวมตัวเป็น

ประชาคมเศรษฐกิจ หรือเออีซีในปี 2558 ซึ่งจะมีผลให้

10 ประเทศสมาชิกกลายเป็นฐานการผลิต และเป็นตลาด

เดียวกัน ภาษีน�าเข้าสินค้าระหว่างกันจะลดลงเป็น 0% จะ

เป็นช่องทาง และโอกาสของสินค้าไทยในการขยายตลาดสู่

ประเทศสมาชิกมากข้ึนรวมถึงเป็นโอกาสใน การขยายการ

ลงทุนสู่ประเทศเพื่อนบ้านมากข้ึน ทั้งนี้ ในด้านการลงทุน

ในประเทศเพื่อนบ้าน มีปัจจัยเอื้อหลายประการ เช่น ด้าน

แรงงานที่มีอยู่เป็นจ�านวนมากและมีค่าแรงถูกกว่าไทย ได้แก่

เวียดนาม กัมพูชา ลาว ประโยชน์ด้านการใช้ทรัพยากร

หรือวัตถุดิบในการผลิตที่สมบูรณ์กว่าไทย รวมถึงการเข้าถึง

ตลาดประเทศนั้นๆ โดยตรง ท�าให้ประหยัดค่าขนส่ง ต้นทุน

สามารถแข่งขันได้

นายกุญญพันธ์ แรงข�า ที่ปรึกษาอาวุโส สมาคม

17

Page 18: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011

18

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

อุตสาหกรรมอาหารแช่เยือกแข็งไทย กล่าวว่า อุตสาหกรรม

อาหารแช่เยือกแข็งของไทยมีการส่งออกต่อปีมากกว่า 1.2

แสนล้านบาท โดยไทยมีจุดเด่นเร่ืองโรงงานแปรรูปที่ได้

คุณภาพมาตรฐานสากลแข่งขันซึ่งมี ความโดดเด่นมากที่สุด

ในอาเซียน แต่มีจุดบอดเรื่องวัตถุดิบขาดแคลน โดยเฉพาะ

อย่างยิ่งปลาทูน่า และปลาหมึกส่วนใหญ่ต้องน�าเข้า แต่ใน

ส่วนของกุ้งมีวัตถุดิบจากการเลี้ยงได้เองในประเทศ อย่างไร

ก็ดีอุตสาหกรรมนี้ต้องพึ่งแรงงานต่างด้าวในการผลิต เช่น

แรงงานจากพม่าในแกะเปลือกกุ้ง หรือแล่เนื้อปลา เนื่องจาก

เป็นอุตสาหกรรมที่แรงงานไทยไม่นิยม

นายพิเศษ เอี่ยมสกุลรัตน์ กรรมการผู้อ�านวยการ

บริษัท ล�าปางฟู้ดส์โปรดักส์ จ�ากัด กล่าวว่า บริษัทได้เข้าไป

ลงทุนตั้งโรงงานแปรรูปผัก ผลไม้บรรจุกระป๋องในประเทศ

ลาว ในนามบริษัท ลาวอุตสาหกรรม-กสิกรรม จ�ากัด โดย

ร่วมทุนกับนักธุรกิจท้องถิ่นตั้งแต่ปี 2538 ปัจจุบันกิจการ

ไปได้ดี ซ่ึงการลงทุนในลาวมีจุดเด่นหลายประการที่ส�าคัญ

คือมีวัตถุดิบมาก รัฐบาลลาวสนับสนุน ภาษาสื่อกันเข้าใจ

วัฒนธรรมใกล้เคียงกัน ค่าจ้างแรงงานยังไม่สูง และสินค้า

ของบริษัทที่ส่งจากลาวไปจ�าหน่ายในกลุ่มประเทศในสหภาพ

ยุโรป(อี ยู)เป็นหลัก ได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร(จีเอส

พี) ไม่ต้องเสียภาษีน�าเข้า ซึ่งอยากให้ผู้ประกอบการไทย

พิจารณาลงทุนในลาว อ่านทั้งหมดคลิก http://www.than-

news.th.com/index.php?option=com_content&view=

article&id=71566:2011-06-17-11-18-08&catid=87:2009-

02-08-11-23-26&Itemid=423

ที่มา : ฐานเศรษฐกิจ วันที่ 17 มิ.ย. 54

18

Page 19: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

Vol. 2 Issue 2014 - 20 June 2011

19

14 - 20 June 2011

สรุปการประชุม ครม.สรุปการประชุมครม. วันที่ 14 มิ.ย. 54

ที่ เรื่อง สาระส�าคัญ หน้า

5 ก า ร คุ ้ ม ค ร อ ง แ ร ง ง าน

ต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองที่ได้

รับการผ่อนผันให้อยู ่ในราช

อาณาจักรเป็นการชั่วคราวและ

ได้รับอนุญาตท�างาน

คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการพิจารณาแนวทางการ

คุ ้มครองแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองที่ได้รับการผ่อน

ผันให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวและได้รับอนุญาต

ท�างาน ตามที่กระทรวงแรงงาน (รง.) เสนอ

รง. เห็นว่าแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองที่ได้รับ

การผ่อนผันตามมติคณะรัฐมนตรียังไม่สามารถเข้าสู ่ระบบ

กองทุนเงินทดแทนและประกันสังคมได้ โดยจะต้องเข้าสู ่

ระบบประกันสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งจะได้รับ

การรักษาพยาบาลในกรณีเจ็บป่วยทั่วไป แต่ในกรณีประสบ

อันตรายเน่ืองจากการท�างานจะไม่ได้รับการคุ้มครอง ....แต่

เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของนายจ้างและให้แรงงานต่างด้าว

ได้รับสิทธิตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ครบ

ถ้วน จึงเห็นควรจัดระบบการดูแลให้แรงงานต่างด้าวหลบหนี

เข้าเมืองที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู ่ในราชอาณาจักรเป็นการ

ชั่วคราวและได้รับอนุญาตท�างาน ได้รับสิทธิประโยชน์ทดแทน

โดยใช้ระบบประกันภัยแต่สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับต้องเทียบ

เท่าที่กองทุนเงินทดแทนคุ้มครองอยู่่

4

ที่มา: www.thaigov.go.th 14 มิ.ย. 54 รายละเอียดดังเอกสารแนบ 6

Page 20: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011

20

อัตราแลกเปลี่ยน

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ตัวเลขวันที่11, 12 มิถุนายน 2554 ธนาคารแห่งประเทศไทยไม่มีข้อมูล

Page 21: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

Vol. 2 Issue 2014 - 20 June 2011

21

Page 22: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

14 - 20 June 2011

22

THAIFOODPROCESSORS’ASSOCIATIONTel : (662) 261-2684-6 Fax : (662) 261-2996-7E-mail: [email protected]

สมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป

ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ดังต่อไปนี้1. http://www.thannews.th.com 2. http://www.thairath.co.th 3. http://www.bangkokbiznews.com 4. http://www.tnsc.com 5. http://www.prachachat.net6. http://www.dailynews.co.th7. http://www.acfs.go.th8. http://www.posttoday.com 9. http://www.matichon.co.th

เสนอข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......................................................

Executive Director

วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail: [email protected]

Administrative Manager

ลินดา เปลี่ยนประเสริฐ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Manager

สุพัตรา ริ้วไพโรจน์ E-mail: [email protected]

Division-Fruit and Vegetable Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

วิภาพร สกุลครู E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

อัญชลี พรมมา E-mail: [email protected]

ธณัฐยา จันทรศรี E-mail: [email protected]

Division-Fisheries Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

ชนิกานต์ ธนูพิทักษ์ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

รัตนา ชูศรี E-mail: [email protected]

ธนัญญา ตั้งจินตนา E-mail: [email protected]

IT Support Officer

ปวัณรัตน์ ใจกล้า E-mail: [email protected]

Data Management Office

ญดา ชินารักษ์ E-mail: [email protected]

Commercial Relation Executive

กัญญาภัค ชินขุนทด E-mail: [email protected]

Administrator

วสุ กริ่งรู้ธรรม E-mail: [email protected]

ศิริณีย์ ถิ่นประชา E-mail: [email protected]

Accountant

วิมล ดีแท้ E-mail: [email protected]

TFPA TEAM

Page 23: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

6tfl 1a o d1fi n €€il r[rdsrJr:su oly nt

THE FEDERATION OF THAI INDUSTRITSprinr:rJ::puri.rliiin'i lnr i,h a :o olrilna"runia}i rrnrnaomu rmnaowoQueen Sjrikil liatjonal Convention Center, Zone C,4th Fl.,60 NcwTel: 66(0)2345 lmo Fax: 66(0)2345 1296-9 Homepagc : h p://www

iufi .. ll..I?H9.1.. 321.4i ut +qaa nss+

14 inurrunffi.]9.!1

d t d rt t ,a ra f af: UOTAU1I A{HYttn UllJa.iflnU',tU ttRs llYtd.i [mVnT d![d U tU'llUOO',tXtflJa luunrl,l 1U lOUttnl9

. r 4 , a - d ' ' e v t , a - a & " I ' -R,tdoolnn t!tnu 2 ! 1l:11 LxlLnu 8 Ltflull 't l4 fitaml0'r1,r,rlT!

1u#0.:d anrqoratan::ruviul::ryre'lyn 6,r'lo'rirrauoa-qf, rJurrdoo'to iauiufra n.s.u

atta aaafia a1E1A%1 A tt a s d n tn u't a ia x'lu nt t vi t t t u n.f,. 2554' du 1r.rir.ra-,rnr:fi rz

t'ta1 1 - 16.30 f d o , t A \ uLOU 'tOn1l:36tJO tl l0 [1{n

- ) ) v e . t AHUrrnoun-rrrrnrr.rvi rn rrr ounrt i n't't t?i1Lntfru?n m::eilnru nr:6n:rtlltrot:roruiadruuo

ruavirm:rr tnnfinnrur:Jfr116orrrngr n.u*u-ud rd alli'aur:nrJfirl6'[sia rir.ln nq"-0,:ua:rfio:l::lurria A A -

dldo fln10stfl114nTt 9 0.I10ITUut50l tJl u.JYtlur:auon1nt7]tn u?1la.: [1]'lT1 n']Tdllltu'tst'ut?ut[a:' l

d o

[ ']d'to.tndl't [outJoo:'la1af t1rI ul.td1fi& 8 v . t ! t q e ) - , l -11.r1l r.i frl{ [o rlJ'r:? rarulur arrr:n ri.rllal'n:ortl ton alrfi ttur.r lryt:a lun a! ru.I: .J1utt't.t.Jl

Rni oo fl'rfl n:::.r E nrHl$itrilnfi' 'ail6yti z n:n4roil zssl rrrln:ar:n tr I rnt 0-2345-1036,

o-2us-12g3 u':oaornrr:r ua:16 uo rfil16 rLleidlm:flYn yf 0-2345-1035-7

J s ,0l t:u1{ 1Llrt0 tu:oflnl't 1

lJ0ttao{fi 't]:.luljn a @ u<n. crf n".

urirr,tcvli,'u"ll ruru\d:i"ln',rgr''ln' Ia(n

1 (U']UT1I-U d'lttflfi tfln )

1'L 5 -q. 9u fidrurrnr:lyni

.n [t:.t.tlu / orrotr lant e-mail : [email protected]:. o-23+s-rogz

f, udtaraorarun€€cl1fl s eiusiu"ldu€nrtoirfl eessrutt6u $a:n6un'nruna.lnt

O rlstn, 4ci1*)tJr11)I{ibldl.'\L'" 1't'-l^"'l \o)lu 1'\) ' n r ' \ , 1

lwi lrj rnr.f r r.*l ilrtn rt>tt I

/o//.,€a

Rd., Klcyrqtoi\, Banskok lQl lq ThaihndJl alJ ry t{ rlfi0lli-ll iYllllgu

uasdnlr,lll't@aaat'luntsi'tttu

vt.FI.2ss4"h

ITUU Allltn AR'] 0 et d'114 nt:! [Lv,: !lr: tllf, tYr fr, . 1 4 v

fl.t11d.DJ',t0't EJ t[ 1{1.{lJ t!d frTll'tT'] tJ flN Ul

J - *errtLfi rr:r:rrrftXr-lGoru aaon-r arirourrlt lla:anlyr rnoc"allunr:rirlru n.fl. zss42 - , ) - | - r v v q , v v A A e qtr.Jtuun,]fil l1utn u2n o?'t !a aon u tunltYl'r,i 'tu 0:u9{n!.Jnu Lrnuu n Ln u??la{ [ Ro1uut:n 0:Jn']T

- )Yl.Jl{1U41{ zuU'tll',t: 112ltU1.t114 flUn.111{ Li'r11U'tY|n't',t I:J n 0qn U LUn',t:yt',t.0'lU tln:UtUtl4ll',tt?.0.0'lU

luiufi ro nrn0rnrL 2554 Io u fl"r:: iii 6'o r a.r n:r:rrriru qG a:.r-r o"r n iirr lo-ril.ruora rirfi nrr l

F.T.l. ls the Center for Thai Industries. We Are Determined to Provide Services wiih Ethics and Oualily People

Page 24: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

a { R

rsoFede ra t i on o f Tha i Tndus t r l es

9 0 0 1 : 2 0 0 0

i . -t ua ia In l uuna !u n t t t [ 1 ]n I t dE l

r . "5"0 f i " r n ia , : in : qrJ n: n i ar : r n f i

Ia:ar:rnfi ir4n:re rltlur:rrrunr:

afin nr:riaa:"rr uaruinr: udzrnnr:

viiorur a rr r fn:r r tt"rk n :u { n-u"hl ri'r

1#rir n a n::rr-roia ry"li 'u:,r t rulurir u

F'nfl noq.'r"ti oriraut "g tncdar

rrrna"orlunr:rirrru riohir fi n ii 'u n:r c

n ' tn n ' r :1r ' t { ' rununnunu' l u lnu n1:

d o ) d

LN'?JNlUNA

w.s.u.nc1udaonfl"a o1d3ou1u-t tla:an.rwttcolaou

f,uoon15n

' lun'rsriroT u w.al. zss4

ooooooI

o0

o

o

au'lo zirsoo fi ulrloifi ...a'tao..lullsoo'lu

ztn'rq n ut'rnnssu ruiotJsr tno1na

Tnsa=wd 0-234s-t035-7

Tnsars o-z:ls-r036, 0-2345-1293

12 nsn0 ' l f ru 2554 |6a ' t 13.OO-16.30 u., - - - - }

ru duUnlsUs:dUtlt ' l0t '1fl aSnol

$:r#l;;rflTil*T;@r.r:;:r tu-q f6 q'r n5a$ t[5{ {'r u r\.FI.

' r , - , d2 541 r.rronnrSd?1.{ l} l t l l i !u[:0{ n1:

pir n:o r u:': ':run'r'l Ia;tiaartzFr' i r n"n l r iar r r : n drvunnnln Ic !

r r n: nr r L i r r r r run rr r ! a a o i'fl ln"

adr.:fi :;3mEnl,v 6r,irtf, uriaon:r

u :r:rtriqrg-n- nerrrl aa n n-s ar6:

ar . l r "g t taadnt ur n do r lu nr :

riroru u.a. zss+ fi 'u z'ozru"fi"'tn"- - n

ssnT Fl Ll l :1tn anl utu f l ul ua' l t a

iuf i rz rn:rnr zss+ Iruorf i rur".r n-uldrfi adufiruun*fi{ fas !rd o

a - )

f l u?uuuuq? u :&n lF { ' , na? ? t l 6

f l5n{ln 2554- A

" e , ' ; i

o J U U A l I U U A U 1 n E t n n U l E ! A 1 n /

titJ a v n a u n t a u a v it 6 E z i a,tI u n t n

d2u a1n . l a )&aa iNn '21&JL? l1Lq Lu

zia ituu a t a,t t -e -u -azt a a a a n'a z

tfr a'liat a t e a fi JE atx ngn at u'ld'

achtn nsiar tfia evTst$?untteto

tnnsmsnzuax firiu ntta ttavuirnt

ia nt z fiu aat u a a o tiEJ a't 3 e a ul ia

u a v a n t w uz a ia u'lu n r zit o t u a i u

ITt IVAN

aqrJars:eiroi'ry ocrurtuur ro oru'rsuniuaon'rsu"oa"u'lt'n4nuroSrosr=fi ror=dn 6ocrusrourosrfi droiruo - ) ) -

' - - !

loSu,. |onrnucuaooaoulu0ln.runlnu. luouuuluroonozrg-uBmszricnd'roruzod.zwulno'ru.trf siurhu'xiJo)- -.1 - - -t-q"rfr uctioooitrun4nuroouiufr fr nunfi oioorJ!uhlu16oo'lofror.l s = r 6 u U ry nr orlc o tir o n cr u 6 o o r n nrs a :rc"u'hi rJ ! uihnrna: ratrtirJ ! uih orrun4 nur ofi u naoTnuo dro'lsrirotirols'hiff orilunrstJrfl ungnuru'ldoioos.-uTnunroarrgr iirqn4o4ri ziJ gnrJiurfiou l,ooo:ooo urn qnrJs--u s,ooo urnzciumsaonti our,iouTnumoorryrri'rlo"n6a'hi odro'ls

- - ) - 1 " L 4

ro'rnunfi 5Efi iiru'roa"oms nS ato-ddoirt0ums'luanruds=nounrs'lu15.)0 tou10lasuan6n0utou ltso losun.lsuJUltlaoool'ruuo.rnnoonuoJ'lurJaoanlainu:drrnolouucrJIuii6'lunrsoios:uuuBnrsoion'rs6i1uac1u

aoon-u'lriltu'l oruurorsgrufi n4nurodrnuoi )

\2 n1U-OOU U5:|OUUn l/ l. lntnUSUAO

rirnuomsa:-uuur)oo@n1,5u s!qulluqlt1ollslr@

13.00-13.30 u. fr nrr:riru

13.30-13.40 u. S r eir r rilo rr: a-r r u'r

13.40-16.00 1{. 0 ar:;drfrqlarl,r:;:rtriqqGnlr:.Jnoon"r or6rourn-r ua:anrnlroiior.r

luni:rirlu r.fi. 2554 r!6r: r!u1:.1A rj6 olun 4u rr ulnrl

fou ororr€tar::ru atrJ::raig

i i::orunru:n::rnrlrt l-111i!l[!t.J.]111 fl r lrooarsn::!ttvi i l :gtl ' tg ir!

} rarrSnr: enrordnr;uruirrf i l ::nalnr:n-tua:ootstun'i ' iu' lrr

} n::arrinliiarrirXfi rr:rurillr:::r:uriqrl'6ottr noon-ur nnrdurulu4:

! orx"n::rnrr nrrr nooa"r orirourfutto:amw[lq'd'ortun rrrr.] ru

16.00-16.30 u. O orr-ororl::rdurlor.i i fr rfr urr"o.i

Page 25: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

"lu a er-cr : rrir ir ru n r : a'ar ru u'r

rsrSsrJT-ufio "r,{.r.u.n'rreJ:Jnoqn-B arfiror.trrl-s trasdnryrrtro#orutunr:ri'roru v.d.zss4-

iuo-rnr:f 12 n:n0roir 2554 rxal 13.00-16.30 .

ru ourinr: :cgruu#rm6??fid

folog argar[[:Jir1]$ 6{nrosr6{r n:: rrr,i.: :crfo"h.ru

v ' t , 2 w1. nrt*'rn:on?JoolraJoo luuor uer"rr.rr:os ua:n n6'or tzirvir oonlurirn-unrfit

z.:ruurrurirrirdrrua"ararur 1n: r*r fi ar n"vi o 16 u r.rsi'l u:: o o )

2.1 1A- f rn d

2.2 Ea-e{na

v d3Jltn dnlaofltun:; 9j l l ,

\J 1-looafl',: til

700.- !'rnfti1r.[

1,ooo.- ulYr/Yi'ru

4. nr:rir:c[3u / nr:a.rflcrfiu$

O dr:;r3uao fiialdnat{sjru " d n 1 q o d 1 fi n r: u u r,i ,r :srmel'lmu" fiuzuunnrrriu lctu6 stu +

O lauriurrir:r-ryd ".tnlocrd1fini:arur4rrJrcrnd'lnu" frr6oasJyrilrri rar;fi oog-t-zoez4-5 ruror:n;.rtru

arlreufnr: :c:i'eJ uvirtrfiffifid uir"'r eir rnx b PAY tN nioru:"r:rua:r6 us douifm ru-l FAx 0-2345-1036

* anrooaryn:: rryirl:;r etyru o-oortrduq'rar n.r.11.flR10g1fl1l4fl::rurrvi.o ::rrertru n.er. 2530 Y[rirlird-n:*ru:l:]urirt'r

u6ofrrd'ueirufi6rflnnsnruJ'rsr:'r gg uvi{:lrrar':aircnrn: d.ote.ig'rrir rsior rfisnrrir3utcl''fier-rooaun:'laiadlurirudaonnu-nn'r6 r* fidrs 3% *

5. n 1td8J o 5 [?l l 113J d 3J tJ 1.6't

s.t n:an'haar-o:'h{'o:rri'runndo.r rn:6ii Fnx rfiarir:o.:firi.r nls"luiuwatiau fr' z nsniltaa zsSl

5.2 n:riunrfinnr:rririrruii'ra,rurd'o.r rriodrcyrir z iurienr:riauerr4fi'al ur firnrYurirvuodoorir:sFiraongtfi u$ 50%; . : - &

5.3 fln'rofrR'rfinl13.r9 0:l1JRtt0nr%nqt] fl't 6r! n 0u-14 fl i Llr'r111.[

€l aounril:rsagr6uqrfisJrGsJ'ldd : d'ls\r'rlt[[:0\t'rls 6lR'roel6tlunr;il[[1irilrs[y.rF1'lns

gr.tfnr:rJrvre.ruyiom6?3fid lrufi s"la + Im:Fl-l'{yio-2345-lo3s-7 Im:ar:0-234s-1036,

0-2345-1293 e-mail : [email protected] uioorrdTnnoluaar-o:'16'{i www.ftijob.com

e-mail

Page 26: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

0 s / s 6 4 0 1 1 ' r { | ? ? F A X * 0 1 i 0 r ) 4

g ' ^ . o d i l

dil1n lJ P,l; .1{l f i l i l l?11."r C I Ll l lUa i ,

- i n l g r t: lJ 11. .V. . lY.1. . . . . . . . . . . . . . . .

{., i 'l Inrc}i,u 2n'AJ l { r i . . . . , . . . , . , . . 1 , . , . . . . . . . . . . .

{ n r n

t-J CI 1... . . \2. : . ." i . i . ; ". . . . . . . . . .

fifljfi1td'trir{ilrulrr

dc#o*o n. U!T!3 o

t"dc{ t,1J1J?i!? d}oo$tr

{ vi* offod 1? (bAsO

rieq tro,trjl{rirln1rfrtlrtL1iinu urltr]fllJ1f:tli r d ' I .

fi-tfitiurffru o. riiuuorntrf,ilur

b. l{11 L ill ilt.: f1r r{r ir*#ritut

{rttsutl rrf; o1drqS{'ur:rJ1

trd'lrr:U;ny

eoh rf, ll4 lerla>r siu>Qc..1 intn\o; \i th Xfrrrxxgaloal ), tllo;rlg,aild)lL$'uddr1ifi dra$ Kq l-

Tq f , - t ga

f i t?r:lr n rnrru xr-liri'1lfft, qlo ddfrr dr.Jtid, *-s dds,i dfis'is)"dh sig

iYtAf: cb ddct dsfsrb, ab ddr{ dd#or

J fiqurur ''?*dd

dr unru n'r:#l s{r,r{ lcrfi fi ni !?rr?.t ?{1 fitd rlruufi {r#ulur # ul,, r{lrn *1 nqu #rourrrgru GlobalGAp" lu{uqn{d bb ntrrrlftri bdrtrd ru frsr?tuouduangr n{u a lrqnsuhilauC &l{nuunlfi lnerfidnqilrrr.ro{rda'ir{rrr;naunrrfraifrr*ncdroonf.JfirIn?il Xrn u,0 li/rrthj E U id,{r.rn r I r i ffi rl rdrlq r nrtrj fr tfi rrur.lrnr :SlJ Gr,obalfi AF*nsn1{finu1}r'tFt'l3iu Thsi(;Ap rlurtqrllluuntr$n{trl,ll*ri{rfinrretr,rildiu'l,rnurt?8r'rf,,..lqrfi tdlau n il !fi1inuq t$nrur lrrtlrJ E il xasilts lyrnil t fi{ur* r$1u Globatc,AF rf, uu rrtgrulfi strfi u.r nuarr$nl*rilrrunfiuw"i#l*qd*!drg o

n?tlfl't;#1dlqJrsiurtfilTtzu'rn#:nlv'ir nr:#,lurr#.rnnrrsrtfj.rrJrrtril{ddratdnrtnlviru {.:q.rarlur.nirgviruunulr,r$u{uvru d"lurl cn nul{ri':il#uuui *wttEnt1rsqrrrrnfijrcsr#rrTudt#tlr{nnt, nuutosqrindu*frrwr:rurjrrnrrdpr#Lrlrur $n?x1nff*1trril:ca*dtcr{rj:tf,mur rrol#uft{a{wuu{rumrEr rn fi!

'[qsnronulurn!{ufi'{iidd.trrr

d" r* u unur iq l i l f rdr fn l r r tnr?u1in1rC1 I t tar rur ls rnr ob ddn dernrb y iuo's ddsr (sd6| nrutufud bo nlfifilfiil bddd r{,t#bidffirnudrtsri'lrltnl

O B*^

{rireqrllhf r!ura!s)Iswlufi rJilrf*rrrnrrrnllit#ln:unn{rJrrrJrs$;

dsrdb, dcr6r(

@) cr4n. of o

w/rnt ,r/a - fu,t /

/t *.,,,*rlr"t^r'-,g'r* e1 A t J,2 n.+* i"*rP"A ..7y',

*/,?

i&h

Tauanrnttu.i!fie

Page 27: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

'1 f l /0s ?011 ' t ( | 0 t F i lx

r9sq "r{txnfi.ls EU ftuurntgu G[obatGAp,{uqninn bb nrnfl1ilr bddd

h{rrfir?trusud fqu{fluurut .

tl$rltadllktstfwlrrf ur S tobr rGApIaa rr.m.rnufu opuiriqnsn'r$rl$a*n n{w,l $rtl ndu r nu: ml an{

oo.df, - tra.oo u. dlhfudwn'trlan,t,r:dm

or,oo - ob.oo lt, gn:vi'uesfrrnuntlnu#rgrnnrflu ThaiGAp

tnaqqft* {$Jwla{f r

$b.as * $er,os U"

om.of - rd.oe il.

od.{ro - ne{.o,o iJ. AtfulSUU

$C{.oo - Od.fid U.

oc(.nd - tsdf U.

ad"oo * olf.sd l. naudAdnn,ml

n$trtfi n#rrffi X*u aft fnunrnfidr nlturvlr

lofiJftrE$irgrn rr rs{a1r&de&qnnrxrnr*{*una*$$fir*firtrrnrm & $ u*cgsufi,s$ut ,fun {rfih

fn iuil!*x,'rria r u'r r nfi r q{,fi

ilfi aun,Hsttil{aa nfi'ulrnrgru 6to ba l6ApIiu urtrftrurrndqrgr*fu fu**"ooir,

-

& 4 0 3 / + S 4

um tr*n'rr$rnrr vt$n rnlrglnnfi,rur{arwr rN,rf,* (u,nfir}

Page 28: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

$sgnt nslll,fr&Nttr'n.aqn&t ttriuewb) pwp,qnb{p ;?:ffiffi- 'pw*fr frnpp ee tsl r$#rl1;{&,Lan#nptyaEtysfrn**et,ffiryrffap+ urgwt i,a

Int F.

lrepuhnrui,tluftupu &u*sn$ rsr ncsnFBldrpl)

Uto|zwgpwq rytu)-a eln wppvr&;o oto'{wrtp wfr En nst!{trtt{itrutillLptiu}:tLt4,&Ltt*wL{tt$ttptptrry$gufvfiitptruria 'u :huiptnu

gh*rurpp tnE i.. i nuLrt, f.lnr4rn,,p,rurnup n ldr1errlFupirrneiy*,uqpin ;1 traurp$ 11 u$rrF [1 ugrbnm*n

IrmI " "-" swrlrl

nLtlu$n/raFlft

$nnt!f'"""" 'g'4Arv0tn'ut

agh*nnupn$p pnor$SrlsnFrl ,r ry

q rtpen pnsnn&$qt ru.r,ipifqi firu$uru qq

F|tS,,dy$lEqels nus[pr,ECItp ru bL*s*b0l,, F{rlt

$,$np$tFtEiJf*nBsnnfi

,Fr=,r&

rnoreoo EIr'J 80 : 0t I t0e $0160

Page 29: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

f$nTeF rx'nF6*r*|ltt*;;* i*rtilp

"'I."'| - ll${rptnunum

Itr!ff'.uu-*1 *ill," f i ? I i i ry er*;*+*rilif i!q,q\.e

;l

rt

? i srutnn*3xrp*r- I-*ff ti:.-!*!

ti:: j f iT. -I fl

#{t*

t3|0tr{.to lisrq tvr*rts'il ltt{F*i

E$BF--1If- *t"Httnunl'*l i-,* -..--, E iltftvr f-fW

r *ffw

$ lnI

\ I f**r*'' E

ffi;*;l * i __J t L*-* -^' - '|;- -d

**'"-" fiI*i*iitiiilijt"it'ry'fr- ; ltx rr*r*tr

mu I $n*rtttnS tttl ltf*un wr'',-- - FhnilsAiltnlrl

rnt;tou ffiHHi fr* j 0t i.l0i n*/$tJ

Page 30: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

'Jn?uilflFl

q.JYl y{fl.l obo6'r/? oc(mb

ddlooo n.UUYllli o

o.tfiol o.uuvttli ooooo

oo l]6lU1UU tedtid

a

ria.l rorirurdrirrrdlrrurrior "loiolnSo! ro{i! rJirrfr? FTAlyu-EU rraelyru-EFTA"tiuLl uluna!1n! t{an01'r:61[:0:1J

d.lvl6.ltl'ltl?U o. nlUUnn15A!tJU'l

ie. t[1.i!na!llJl.lLl15?tJA!tJU'l

I6ron:rro:lrnr:6r:vra'ir.rrj:vryroovoiqd'!ltul ria! " rsriu!y{iolr ta{;! rji!n-? FTA

, . Alvru-EU rmvl u- EFrA"tnuI?-nqil5vard rfiou.ruuvrirJ:vtrd'rLr{uri1fi{fiai'lukirirurdero'rn4nr']'rnd?!

to.iluuldvr:rr{oqaanruva'raorfrurri!nr:roirJuilSolroilyrolun'r:li'ln?1 nnan FrA lyru-EU uac' r - - . . . r v r J q r u , I v atvtu-tF tA" t14flnn1na1uvl010 to5lJlJtu tutuzuan:vylnln F tA uaga:'t{n?1}l6tJy{u0 gllv unlnu?nu

n?1 d?ur f,oo'rnnrn:-r1unr:uduaur luiuvrqriaudfi bm iqureru bddd su riou:ulu{ tsu c

1:.lu:rL6rfiriua niuiftlrSn qrprivr toto n:u 'r :luasr6uorJ:Tn4oruf;rfid{rLTdrcr o

. r jlunr:fr n:rro:o1n'ri6'nvvi1.i!iv rvrfl roriuuriqJviruraio{urur{riunr:a"uur

d'{nai, r Tnuhirf, urirl{iiralo1t A - i - :

?UOU l bo lqu1gu bddd t onl:8fiyl15vUu6{ylvt1jUu o?U.AntolJnfuA{

a{ tluuu'1 t}I0 tlj5olra'15fu'r

4. . A .(. l lur!

\OrurtJa19

, 6'fiq9 6 ar5rr:rxo\.ru)roo

14lH t, tJo ) \11rr!&)t1l\1ci)oai)o) r

1aI

1v e-t. gu

toBao{n?1rJu!no

o,r,/(urrounur {tLur::rurnr:)

:o{06!6 rJfrri6:rtnr:uvru

oBl6n:lro:ornr:dr:vv'irr!:vrrn

(2 at4o,rr?'t,

p!//o1"'1tnt

"4)Ow;rjia,/v.

"e/"1% ./'ny'1,t

;irrinriorurnrtrvrfor: rinr:6'rttacrJ:vsr#!iliuiiIu:. ob-do"l-ot*otu

Iu:ar: ob-a<"rdbod /ob-ddr't-dboo

dil1 nil r{il4 fl olnr: air rilpJ

;ud.. m...l.EY$...?:f-""

Page 31: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

?rdri'rurhu '

Gf"riruuanr:dllur (irl)

rdor "rnlulnfol rodu rJiudr FTAtuu-Eu uaslyru-eFrA"{nlnsn:rtro:ornr:dr:cil'irlil:cryra{ulrqriaufifi uei iquruu ucc<

ru riot:ulu'i du c lrruzu6rf,rlua n?'udilr{a qqriu ui n1{r 1

od,.no - oc(.oo lJ. AwgtfiUu

od.oo - 06{.cl0 u. iutj:cilruorur:,irl

od.gro - cc.c'o u. oidrru rlol "rniu!ilfo!:odu rJiuda FrAlilo-Eu uavtnu-grrR" Iau

o. uruirvduuilq?:ro?{r{ro.roGudn:rio:or nr:dr:cil'ir.iil:v lyrn

' tD. {ununrldua?lnr:dloonm. r:.itra qrJnlra

anrriuidtlfi onr:r{nrulj:crilntila (TDR|)d. uru:ou iliiiuarnr{

uiivrdrlinur lu:du rnri (rj:vryrnlvru) drrierd. sitfiunr:0fril:rulou uluofiindnrrgfiinrritti

c.,sro - .b.oo U. 01! - nou

.b,oo - .cr.oo tJ. riniud:cil1uotrr:narliu

ocl.aro -.d,gto u. ofirj:ru (io) r€ol " rnluulrlol :oliu rjiun'r FTA t$u-EU uadnu-errR'

o. {uuuantronr:drurirtlrvryrnlyrele. a:.f,urqt !181rls fu oqour :olntrBnr:

anrqoratan::luvi.lrJ:vrnnluam. {unun'raronuludrrrulnrrualnr:alqud. {uuun:rnr:f;Tdtu:cr r'd

sitiunr:ofid:rulnu uTsofiindnrrgfiinrriitdod.dd - ob,cro u. n1|.| - nou

u!'lul,uq :!!5cV11U0114'15'l'l! t?n[t'11141 oo.mo U. {1.111'lUl?A'] od.oo U.

Page 32: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

Rrn* n.lllfl.i 1tlCg to

$uuqau:uldld2 af 1, / . . aHO{ -rnru v{rorJ ?o'r:u uiuer? FrA lilu-Eu uaJt$dEFTA"

{oTnan:ln:ornlii'rlst'td"l,0 lvl 6

iulrqfaudfi torn Squrau ucaa

ru fisqrruIu'l du c1:rurr6lfi6sa niuddr{n qlrrlu bb n!{M "l

o. fo-urrgna

tr. i lo-urlarla (rraz urlzurldrT ) ....................

&'lg tr40l

6) nlrur*rur:uoauiuni'ulrii tlrdrfl?JTn:aflr ote-ddddbod,ole-ddcrdboo

R'lt tu?llYl bo tJo 'ltlU leddd

b) dauo'uda{nrdlrdrd Tn:duriumaraa ob-doo,cdcndb,ole'todltodd

ia e-mail lJlfi [email protected]

Page 33: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20
Page 34: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20
Page 35: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20
Page 36: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20
Page 37: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20
Page 38: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20
Page 39: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20
Page 40: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20
Page 41: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20
Page 42: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20
Page 43: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

http://www.thaigov.go.th ขาวท่ี 01/06

วันท่ี 14 มิถุนายน 2554 วันนี้ เม่ือเวลา 09.00 น. ณ หองประชุมคณะรัฐมนตรี ชั้น 2 สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ทําเนียบรั ฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เปนประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี จากนั้น นายปณิธาน วัฒนายากร รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝายการเมือง ปฏิบัติหนาท่ีโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี นายศุภชัย ใจสมุทร รองโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี และนายมารุต มัสยวาณิช รองโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ไดแถลงขาวผลการประชุมคณะรัฐมนตรี สรุปสาระสําคัญไดดังนี้

เศรษฐกิจ 1. เรื่อง การปรับปรุงแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปงบประมาณ 2554 ครั้งท่ี 2 2. เรื่อง การกําหนดอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ สังคม 3. เรื่อง การดําเนินการใหความชวยเหลือเยียวยาเกษตรกรผูเลี้ยงปลาในกระชัง กรณีเรือน้ําตาล ลมในแมน้ําเจาพระยาในพ้ืนท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดปทุมธานี 4. เรื่อง รายงานผลการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การชดเชยรายไดเกษตรกร โครงการประกันรายไดเกษตรกรผูปลูกขาว ป 2552/53 5. เรื่อง การคุมครองแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองท่ีไดรับการผอนผันใหอยูใน ราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวและไดรับอนุญาตทํางาน ตางประเทศ 6. เรื่อง รายงานทบทวนสถานการณสิทธิมนุษยชนข องประเทศไทยภายใตกลไก Universal Periodic Review (UPR) ของคณะมนตรีสิทธิมนุยชนแหงสหประชาติ 7. เรื่อง รางปฏิญญาการประชุมระดับรัฐมนตรีของทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศ วาดวยความปลอดภัยทางนิวเคลียร 8. เรื่อง รายงานผลการเยือนสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามอยางเปนทางการของ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย เพ่ือสงกลับ ผูเสียหายจากการคามนุษยกรณีอุมบุญ แตงตั้ง 9. เรื่อง แตงตั้ง 1. แตงตั้งกรรมการผูแทนกระทรวงการคลังในคณะกรรมการการเคหะ แหงชาติ 2. ขอเพ่ิมองคประกอบคระกรรมการแหงชาติวาดวยอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก 3. ขอความเห็นชอบในการแตงตั้งผูอํานวยการองคการเภสัชกรรม

Page 44: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

2

เศรษฐกิจ 1. เรื่อง การปรับปรุงแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปงบประมาณ 2554 ครั้งท่ี 2 คณะรัฐมนตรีรับทราบตามท่ี คณะกรรมการนโยบายและกํากับการบริหารหนี้สาธารณะ เสนอ ดังนี้ 1. รับทราบการปรับปรุงแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปงบประมาณ 2554 ครั้งท่ี 2 ท่ีมีวงเงินปรับลดลง 33,380.13 ลานบาท จากการปรับปรุงแผนครั้งท่ี 1 ซ่ึงมีวงเงินรวม 1,291,504.27 ลานบาท เหลือ 1,258,124.14 ลานบาท 2. รับทราบการปรับปรุงแผนการบริหารหนี้สินของรัฐวิสาหกิจท่ีไดรับยกเวนไมตองอยูภายใตกรอบวงเงินแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ท่ีมีวงเงินปรับเพ่ิมข้ึน 6,587.96 ลานบาท จากเดิม 133,205.26 ลานบาท เปน 139,793.22 ลานบาท 2. เรื่อง การกําหนดอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมอื คณะรัฐมนตรีรับทราบประกาศคณะกรรมการคาจาง เรื่อง อัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือ (ฉบับท่ี 2) ลงวันท่ี 29 เมษายน 2554 ตามท่ีกระทรวงแรงงาน (รง.) เสนอ เพ่ือประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพ่ือใหมีผลใชบังคับตอไป สาระสําคัญของเรื่อง รง. รายงานวา ในการประชุมคณะกรรมการคาจางชุดท่ี 18 ครั้งท่ี 6/2554 เม่ือวันท่ี 28 เมษายน 2554 มีมติเห็นชอบเปนเอกฉันทใหกําหนดอัตราคาจางตามมาตรฐานฝมือเพ่ิมเติมอีก 11 สาขาอาชีพ โดยใชมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติเปนเกณฑวัดคาทักษะฝมือ ความรู และความสามารถ และใหมีผลใชบังคับเม่ือพนกําหนด 90 วัน นับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป เพ่ือใหลูกจางท่ีผานการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติท่ีทํางานในตําแหนงงานหรือลักษณะงานท่ีตองใชทักษะฝมือ ความรู และความสามารถ ตามมาตรฐานฝมือในสาขาอาชีพและระดับท่ีกําหนดใหได รับอัตราคาจางท่ีเหมาะสมและเปนธรรม ดังนี้

หนวย : บาทตอวัน กลุมสาขาอาชีพ/สาขาอาชีพ ระดบั 1 ระดบั 2 ระดบั 3

1. ชางอุตสาหการ 1.1 ชางเขียนแบบเครื่องกลดวยคอมพิวเตอร ไมนอยกวา 1.2 ชางเชื่อมแม็ก ไมนอยกวา 1.3 ชางเชื่อมทิก ไมนอยกวา

330 300 370

430 380 500

550 500 690

2. ชางกอสราง 2.1 ชางไมกอสราง ไมนอยกวา 2.2 ชางกออิฐ ไมนอยกวา 2.3 ชางฉาบปูน ไมนอยกวา 2.4 ชางอะลูมิเนียมกอสราง ไมนอยกวา 3. ชางอุตสาหกรรมศิลป 3.1 ชางเย็บ ไมนอยกวา 3.2 ชางเครื่องประดับ (ประดับอัญมณี) ไมนอยกวา 3.3 ชางเครื่องเรือนไม ไมนอยกวา 3.4 ชางบุครุภัณฑ ไมนอยกวา

300 260 300 280

250 300 300 250

410 380 410 390

340 400 350 315

520 500 520 500

430 550 400 380

สังคม

3. เรื่อง การดําเนินการใหความชวยเหลือเยียวยาเกษตรกรผูเล้ียงปลาในกระชัง กรณีเรือน้ําตาลลมในแมน้ํา เจาพระยา ในพ้ืนท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดปทุมธานี คณะรัฐมนตรีรับทราบและเห็นชอบตามท่ีคณะกรรมการกองทุนเงินชวยเหลือผู ประสบสาธารณภัย สํานักนายกรัฐมนตรี เสนอดังนี้ 1. รับทราบผลการติดตามการใหความชวยเหลือผูประสบภัยกรณีเรือน้ําตาลลม 2. เห็นชอบเพ่ิมเติมขอความตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 7 มิถุนายน 2554 เรื่องการดําเนินการเพ่ือแกไขปญหา กรณีเรือบรรทุกน้ําตาลลมในแมน้ําเจาพระยาบริเวณตําบลภูเขาทอง อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขอ 4

Page 45: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

3

โดยระบุขอความเพ่ิมเติมวา “โดยเปนไปตามท่ีรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอใหพิจารณาชวยเหลือเกษตรกร ผูเลี้ยงปลาในกระชัง 2 แนวทาง คือ 1) ชวยเหลือตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยเงินทดรองราชการเพ่ือชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.2546 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม 2) ชวยเหลือเกษตรกรผูเลี้ยงปลาในกระชังท่ีไดรับความเสียหาย รอยละ 60 ของมูลคาความเสียหาย จากเงินกองทุนชวยเหลือผูประสบสาธารณภัย สํานักนายกรัฐมนตรี ” ผลการติดตามใหความชวยเหลือผูประสบภัยกรณีเรือน้ําตาลลมสรุปไดดังนี้ 1. การใหความชวยเหลือเยียวยาเกษตรกรผูเล้ียงปลาในกระชัง ในพ้ืนท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดปทุมธานี จังหวัดไดมีการใหความชวยเหลือในเบื้ องตน ตามระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยเงินทดรองราชการเพ่ือชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ .ศ. 2546 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม ไปแลว จํานวน 1,222 ตารางเมตร เปนเงิน 298,488 บาท สําหรับความเสียหายของเกษตรกรผูเลี้ยงปลาในกระชัง กระทรวงเกษตรและสหกรณไดสําร วจแลวมีเกษตรกรท่ีไดรับความเสียหายท้ังสิ้น 30 ราย จํานวน 119 กระชัง พ้ืนท่ี 2,293 ตารางเมตร มูลคาความเสียหาย เปนเงิน 6,002,548 บาท ซ่ึงรอยละ 60 ของมูลคาความเสียหาย คิดเปนเงิน 3,601,528.80 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีเกษตรก รผูเลี้ยงปลาในกระชังไดรับความเสียหาย จํานวน 27 ราย 110 กระชัง จํานวนพ้ืนท่ี 2,167 ตารางเมตร มูลคาความเสียหาย เปนเงิน 5,932,048 บาท การใหความชวยเหลือเยียวยา รอยละ 60 ของมูลคาความเสียหาย เปนเงิน 3,559,228.80 บาท และไดผานการพิจารณาของคณะกรรมการใหความชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติระดับจังหวัด (ก.ช.ภ.จ.) เรียบรอยแลว 2) จังหวัดปทุมธานี มีเกษตรกรผูเลี้ยงปลาในกระชังไดรับความเสียหาย จํานวน 3 ราย 9 กระชัง จํานวนพ้ืนท่ี 126 ตารางเมตร มูลคาความเสียหายเปนเงิน 70,500 บาท การใหความชวยเหลือเยียวยา รอยละ 60 ของมูลคาความเสียหาย เปนเงิน 42,300 บาท ขณะนี้อยูระหวางนําเสนอ คณะกรรมการใหความชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติระดับจังหวัด (ก.ช.ภ.จ.) ท้ังนี้ คาดวาจะนําเสนอคณะกรรมการกองทุนเงินชวยเหลือผูประสบสาธารณภัย สํานักนายกรัฐมนตรี พิจารณาใหความชวยเหลือ และสํา นักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี จะรวมกับกรมประมง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดปทุมธานี นําเงินชวยเหลือไปมอบใหแกเกษตรกรผูเลี้ยงปลาในกระชังไดรับความเสียหายภายใน 1 สัปดาห 2. การใหความชวยเหลือผูประสบภัยกรณีบานเสียหายท้ังหลัง และบางสวน การใหความช วยเหลือผูประสบภัยกรณีบานเสียหายบริเวณหมู 2 ตําบลภูเขาทอง อําเภอพระนครศรีอยุธยา ซ่ึงมีบานเรือนเสียหายท้ังหลังและบางสวน จํานวน 4 หลัง ทาน้ําสูญหาย จํานวน 1 หลัง โดยผูประสบภัยไดรับความชวยเหลือในเบื้องตน จากมูลนิธิ มิราเคิล ออฟ ไลฟ เงินบริจาคของจังหวั ด กาชาดจังหวัด และเงินชวยเหลือตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยเงินทดรองราชการเพ่ือชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ .ศ. 2546 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม และจากการลงพ้ืนท่ีติดตามการใหความชวยเหลือทราบวา เม่ือวันท่ี 10 มิถุนายน 2554 ผูวาราชการจังหวัดพระน ครศรีอยุธยา ไดเชิญบริษัท ไทยรวมทุน คลังสินคา จํากัด บริษัทน้ําตาลสระบุรี จํากัด บริษัท เจ เอ็น พี ไทยแลนด จํากัด และบริษัท อัลฟา มารีน ซัพพลาย จํากัด อัยการจังหวัด หนวยงานท่ีเก่ียวของ และเจาของบานท่ีไดรับผลกระทบบานเรือนเสียหาย จํานวน 4 หลัง เพ่ือทําคว ามตกลงในคาเสียหายกับบริษัทท่ีเก่ียวของ โดยท่ีประชุมมีมติ ใหความชวยเหลือและเจาของบานไดนําเสนอประมาณการราคารื้อถอน คาปลูกสรางใหม และอ่ืนๆ ซ่ึงบริษัท เจ เอ็น พี ไทยแลนด จํากัด ยินดีออกคาใชจาย 2 ใน 3 และขอให บริษัท อัลฟา มารีน ซัพพลาย จํากัด ออก คาใชจาย 1 ใน 3 ท้ังนี้ บริษัทฯ ขอกลับไปปรึกษาหารือรวมกันกอน และจะมีการประชุมเพ่ือหาขอยุติปญหาขางตน ในวันท่ี 13 มิถุนายน 2554 สําหรับตลิ่งท่ีพังทลาย การแกไขปญหาระยะยาว เม่ือกูเรือไดสําเร็จ กรมเจาทาจะดําเนินการกอสรางเข่ือนเพ่ือปองกันการกั ดเซาะของน้ํา คาดวาจะใชงบประมาณดําเนินการประมาณ 5 ลานบาท ระยะเวลาดําเนินการประมาณ 4 เดือน 3. ประชาชนรองเรียนกรณีขาดรายได อําเภอบางปะอิน ไดรายงานวา มีประชาชนซ่ึงประกอบอาชีพจับสัตวน้ํา จํานวน 20 ราย รองเรียนขอใหหาแนวทางชวยเหลือ โดยแจงว าปกติมีอาชีพจับกุงแมน้ําขายมีรายไดวันละประมาณ 1,000 บาท แตเม่ือเกิดเหตุการณเรือน้ําตาลลม ทําใหไมสามารถประกอบอาชีพดังกลาวได ขาดรายไดวันละ 1,000 บาท ซ่ึงกรมประมงไดรายงานวา ในชวงท่ีผานมา กรมประมงโดยสถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืด บ างไทร ไดนําปลาจากแมน้ําท่ีไดรับผลกระทบจากเหตุการณดังกลาวไปอนุบาลกวา 20 ชนิด จํานวนประมาณ 5,000 ตัว อาทิ เชน ปลากดแกว ปลาลิ้นหมา ปลากดเหลือง

Page 46: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

4

ปลาแขยง ปลาตะเพียนทอง ปลาตะเพียนขาว เปนตน ขณะนี้มีแผนท่ีดําเนินการปลอยปลาท่ีอนุบาลไว พันธุปลาตาง ๆ และ กุงกามกราม รวมท้ังสิ้นประมาณ 50 ลานตัว โดยจะทยอยปลอยตั้งแตวันท่ี 16 มิถุนายน 2554 เปนตนไป 4. สัญญาณเตือนภัยในการจราจรทางน้ํา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดเรงรัดใหหนวยงานท่ีเก่ียวของจัดทําสัญญาณเตือนภัยในการจราจรทางน้ํา ดังนี ้ 1) กรมเจาทา ซ่ึงรั บผิดชอบเก่ียวกับการจราจรทางน้ํา ไดดําเนินการสํารวจเพ่ือกอสรางปายแจงเตือนทางน้ํา ซ่ึงดําเนินการปกเสาเข็มกอสรางในแมน้ํา คาดวาจะดําเนินการกอสรางใหแลวเสร็จภายใน 1 - 2 เดือน และตองใชระยะเวลาในการเคลื่อนยายปนจั่นเพ่ือดําเนินการกอสราง และจังหวัดพระ นครศรีอยุธยาไดเสนอใหกอสรางปายแจงเตือนทางน้ําบนฝงควบคูกันไป ซ่ึงสามารถกอสรางไดทันที และทําใหเห็นวารัฐบาลไดมีมาตรการในการปองกันอยางรวดเร็ว 2) กรมทางหลวง ซ่ึงรับผิดชอบสะพานขามแมน้ํา ไดดําเนินการตามขอสั่งการของจังหวัดโดยสะพานท่ีเกิดอุบัติเห ตุ ไดมีการทาสีขาวแดงสลับกันท่ี ตอมอสะพานชวงท่ีอยูเหนือน้ํา ติดสัญญาณไฟกระพริบสีแดง และไฟสองสวาง เพ่ือเปนสัญญาณเตือนเรือท่ีสัญจรไปมาผานสะพานดังกลาว สําหรับ ยางกันกระแทก (Rubber fender) เม่ือระดับน้ําลดลง กรมทางหลวงจะดําเนินการติดตั้งตอไป นอกจากนี้ กระทรวงคมนาคม จะไดมี การประชุมหนวยงานท่ีเก่ียวของ ท่ีดูแลการสัญจรทางน้ํา และสะพานตาง ๆ เพ่ือกําหนดมาตรการและบูรณาการ การปองกันและแกไขปญหาตอไป 4. เรื่อง รายงานผลการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การชดเชยรายไดเกษตรกรโครงการประกันรายไดเกษตรกร ผูปลูกขาว ป 2552/53 คณะรัฐมนตรีรับทราบตามท่ีกระทรวงการคลัง (กค.) รายงานผลการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การชดเชยรายไดเกษตรกรโครงการประกันรายไดเกษตรกรผูปลูกขาว ป 2552/53 สาระสําคัญของเรื่อง สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไดประสานติดตามความคืบ หนาในเรื่องท่ีให ธ .ก.ส. จายเงินชดเชยรายไดเกษตรกรโครงการประกันรายไดเกษตรกรผูปลูกขาว ป 2552/53 ใหเกษตรกรเพ่ิมเติมตั้งแตชวงวันท่ี 15 มีนาคม-25 เมษายน 2553 (เฉพาะขาวเปลือกปทุมธานีชดเชยชวงวันท่ี 22 มีนาคม-11 เมษายน 2553 ) ซ่ึงจะตองจายเงินชดเชยเพ่ิมเติมใหเกษตรกรท่ีใชสิทธิปริมาณขาวเปลือก 1,807,716 ตัน เปนเงิน 651.73 ลานบาท จําแนกเปน (1) ขาวเปลือกเจา 5% ประมาณ 1,725,324 ตัน เปนเงิน 633.56 ลานบาท (2) ขาวเปลือกปทุมธานีประมาณ 82,392 ตัน เปนเงิน 18.17 ลานบาท ตามท่ี พณ . เสนอ ซ่ึง กค . โดย ธ.ก.ส. รายงานวาไดมีการดําเนินการจายเงินชดเชยรายไดเกษตรกรโครงการประกันรายไดเกษตรกรผูปลูกขาว ป 2552/53 ใหแกเกษตรกรแลว จํานวน 76,798 ราย เปนเงิน 386,298,234.52 บาท ซ่ึงแบงเปนโครงการประกันรายไดเกษตรกรผูปลูกขาว ป 2552/53 (รอบท่ี 1) จํานวน 8,794 ราย เปนเงินท้ังสิ้น 12,637,606.12 บาท และโครงการประกันรายไดเกษตรกรผูปลูกขาว ป 2552/53 (รอบท่ี 2) จํานวน 68,004 ราย เปนเงินท้ังสิ้น 373,660,628.40 บาท 5. เรื่อง การคุมครองแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองท่ีไดรับการผอนผันใหอยูในราชอาณาจักรเปนการช่ัวคราวแ ละไดรับอนุญาตทํางาน คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการพิจารณาแนวทางการคุมครองแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองท่ีไดรับการ ผอนผันใหอยูในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวและไดรับอนุญาตทํางาน ตามท่ีกระทรวงแรงงาน (รง.) เสนอ สาระสําคัญของเรื่อง รง. รายงานวา 1. คณะกรร มการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไดมีหนังสือลงวันท่ี 11 ธันวาคม 2551 กราบเรียนนายกรัฐมนตรีเสนอแนะเชิงนโยบายให รง. กําหนดแนวทางในการคุมครองแรงงานขามชาติท่ีประสบอันตรายจากการทํางานใหมีหลักประกันและเรงรัดใหนายจางจายเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน เพ่ือลูกจางแรงงานตางดาวจะไดใชสิทธิประโยชนจากกองทุนเงินทดแทน 2. สํานักงานประกันสังคมไดมีหนังสือลงวันท่ี 15 กันยายน 2552 เสนอให รง . พิจารณาเรื่องการคุมครองแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย โดยเห็นควรจัดระบบการดูแลใหแรงงานตางดาวท่ีหลบหนีเขาเมืองไดรับการผอนผันใหอยูในราชอาณาจักรชั่วคราวไดรับสิทธิประโยชนจากพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 อยางครบถวน 3. กรมการจัดหางานไดประชุมหารือเก่ียวกับการนําแรงงานตางดาวท่ีไดรับการผอนผันตามมติคณะรัฐมนตรีเขาสูระบบกองทุนเงินทดแทน เม่ือวันท่ี 15 มิถุนายน 2553 วาจะมีระบบใดมารองรบัแทนกองทุนเงินทดแทนและประกันสงัคม เนื่องจากแรงงานตางดาวท่ีไดรับการผอนผันตามมติคณะรัฐมนตรียังไมสามารถเขาสูระบบกองทุนเงินทดแทนและประกันสังคม

Page 47: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

5

ได และไดประชุมอีกครั้งเม่ือวันท่ี 21 มิถุนายน 2553 เพ่ือพิจารณารายละเอียดเก่ียวกับการนําแรงงานต างดาวหลบหนีเขาเมืองท่ีไดรับการผอนผันตามมติคณะรัฐมนตรี เขาสูระบบกองทุนเงินทดแทน โดยเห็นวาควรใหมีการทําประกันชีวิตเพ่ือคุมครองแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองฯ และใหเปนความรับผิดชอบรวมกันระหวางนายจางและลูกจาง และการคุมครองเปนการเอาสวนท่ีจะไดรับสิทธิแบบกองทุนเงินทดแทนและสวนท่ีจะไดรับสิทธิแบบประกันสังคมมาใช ไดแก กรณีทุพพลภาพเนื่องจากการทํางานและไมเนื่องจากการทํางาน กรณีเสียชีวิต สาเหตุท่ีเกิดตามแบบกองทุนเงินทดแทนท้ังในและนอกเวลาทํางาน และกรณีชดเชยการขาดรายไดจากการทํางาน แตเนื่องจากระบบประกัน ภัยไมมีการรับเพราะยากตอการคํานวณจึงใหความคุมครองเฉพาะ 2 กรณี คือ กรณีทุพพลภาพและเสียชีวิต ซ่ึงสมาคมประกันวินาศภัยมีการวิเคราะหวา การเก็บเบี้ยประกันข้ึนอยูกับความเสี่ยงของอาชีพและอัตราสถิติ 4. สํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภั ย (คปภ .) มีหนังสือลงวันท่ี 20 สงิหาคม 2553 แจงวาไดดําเนินการจัดทําแผนประกันภัยดังกลาวเรียบรอยแลว แตมีประเด็นท่ีจะสอบถามเพ่ิมเติมสําหรับใชประกอบการพิจารณารับประกันภัยและชดใชคาสินไหมทดแทน ซ่ึงกรมการจัดหางานไดมีหนังสือลงวันท่ี 24 กันยายน 2553 แจงขอมูลเพ่ิมเติมสําหรับใชประกอบการพิจารณารับประกันภัยและชดใชคาสินไหมทดแทนให คปภ. ทราบ 5. คปภ . ไดสงรางกรมธรรมประกันภัยคุมครองแรงงานตางดาวและอัตราเบี้ยประกันภัยสําหรับกรมธรรมประกันภัยคุมครองแรงงานตางดาวใหกรมการจัดหางานพิจารณาเม่ือวันท่ี 16 ธันวาคม 2553 ซ่ึงกรมการจัดหางานพิจารณารางกรมธรรมประกันภัยคุมครองแรงงานตางดาวและอัตราเบี้ยประกันภัยสําหรับกรมธรรมประกันภัยคุมครองแรงงานตางดาวแลวเห็นวา 5.1 เม่ือเทียบเคียงกับพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ .ศ. 2537 แลว รางกรมธรรมดังกลาวไมครอบคลุมสิทธิประโยชนตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ .ศ. 2537 ซ่ึงกําหนดใหลูกจางท่ีประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทํางานใหกับนายจางมีสิทธิไดรับเงินทดแทน ซ่ึงประกอบดวยคา รักษาพยาบาล คาฟนฟูสมรรถภาพในการทํางาน คาทดแทนกรณีหยุดงานเกิน 3 วัน คาทดแทนกรณีสูญเสียอวัยวะ คาทดแทนกรณีทุพพลภาพ คาทดแทนกรณีตายและคาทําศพ 5.2 กรณีแรงงานตางดาวผูเอาประกันอยูนอกระบบการผอนผันแลวแตกรมธรรมประกันภัยยังมีอายุอยู ดังนั้น ในกรณีดั งกลาวตองมีความชัดเจนวาจะใหกรมธรรมคุมครองแรงงานตางดาวดังกลาวตอไปหรือไม ซ่ึงกรมการจัดหางานไดแจงผลการพิจารณารางกรมธรรมประกันภัยคุมครองแรงงานตางดาวฯ ให คปภ. ทราบ และ คปภ. เสนอใหกรมการจัดหางานเชิญหนวยงานท่ีเก่ียวของรวมประชุมหารือ รง. (กรมการจัดหางาน ) ไดจัดประชุมหารือหนวยงานท่ีเก่ียวของ (ประกอบดวย สํานักงานประกันสังคม กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กรมการจัดหางาน คปภ. และสมาคมประกันวินาศภัย) เม่ือวันท่ี 1 มิถุนายน 2554 เพ่ือพิจารณาแนวทางการใหความคุมครองแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองท่ี ไดรับการผอนผันใหอยูในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวและไดรับอนุญาตทํางาน โดยใหเอกชนเขามาดําเนินการและใหไดรับการคุมครองเหมือนกับระบบกองทุนเงินทดแทน ดังนี้ 1. การกําหนดสิทธิประโยชน ใหมีการคุมครองแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองท่ีจดทะเบียนผอนผันใหอยูใ นราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวและไดรับอนุญาตใหทํางาน ท่ีประสบอันตรายจากการทํางาน โดยใหไดรับสิทธิประโยชนเหมือนกองทุนเงินทดแทนท่ีใหกับคนไทยทุกประการ 2. การบังคับใช ใหใชกับแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองท่ีจดทะเบียนผอนผันใหอยูในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวและไดรับอนุญาตใหทํางาน 3. วิธีการดําเนินการ ใชวิธีการประกันภัยโดยใหบริษัทประกันภัยเอกชนดําเนินการโดยใหนายจางซ้ือประกันใหแกแรงงานตางดาวกับบริษัทประกันภัย และนํามาแสดงในการรับใบอนุญาตทํางาน และใหสํานักงานประกันสังคมเปนผูวินิจฉัยเก่ียวกับคาทดแทนโดยการจายคาสินไหมทดแทน ใหกับบริษัทประกันภัยเปนผูจายคาสินไหมทดแทนใหแกผูมีสิทธิ 4. อัตราคาเบี้ยประกัน ใหนายจางเปนผูรับผิดชอบในการจายคาเบี้ยประกันภัยใหแกแรงงานตางดาวเพราะเปนการปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองแรงงาน เพ่ือใหการคุมครองลูกจางกรณี ประสบอันตรายจากการทํางาน สวนอัตราคาเบี้ยประกันใหกําหนดเปนจํานวนเงินตอคนตอปในอัตราเดียวกันท่ัวประเทศ โดยขอใหสมาคมประกันวินาศภัยศึกษาและสงขอมูลใหคณะทํางานภายใน 1 สัปดาห

5. การคัดเลือกบริษัทประกันภัย เห็นควรใหกําหนดคุณสมบัติบริษัทประกันภัยท่ีเขารวม โครงการโดยคํานึงถึงความม่ันคงแกผูรับประกันและมีจํานวนไมมากรายเกินไป เพ่ือใหมีจํานวนผูเอาประกันมากเพียงพอตอการกระจายความเสี่ยง รง. เห็นวาแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองท่ีไดรับการผอนผันตามมติคณะรัฐมนตรียังไมสามารถเขาสู ระบบกองทุนเงินทดแทนและประกันสั งคมได โดยจะตองเขาสูระบบประกันสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงจะไดรับการรักษาพยาบาลในกรณีเจ็บปวยท่ัวไป แตในกรณีประสบอันตรายเนื่องจากการทํางานจะไมไดรับการคุมครองจากระบบประกันสุขภาพ ซ่ึงในทางปฏิบัติเม่ือลูกจางประสบอันตรายจากการทํางาน สํานักงานประกันสัง คมจะวินิจฉัยและออกคําสั่งใหนายจาง

Page 48: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

6

ของคนตางดาวเปนผูจายเงินทดแทนโดยตรงใหกับคนตางดาว และแมวาจะมีคําสั่งใหนายจางจาย นายจางก็มักจะหลบเลี่ยงไมดําเนินการตามคําสั่งหรืออาจหนีหายไปเพราะสวนมากจะเปนนายจางกิจการขนาดเล็ก ทําใหเกิดปญหาขอรองเรียนเนื่องจ ากลูกจางไมไดรับสิทธิตามท่ีกฎหมายกําหนด จึงเปนสาเหตุใหองคกรสิทธิมนุษยชนใชเปนขอกลาวหาวาแรงงานดังกลาวไมไดรับการคุมครอง และการท่ีแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองท่ีไดรับการผอนผันใหอยูในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวเพ่ือรอการสงกลับยังไมสามารถเขาสู ระบบกองทุนเงินทดแทนได ทําใหเม่ือประสบอันตรายจากการทํางานจึงไมไดรับการคุมครอง ทําใหเปนภาระตอสังคม และภาครัฐตองรับภาระโดยนําภาษีของคนไทยมาชวยเหลือซ่ึงไมเปนธรรมกับคนไทย นอกจากนี้การนําแรงงานตางดาวเขาระบบกองทุนเงินทดแทนโดยจายเงินสมทบเทาอัตราคนไทย นาจะเปนความเสี่ยงตอเสถียรภาพของกองทุนเงินทดแทน แตเพ่ือเปนการแบงเบาภาระของนายจางและใหแรงงานตางดาวไดรับสิทธิตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ .ศ. 2537 ครบถวน จึงเห็นควรจัดระบบการดูแลใหแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองท่ีไดรับการผอนผันใหอยูในราชอาณาจักร เปนการชั่วคราวและไดรับอนุญาตทํางาน ไดรับสิทธิประโยชนทดแทนโดยใชระบบประกันภัยแตสิทธิประโยชนท่ีจะไดรับตองเทียบเทาท่ีกองทุนเงินทดแทนคุมครองอยู

ตางประเทศ 6. เรื่อง รายงานทบทวนสถานการณสิทธิมนุษยชนของประเทศไทยภายใตกลไก Universal Periodic Review (UPR) ของคณะมนตรสีทิธมินยุชนแหงสหประชาติ คณะรัฐมนตรีรับทราบและเห็นชอบตามท่ีกระทรวงตางประเทศ (กต.) เสนอดังนี้ 1. รับทราบเก่ียวกับความคืบหนาของกระบวนการจัดทําและนําเสนอรายงาน UPR ของไทย 2. เห็นชอบให กต . จัดสงรายงาน UPR ใหกับสหประชาชาติภายในวันท่ี 4 กรกฎาคม 2554 ตามท่ีสหประชาชาติกําหนด โดยให กต. จัดทําคําแปลฉบับภาษาอังกฤษของรายงานประเทศใหสอดคลองกับฉบับภาษาไทยเพ่ือสงใหสหประชาชาติตอไปโดยไมตองขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีอีก สาระสําคัญของเรื่อง กต. รายงานวา 1. กต. ไดเริ่มยกรางรายงาน UPR โดยผานการมีสวนรวมของทุกภาคสวนท้ังภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน โดยในชวง กอนการยกราง กต . ไดจัดการหารือกลุมยอยระหวางภาครัฐและภาคประชาสังคมท่ีเก่ียวของจํานวน 14 ครั้ง เม่ือชวงเดือนกันยายนถึงเดือนตุลาคม 2553 เพ่ือแลกเปลี่ยนขอมูลเก่ียวกับเนื้อหาท่ี ควรปรากฏอยูในรายงานและหลังการจัดทํารางแรก กต. ไดรวมกับกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม จัดเวทีรับฟงความเห็นของภาคประชาชนตอรางรายงาน UPR ของไทยในภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศจํานวน 5 ครั้ง และไดนําความเห็นและขอเสนอแนะท่ีไดรับมาปรับปรุงรางรายงานจนเ ปนรางสุดทาย และนําเสนอรางรายงานใหท่ีประชุมคณะกรรมการกํากับดูแลการจัดทํารายงานประเทศภายใตกลไก UPR พิจารณาและใหความเห็นชอบตอรางรายงานดังกลาวเม่ือวันท่ี 2 มิถุนายน 2554 2. รายงาน UPR ของไทยมีความยาว 20 หนาตามท่ีสหประชาชาติกําหนด ครอบคลุมสิทธิตาง ๆ ท้ั งสทิธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม สิทธิดานการพัฒนาและการขจัดความยากจน และสิทธิของกลุมเฉพาะตาง ๆ ไดแก เด็ก สตรี คนพิการ ผูสูงอายุ กลุมชาติพันธุ แรงงานโยกยายถ่ินฐาน ผูหนีภัยการสูรบ และปญหาการคามนุษย โดยมุงใหรายงานมีเนื้อหาท่ีสมดุล สะทอนความสําเร็จ ความกาวหนา และความทาทาย และตั้งอยูบนพ้ืนฐานของขอเท็จจริง เพ่ือแสดงใหประชาคมระหวางประเทศตระหนักถึงความจริงใจของไทยในการยอมรับปญหาท่ีจะตองเพ่ือความพยายามในการแกไข และความมุงม่ันของไทยท่ีจะปฏิบัติตามพันธกรณีระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน 3. รายงาน UPR ฉบับนี้สามารถนํามาใชติดตามตรวจสอบความกาวหนาของการคุมครองสิทธิมนุษยชนและใชเปนพ้ืนฐานในการพัฒนาสิทธิมนุษยชนภายในประเทศไดตอไป รวมท้ังยังอาจนํามาใชเปนแนวทางสนับสนุนการจัดทํานโยบายดานสังคมของรัฐบาลชุดใดๆ เพ่ือสงเสริมการคุมครองสิทธิมนุษยชนของประชาชนไดดวย 4. ประเทศไทยมีกําหนดตองสงรายงานดังกลาวใหกับสหประชาชาติภายในวันท่ี 4 กรกฎาคม 2554 เพ่ือใหสหประชาชาติแปลเปนภาษาทางการของสหประชาชาติท้ัง 6 ภาษาใหทันวันท่ี 5 ตุลาคม 2554 ซ่ึงเปนวันท่ีคณะผูแทนไทยจะตองนาํเสนอรายงานตอท่ีประชุมคณะทํางาน UPR สมัยท่ี 12 ที่นครเจนีวา ดังนั้น จึงมีความจําเปนท่ีจะตองเสนอใหคณะรัฐมนตรีรับทราบเก่ียวกับการจัดทํารายงาน UPR ของไทย และเหน็ชอบให กต . จัดสงรายงานดังกลาวใหกับสหประชาชาติไดทันตามเวลาท่ีกําหนด การสงรายงานลาชากวาท่ี กาํหนดจะทําใหประเทศไทยเสียภาพลักษณและความนาเชื่อถือในสายตาของประชาคมระหวางประเทศ ซ่ึงขณะนี้สหประชาติไดมีหนังสือเตือนมายังประเทศท่ีจะเขาสูกระบวนการในการประชุมคณะทํางาน UPR ครั้งท่ี 12 รวมท้ังไทย ใหสงรายงานภายในเวลาท่ีกําหนดดวยแลว

Page 49: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

7

7. เรื่อง รางปฏิญญาการประชุมระดับรัฐมนตรีของทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางนิวเคลียร คณะรัฐมนตรีรับทราบการเขารวมประชุมระดับรัฐมนตรีของทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางนิวเคลียรระหวางวันท่ี 20-24 มิถุนายน 2554 ณ กรุงเวีย นนา สาธารณรัฐออสเตรีย ตามท่ีกระทรวงการตางประเทศเสนอ ท้ังนี้ สวนการรับรองรางปฏิญญาการประชุมระดับรัฐมนตรีของทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางนิวเคลียร ใหผูแทนกระทรวงการตางประเทศ (กต.) หรือผูเขารวมประชุมระมัดระวังขอผูกพันท่ีอา จจะมีผลตอคณะรัฐมนตรีชุดตอไปดวย สาระสําคัญของเรื่อง กต. แจงวา 1. ทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศ (International Atomic Energy Agency : IAEA) จะจัดการประชุมระดับรัฐมนตรีของทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศวาดวยความปลอดภัยทางนิวเคลียร (IAEA Ministerial Meeting on Nuclear Safety) ระหวางวันท่ี 20-24 มิถุนายน 2554 ณ กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย และขอเชิญชวนรัฐบาลไทยสงผูแทนเขารวมการประชุมดังกลาว ในการประชุมนี้จะมีการรางปฏิญญาฯ โดยไมมีการลงนาม ท้ังนี้ มีเหตุผลสืบเนื่องจากเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียรในประเทศญี่ปุนอันเปนผลมาจากเหตุการณแผนดินไหวและสึนามิเม่ือวันท่ี 11 มีนาคม 2554 ซ่ึงสงผลใหประชาคมระหวางประเทศหันมาใหความสําคัญกับประเด็นความปลอดภัยทางนิวเคลียรเพ่ิมข้ึนอยางมาก 2. การประชุมฯ ในครั้งนี้มีวัตถุประสงคในการเรียนรูจาก เหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียรในประเทศญี่ปุน รวมท้ังหารือเก่ียวกับการเตรียมพรอมและการตอบสนองตอเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร และการทบทวนกรอบความรวมมือดานความปลอดภัยทางนิวเคลียรระหวางประเทศ โดยจะมีการรับรองรางปฏิญญาฯ โดยไมมีการลงนามเพ่ือเปนเอกสารผลลัพธของ การประชุมฯ 3. กต. ไดจัดประชุมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ ไดแก กระทรวงพลังงาน (พน.) และสํานักงานปรมาณูเพ่ือสันติ [กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (วท.)] เม่ือวันท่ี 1 มิถุนายน 2554 เพ่ือหารือเก่ียวกับรางปฏิญญาฯ และท่ีประชุมไมมีขอขัดของตอสาระของรางปฏิญญาดังกลาว 8. เรื่อง รายงานผลการเยือนสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามอยางเปนทางการของรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย เพ่ือสงกลับผูเสียหายจากการคามนุษยกรณีอุมบุญ คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานผลการเยือนสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดน ามอยางเปนทางการของรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยเพ่ือสงกลับผูเสียหายจากการคามนุษยกรณีอุมบุญ เม่ือวันท่ี 30 พฤษภาคม 2554 ตามท่ีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย (พม.) เสนอ สาระสําคัญของเรื่อง พม. รายงานวา 1. ไดใหการชวยเหลือคุมครองสวัสดิภาพหญิงเวียดนาม จํานวน 15 คน ท่ีถูกนายหนาชาวไตหวันหลอกลวงมาทํางานในประเทศไทยและบังคับใหตั้งครรภโดยวิธีอุมบุญใหกับชาวตางชาติ ตั้งแตวันท่ี 23 กุมภาพันธ 2554 หญิงดังกลาวไดรับการชวยเหลือฟนฟูจิตใจ และการดําเนินการด านคดี ตลอดจนเตรียมความพรอมในการสงกลับจากสถานคุมครองและพัฒนาอาชีพบานเกร็ดตระการ ซ่ึงเปนหนวยงานท่ีจัดบริการชวยเหลือผูเสียหายจากการคามนุษย ตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. 2551 ตอมาสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีกํา หนดนัดหมายสงกลับหญิงเวียดนามอุมบุญและบุตร รวม 2 ครั้ง ครั้งท่ี 1 เม่ือวันท่ี 13 พฤษภาคม 2554 จํานวน 10 คน และครั้งท่ี 2 เม่ือวันท่ี 30-31 พฤษภาคม 2554 จํานวน 10 คน (หญิง 5 คน และบุตร 5 คน ) ซ่ึงในการสงกลับครั้งท่ี 2 กระทรวงความม่ันคงสาธารณะ สาธารณรัฐสังคม นิยมเวียดนาม ไดตอบรับการเยือนของรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย เพ่ือการสงกลับหญิงเวียดนามอุมบุญ อยางเปนทางการ 2. การเดินทางเยือนสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามอยางเปนทางการ ของรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสงัคมและความม่ันคงของมนุษยและคณะ เพ่ือสงกลับหญิงเวียดนามกรณีอุมบุญ พรอมบุตร จํานวน 10 คน (หญิง 5 คน และเด็ก 5 คน) กลับประเทศภูมิลําเนา เม่ือวันท่ี 30 พฤษภาคม 2554 มีภารกิจท่ีไดดําเนินการ ดังนี้ 2.1 จัดแถลงขาวการสงกลับหญิงเวียดนามกรณีอุมบุญกลับมาตุภูมิ ท่ีหองปฏิบัติการ One Stop Service กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ชั้น 3 ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยเปนประธานแถลงขาว มีรายละเอียดเก่ียวกับการดําเนินงานของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการในการ

Page 50: TFPA Weekly Brief 14-20 Jun 11 Issue 20

8

ชวยเหลือหญิงเวียดนามและบุตรกอนการสงกลับ และวัตถุประสงคของการเยือนสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม อยางเปนทางการ 2.2 Mr. Maj. Gen. Vu Hung Vuong รองอธิบดีกรมปองกันและตอตานอาชญากรรม กระทรวงความม่ันคงสาธารณะ ใหการตอนรับท่ีทาอากาศยานนอยไบ พรอมจัดพิธีรับมอบผูเสียหายและบุตร ท้ัง 10 คน อยางเปนทางการ และในชวงบาย H.E. General Le Hong Anh รัฐมนตรีวาการกระทรวงความม่ันคงสาธารณะ พรอมดวยผูแทนฝายการเมืองและผูบริหารระดับสูงของกระทรวงความม่ันคงสาธารณะใหการตอนรับ หลังจากนั้นเปนการหารือทวิภาคีแนวทางความรวมมือในการปองกันแกไขปญหาการค ามนุษยตามกรอบขอตกลงระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทย กับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามวาดวยความรวมมือระดับทวิภาคีเพ่ือการขจัดการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก และความชวยเหลือเหยื่อการคามนุษย ซ่ึงไดลงนามรวมกันเม่ือ 24 มีนาคม 2551 ณ กรงุฮานอย โดยมีสาระสําคัญของการหารือ คือ ผูแทนท้ัง 2 ฝายไดย้ําถึงความสัมพันธท่ีดีระหวางรัฐบาลของท้ังสองประเทศ และกลาวถึงความรวมมือท่ีไดดําเนินการหลังการลงนามบันทึกขอตกลงดังกลาว โดยมีการจัดประชุมรวมกันเก่ียวกับการจัดทําแผนปฏิบัติการตามบันทึกขอตกลงดังกลาวระหว างเจาหนาท่ีตํารวจในการปราบปรามผูคามนุษย ซ่ึงนําหญิงเวียดนามมาคาประเวณีท่ีประเทศไทย การศึกษาสถานการณปญหาการคามนุษยและแลกเปลี่ยนดูงาน โดยฝายไทยและเวียดนามผลัดกันเปนเจาภาพ รวมถึงขอเสนอของฝายไทยในการหารือเพ่ือจัดทําแนวทางท่ีเปนมาตรฐานในการสงกลับ และคืนสูสังคม ซ่ึงเวียดนามไดรับขอเสนอและมอบหมายใหกระทรวงความม่ันคงสาธารณะเปนผูรับผิดชอบ รวมท้ังท้ังสองฝายเห็นพองทิศทางความรวมมือในระยะตอไปในการท่ีจะพัฒนาความรวมมือในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารเพ่ือการปราบปรามการคามนุษย และการชวยเหลือผูเสียหา ยจากการคามนุษย ตลอดจนการแลกเปลี่ยนการเยือนของผูแทนในระดับสูงเปนประจําทุกป ปละครั้ง รวมถึงการชี้นําแนวทางการประสานงานกับหนวยงานตางๆ ภายใตกรอบความรวมมือในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงเพ่ือตอตานการคามนุษยดวย 3. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงความม่ันคงสา ธารณะ เปนประธานในงานเลี้ยงรับรองอาหารคํ่าแกรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย ณ โรงแรม แกรนด พลาซา ซ่ึงการเดินทางเยือนสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามในครั้งนี้ นับเปนโอกาสท่ีดีในการกระชับความสัมพันธและความรวมมือระหวางรัฐบาลท้ังสองประเทศอยางตอเนื่อง ภายใตกรอบความรวมมือทวิภาคีเพ่ือขจัดการคามนุษย โดยเฉพาะสตรีและเด็ก และการชวยเหลือเหยื่อการคามนุษย และความรวมมือเพ่ือตอตานการคามนุษยในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง

แตงตั้ง 9. เรื่อง แตงตั้ง 1. แตงตั้งกรรมการผูแทนกระทรวงการคลังในคณะกรรมการการเคหะแหงชาติ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามท่ีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย (พม .) เสนอแตงตั้ง นายวัฒนา เชาวสกู รองอธิบดีกรมธนารักษ รักษาการท่ีปรึกษาดานพัฒนาอสังหาริมทรัพย เป นกรรมการผูแทนกระทรวงการคลงัในคณ ะกรรมกา รการเคหะแหงชาติ และสงใหคณะกรรมการการเ ลือกตั้งพิจารณาใหความเห็นกอน เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง 2. ขอเพ่ิมองคประกอบคระกรรมการแหงชาติวาดวยอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามท่ีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเสนอ ในการเพ่ิ มองคประกอบคณะกรรมการแหงชาติวาดวยอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก โดยใหอธิบดีกรมองคการระหวางประเทศ เปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ (เพ่ิมเติม) ในองคประกอบคณะกรรมการแหงชาติวาดวยอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก 3. ขอความเห็นชอบในการแตงตั้งผูอํานวยการองคการเภสัชกรรม คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามท่ีกระทรวงสาธารณสุข เสนอ แตงตั้ง นายวิทิต อรรถเวชกุล ดํารงตําแหนงผูอํานวยการองคการเภสัชกรรม โดยใหมีผลตั้งแตวันท่ี 2 กรกฎาคม 2554 ตอเนื่องไปจากวาระการดํารงตําแหนงเดิม และไดรับผลตอบแทนและสิทธิประโยชนตาม (ราง) สัญญาจางตามท่ีกระทรวงการคลงั (กค.) ไดพิจารณาเห็นชอบ

********************************* เอกสารชุดนี้เปนเอกสารขาวสรุปผลการประชุมคณะรัฐมนตรีเทานั้น

สําหรับมติคณะรัฐมนตรีอยางเปนทางการกรุณาตรวจสอบท่ีสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี โทร . 0 2280-9000 สํานักโฆษกขอเชิญติดตามการถายทอดสดการแถลงขาวผลการประชุมคณะรัฐมนตรี

ทุกวันอังคาร หรือวันท่ีมีการประชุม ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย ทาง F.M. 92.5 ในเขตกรุงเทพมหานคร สวนตางจังหวัด รับฟงไดทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยประจําจังหวัด

หากทานใดประสงคจะขอรับขาวการประชุมคณะรัฐมนตรีสมัครไดทาง www.thaigov.go.th