service profile anesthesia care md.kku 2013

12
1 Service Profile งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร (1 มกราคม พ.. 2553 – 31 ธันวาคม พ.. 2555) (ชุด update 16 มิถุนายน 2556) จัดทําโดย คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ งานบริการวิสัญญี ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน (มิถุนายน, 2556)

DESCRIPTION

เพื่อแบ่งปันประสบการณ์แก่บุคลากรในวงการวิชาชีพวิสัญญี

TRANSCRIPT

Page 1: Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

1

Service Profile งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร

(1 มกราคม พ.ศ. 2553 – 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555)

(ชุด update 16 มิถุนายน 2556)

จัดทําโดย

คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ งานบริการวิสัญญี

ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน

(มิถุนายน, 2556)

Page 2: Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

2

Service Profile งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร

ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

(1 มกราคม พ.ศ. 2553 – 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555)

1. บริบท

ก. หนาท่ีและเปาหมาย

งานบริการวิสัญญีเปนงานท่ีใหบริการระงับความรูสึกแกผูปวยในโรงพยาบาลศรีนครินทรซึ่งเปนสถาน พยาบาล

โรงเรียนแพทย ท่ีมีศักยภาพในการใหบริการระดับตติยภูมิ มีเปาหมายใหผูปวยไดรับบริการท่ีไดคุณภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพ

เพ่ือความปลอดภัยและพึงพอใจของผูปวยและผูรับบริการ โดย

1. ใหบริการระงับความรูสึกตามมาตรฐานวิชาชีพท่ีครอบคลุมทุกข้ันตอนโดยเนนผูปวยเปนศูนยกลาง

2. วางแผนและประสานงานในทีมบริการท่ีเก่ียวของ

3. ลดอุบัติการณ/ความเสี่ยงทางวิสัญญีโดยใชหลักฐานเชิงประจักษ

4. วิเคราะหความตองการกลุมผูรับบริการท้ังภายในและภายนอกเพ่ือเพ่ิมความพึงพอใจ

5. พัฒนาบุคลากรเพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการใหบริการแกผูปวย

6. ปองกันอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึนกับผูปวย เจาหนาท่ีและสิ่งแวดลอม

7. สนับสนุนเทคนิคบริการท่ีเอ้ือตอการเรียนการสอนและการวิจัย

ข. ขอบเขตบริการ

งานบริการวิสัญญี ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ใหการบริการระงับความรูสึก

ผูปวยในหองผาตัด และหองผาตัดคลอดของโรงพยาบาลศรีนครินทร ท้ังในเวลาและนอกเวลาราชการ มีการเปดใหบริการเพ่ิม ข้ึน

ในป พ.ศ. 2555 จํานวน 3 หองผาตัด ไดแก หองผาตัด 13 (ในเดือนกรกฎาคม) หองผาตัดสองกลอง (ในเดือนตุลาคม) และ

หองผาตัด 12 (ในเดือนพฤศจิกายน) รวมท้ังหมด 24 หอง ปริมาณผูปวยท่ีเขารับบริการวิสัญญปี พ.ศ. 2553-2555 มีจํานวน

14645, 16425 และ 18082 ราย ตามลําดับ (รายงานสถิติงานบริการ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร, 2555) เพ่ิมมาก

ข้ึนเฉลี่ย รอยละ 11 ตอป ปริมาณผูปวยท่ีไดรับการประเมินความเสี่ยงทาง วิสัญญีตาม The American Society of

Anesthesiologists (ASA) Physical Status (PS) ระดับ 3 ข้ึนไป เฉลี่ย 2500 รายตอป และมีแนวโนมสูงข้ึน ซึ่งในป พ.ศ.

2555 พบกลุมผูปวยท่ีมีโรคท่ีมีผลในการระงับความรูสึก เชน โรคเก่ียวกับไต ตับ และหัวใจ มากถึงรอยละ 56.6 ของผูปวยท่ีเขารับ

การผาตัด (รายงานสถิติงานบริการ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2555) จํานวนบุคลากรท่ี

ใหบริการประกอบดวยวิสัญญีแพทยจํานวน 23 คน คน วิสัญญีพยาบาล 58 คน และเจาหนาท่ีอ่ืน จํานวน 15 คน มีพยาบาล

อยูระหวางฝกอบรมวิสัญญีพยาบาลอีกจํานวน 11 คน มีเครื่องมือตามเกณฑมาตรฐานท่ีราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทยแหงประเทศ

ไทยกําหนด มีศักยภาพในการใหบริการหัตถการผาตัดท่ียุงยากซับซอน และเฉพาะทาง ท่ีโรงพยาบาลท่ัวไปไมสามารถทําได

ไดแก ศัลยกรรมทรวงอก หัวใจและ หลอดเลือด เชน Open Heart Surgery CABG การผาตัดปอด เปนตน รวมถึงการผาตัด

ปลูกถายอวัยวะ เชน Kidney Transplantation และ Liver Transplantation เปนตน

ภาระงานดูแลผูปวยครอบคลุมตั้งแตระยะกอนผาตัด โดย สําหรับ elective case จัดใหมีการตรวจเยี่ยมประเมินผูปวย

ลวงหนากอนผาตัด 1 วัน สวนในกรณี emergency case มีการประเมินทันทีเมื่อมีการเซ็ทผาตัด เพ่ือคนหาและประเมินความ

เสี่ยง ประกอบการวางแผนในการดูแลผูปวยแตละรายกอนเริ่มใหบริการระงับความรูสึก ใหขอมูลท่ีจําเปนท่ีเก่ียวกับการระงับ

ความรูสึกแกผูปวย ใหผูปวย/ญาติมีสวนรวมในการเลือกเทคนิคและรับทราบความเสี่ยงท่ีอาจเกิดข้ึน ใหการดูแลชวยเหลือและ

บันทึกขอมูลระหวางผาตัด ขณะผาตัด หลังผาตัดระยะแรกท่ีหองพักฟน และสงกลับหอผูปวยหรือหอผูปวยวิกฤติกรณีจําเปน

โดยมีการสงตอขอมูลท่ีสําคัญในการดูแลผูปวยอยางตอเน่ือง และติดตามเยี่ยมประเมินภาวะแทรกซอนทางวิสัญญีวิทยาภายใน

Page 3: Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

3

24 ช่ัวโมงหลังผาตัด ตลอดจนติดตามดูแลแกไขภาวะแทรกซอนท่ีพบภายใน 48 ช่ัวโมงหลังผาตัด (Safe Anesthesia Care in

Srinagarind Hospital. ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2553)

ภาพกรอบแนวคิดการควบคุมคุณภาพบริการวิสัญญี

Safe Anesthesia Care in Srinagarind Hosp.(Daily Work & Quality Activities)

3. PACU

1. Pre-op visit(Initial Assessment)

Preanesthesia

Quality Improvement

OFI Identification

Anes.complication,Outcome indicator

2. Intra-operative Care

Perioperative

• Monitoring& Evaluation• CPG• Quality manual• Consultation• Innovation

Post anesthesia

• Qualified personel• Qualified equipment• Quality manual• Consultation • Investigation &• Planning (Team)

CQI

• KM, R2R, EBM• Conclusion,• Communication• Share & Learn

M&M

• CPG• Quality manual• Consultation

4. Post-0p visit & APS

Daily quality review (repeat)

(งานบริการวิสัญญี โรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2553)

ค. ผูรับผลงานและความตองการท่ีสําคัญ (จําแนกตามกลุมผูรับผลงาน)

ความตองการของผูรับบริการ (External customer)

ผูปวยและญาติ

1. ไดรับบริการระงับความรูสึกท่ีปลอดภัยไดมาตรฐาน ซึ่งรองรับการผาตัดท่ียากและซับซอน

2. ไดรับคําแนะนําเก่ียวกับข้ันตอนการระงับความรูสึกและการปฏิบัติตัวท้ังกอนและหลังรับบริการ และมีสวนรวม

ในการตัดสินใจเลือกเทคนิคการระงับความรูสึก

3. พบปะพูดคุยกับเจาหนาท่ีเพ่ือรับทราบขอมูลและซักถามขอของใจ

ความตองการของผูรวมงานในโรงพยาบาล (Internal customer)

แพทยผาตัด

1. มีการประเมินผูปวยบนพ้ืนฐานของหลักวิชาอยางละเอียดรอบคอบ

2. มีมนุษยสัมพันธท่ีดี มีการประสานงานในทีมท่ีมีประสิทธิภาพ

3. มีความรูและทักษะในการใหบริการท่ีดี มีการพัฒนาความรูอยูอยางสม่ําเสมอ

4. มีความเขาใจในหัตถการของแพทยผาตัดและสามารถใหบริการท่ีสอดคลองทําใหการผาตัดดําเนินไปดวยความ

ราบรื่น

5. มีการตัดสินใจท่ีรวดเร็ว แมนยํา และรอบคอบเพ่ือความปลอดภัยของผูปวย

Page 4: Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

4

6. มีการวิเคราะหความตองการของแพทยผาตัดเพ่ือนํามาปรับปรุงและพัฒนางานบริการ

7. มีอุปกรณ, เครื่องมือตาง ๆ ท่ีมีประสิทธิภาพเช่ือถือไดและพรอมใชงานไดตลอดเวลา

หอผูปวยและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ

1. มีการติดตอประสานงานอยางมีประสิทธิภาพ มีการบันทึกและสงตอขอมูลท่ีเช่ือถือได

2. นําผูปวยสงกลับหอผูปวยอยางปลอดภัย

พยาบาลหองผาตัด

1. มีมนุษยสัมพันธท่ีดี มีนํ้าใจชวยเหลือซึ่งกันและกันในการปฏิบัติงาน

2. วางแผนรวมกันกอนเริ่มการผาตัดเพ่ือความราบรื่นในการปฏิบัติงาน เชน ใหความรวมมือในการทํา surgical

safety checklist

3. ใหความรวมมือรักษาเครื่องมือเครื่องใชใหสะอาดปราศจากเช้ือโรค

4. ชวยรับผิดชอบในอุปกรณท่ีใชรวมกัน เชน suction ไมรองแขน เปนตน

ง. ประเด็นคุณภาพท่ีสําคัญ

1. ใหบริการวิสัญญีท่ีมกีารควบคุมมาตรฐานดวยระบบประกันคุณภาพท่ีครอบคลุมทุกข้ันตอน มีการพัฒนาคุณภาพ

อยางตอเน่ือง

2. ใหบริการโดยเนนผูปวยเปนศูนยกลาง ผูปวยทุกรายมีสิทธิเทาเทียมกันในการไดรับบริการวิสัญญีท่ีไดมาตรฐาน

แหงวิชาชีพ

3. ผูปวย/ญาติมีการรับทราบขอมูลและมีสวนรวมในการตัดสินใจเลือกเทคนิคการระงับความรูสึกบนพ้ืนฐานความ

ปลอดภัย

4. บุคลากรผูปฏิบัติงานพัฒนาตนเองใหมีความรูความสามารถท่ีทันสมัยอยูเสมอ

5. คนหาความเสี่ยงและลดอุบัติการณท่ีเกิดจากบริการวิสัญญ ี

จ. ความทาทาย ความเสี่ยงท่ีสําคัญ จุดเนนในการพัฒนา

ความทาทาย ความเสี่ยงท่ีสําคัญ จุดเนนในการพัฒนา

1. เปนโรงพยาบาล

โรงเรียนแพทยท่ีมี

ศักยภาพบริการแบบตติย

ภูม ิประเภทของผูปวยมี

ความซับซอนของโรคและ

มีความยากในการดูแล

รักษาจึงตองมีการ

- พัฒนาคน

- พัฒนาระบบ

- พัฒนากระบวนการ

- ความผิดพลาดในการประเมิน

ความเสี่ยงและการดูแล

- การสงตอขอมูลไมสมบูรณ

- การประสานงานบกพรอง

- การฟองรอง

- พัฒนาบุคลากรเฉพาะทางเพ่ือรองรับความยากของงานและลด

ความเสี่ยง ขอขัดแยงในการประสานในทีม เชน ทีม kidney

transplantation และ liver transplantation เปนตน

- เนนดานความปลอดภัยของผูปวยโดยมีระบบบริหารความ

เสี่ยงและการประกันคุณภาพบริการ

- มีการประเมินผูปวยรวมกันในทีมสหสาขา และมีระบบการ

ปรึกษาเฉพาะทาง เชน การขอคําปรึกษาทีม cardio-med หรือ

ทีมดูแลความปวดเมื่อพบปญหาในการดูแล, พัฒนารวมกับ CLT

ตางๆผานผูประสานเพ่ือลดความเสี่ยงตามแนวคิด Thai Patient

Safety Goals : SIMPLE

- พัฒนาระบบการติดตอสื่อสารภายในทีมผูใหบริการ ผานทีม

บริหารความเสี่ยง, กลุมงานประกันคุณภาพ และสรางทีม

ประสานแตละ PCT/CLT เพ่ิมเติมข้ึน เพ่ือแกปญหาไดตรง

Page 5: Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

5

ความทาทาย ความเสี่ยงท่ีสําคัญ จุดเนนในการพัฒนา

ประเด็นมากข้ึน

- ติดตามภาวะแทรกซอนท่ีสําคัญโดยกรรมการบริหารความ

เสี่ยง และรวมอบรมหลักสูตรการเจรจาไกลเกลี่ยกับทีมบริหาร

ความเสี่ยงของโรงพยาบาลเพ่ือดูแลบริหารจัดการความเสี่ยง

เบ้ืองตนท่ีเกิดภายในองคกร

2. Excellent Center

ดาน การปลูกถายอวัยวะ

ไดแก Renal

Transplantation และ

Liver Transplantation

เปนตน

- ขาดความรู ความชํานาญของ

ทีมงานเฉพาะทาง

- พัฒนาบุคลากรกลุมงานท่ีมีความเฉพาะ ไดแกทีมระงับ

ความรูสึกการผาตัดเปลี่ยนไตและเปลี่ยนตับ เชน การเขารวม

อบรม ทบทวนความรูการผาตัดไต

- อบรม ดูงานเพ่ือเพ่ิมศักยภาพเชนการสงบุคลากรรวมดูงาน

liver transplantation ณ ประเทศญี่ปุนและออสเตรเลีย

- ทบทวนแนวทางการระงับความรูสึกผูปวยผาตัดปลูกถายไต

ท่ีจัดทําและปรับปรุง

- จัดทีมผูชํานาญเฉพาะทางกํากับการดูแลผูปวย

3.ใหบริการนอกสถานท่ี

เชน การทําการวินิจฉัย

ดวย Angiogram และ

MRI เปนตน

-ความไมพรอม ไมชํานาญของ

ทีมผูชวยเหลือหากมีกรณี

ฉุกเฉิน

- วางระบบการบริหารจัดการงานบริการนอกสถานท่ี โดยใหมี

ผูรับผิดชอบประจํา

- ดูแลจัดอุปกรณท่ีสําคัญสมบูรณพรอมใชตลอดเวลา

- จัดใหมีทีมชํานาญเฉพาะเพ่ือลดความเสี่ยง

- มีระบบขอความชวยเหลือดวนผานวิทยุติดตามตัว

ฉ. ปริมาณงานและทรัพยากร(คน เทคโนโลยี เคร่ืองมือ)

ปริมาณงาน

จํานวนผูปวย พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555

จํานวนผูปวยท้ังหมด (รวม) 14,645 16,425 18,082

- ผูปวยใน :ราย (รอยละ) 14,147 (96.6) 15,751 (95.9) 17,200 (95.2%)

- ผูปวยนอก :ราย (รอยละ) 268 (1.8) 452 (2.8) 678 (3.7)

- ไมระบุ :ราย (รอยละ) 230 (1.6) 222 (1.3) 204 (1.1%)

ประเภทผูปวย

- Elective :ราย (รอยละ) 11,270 (77.0) 12,957 (78.9) 14,231(78.7)

- Emergency :ราย (รอยละ) 3,307 (22.6) 3,417 (20.8) 3,791 (21.0)

- ไมระบุ :ราย (รอยละ) 68 (0.4) 51 (0.3) 60 (0.3)

- มี Underlying disease (รอยละ) 55.2 56.6 56.6

-ไมม ีUnderlying disease (รอยละ) 44.8 43.4 43.4

ประเภทการระงับความรูสึก

- Regional Anesthesia (RA) 2,661 (18.2) 2,770 (16.9) 2,968 (16.4)

- General Anesthesia (GA) 10,710 (73.1) 12,290 (74.8) 13,480 (74.5)

- Combined GA& RA 952 (6.5) 1,011 (6.2) 1,224 (6.8)

Page 6: Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

6

- MAC 312 (2.1) 338 (2.1) 400 (2.2)

-ไมระบุ 10 (0.1) 16 (0.1) 10 (0.1)

ทรัพยากรบุคคล

จํานวนบุคลากรกลุมตาง ๆ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555

วิสัญญีแพทย 15 21 23

วิสัญญีพยาบาล 50 51 58

อยูระหวางอบรมวิสัญญีพยาบาล 1 7 11

เจาหนาท่ีสายสนับสนุนงานบริการ 13 14 15

เคร่ืองมือ อุปกรณท่ีใชใหบริการทางวิสัญญี

การจัดเคร่ืองมือและอุปกรณ

(ตามเกณฑมาตรฐานของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย)

พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555

- เครื่องใหยาสลบ 1 เครื่อง/หองผาตัด (มีเครื่องสํารองใช) มี มี มี

- เครื่องชวยหายใจ 1 เครื่อง/หองผาตัด (มีเครื่องสํารองใช) มี มี มี

- อุปกรณเพ่ือจัดการเปดทางเดินหายใจตามมาตรฐาน

(มีอุปกรณสํารองใช มีรถเตรียมอุปกรณสําหรับ difficult

intubation) มีทุกหองผาตัด

มี มี มี

- มี Fiberoptic bronchoscope สํารองใชสวนกลาง มี มี มี

- มีอุปกรณชวยฟนคืนชีพพรอมใช

(มีชุดยาสําหรับ CPR สํารองใช 3 ตําแหนงไดแก PACU1,

PACU2 และ Supply)

มี มี มี

- มีเครื่อง suction ทุกหองผาตัด มี มี มี

- มีอุปกรณในการติดตามอาการผูปวย มี มี มี

- มีเครื่องเปาลมรอนอยางนอย 1 เครื่องตอ 1หองผาตัด มี มี มี

2. กระบวนการสําคัญ (Key Process)

กระบวนการสําคัญ สิ่งท่ีคาดหวัง ความเสี่ยงท่ีสําคัญ ตัวชี้วัดท่ีสําคัญ

1. การเตรียมความ

พรอมของผูปวยและ

การวางแผน

- มีการประเมินกอนเริ่มตน

ใหการระงับความรูสึก

สําหรับผูปวยแตละรายเพ่ือ

การคนหาและปองกันความ

เสี่ยงโดยผูมีคุณวุฒิ และ

วางแผนการระงับความรูสึก

สําหรับผูปวยแตละราย

- ผูปวยไดรับการประเมินไม

ครอบคลุมประเด็นท่ีสําคัญ

- กรณีรายท่ีวินิจฉัยมีโรค

ซับซอนไมไดรับการปรึกษา

ผูท่ีชํานาญกวากอนการ

ผาตัด

- ขาดพยานบุคคล

- เครื่องมือหรืออุปกรณมี

ปญหาขณะใหบริการ

- อัตราผูปวยไดรับการตรวจเยี่ยมและ

ประเมินเพ่ือจัดแบงลําดับความสําคัญ

ตามความเสี่ยง ASA กอนใหยาระงับ

ความรูสึก

- อัตราผูปวยหรือญาติผูปวยไดรับการ

ใหขอมูลกอนใหยาระงับความรูสึกและ

ลงช่ือยินยอมในใบ informed

consent

- อัตราการตรวจสอบเครื่องดมยาสลบ

Page 7: Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

7

กระบวนการสําคัญ สิ่งท่ีคาดหวัง ความเสี่ยงท่ีสําคัญ ตัวชี้วัดท่ีสําคัญ

- เกิดสถานการณไมเปนตาม

แผนการดูแลท่ีวางไว

และ monitor กอนใหบริการ

- มีการอธิบายประเด็นเรื่อง

ความเสี่ยงภาวะแทรกซอน

ท่ีอาจเกิดข้ึนและทางเลือก

ในการระงับความรูสึกใหแก

ผูปวย ครอบครัว หรือผูท่ี

ตัดสินใจแทนผูปวย

-การเตรียมความพรอมของ

เครื่องมือ อุปกรณ และยา

โดยวางแผนปรึกษาภายใน

ทีมและผูชํานาญกวา

2. ใหการระงับ

ความรูสึก

- ผูปวยทุกรายไดรับการเฝา

ระวังระหวางใหยาระงับ

ความรูสึกตามมาตรฐาน

ASA

- บุคลากรไมปฏิบัติตาม

แนวทางท่ีกําหนด

- รอยละบุคลากรผูใหบริการผานการ

อบรมและมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน

ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทยแหงประเทศ

ไทย

- มีการปฏิบัติตามแนว

ทางการใหบริการวิสัญญีท่ี

สําคัญ

- จํานวนแนวทางปฏิบัติท่ีสําคัญ

-กระบวนการระงับ

ความรูสึกเปนไปอยาง

ราบรื่นและปลอดภัยตาม

มาตรฐานวิชาชีพ

- อัตราการเกิดอุบัติการณขณะระงับ

ความรูสึก

-วางแผนการใหยาหรือ

เทคนิคระงับปวด

- อัตราการติดตามและบันทึกขอมูล

ผูปวยระหวางระงับความรูสึก

- อัตราการเกิดอุบัติการณตาง ๆ

- ความสมบูรณของการบันทึก

- รอยละความสมบูรณ ถูกตองและ

ครบถวนของแบบบันทึก anesthetic

record

3. การดูแลผูปวยใน

หองพักฟน(PACU)

ดูแลความปวด และ

นําสงผูปวยไปท่ีหอ

ผูปวย/กลับบาน

- ผูปวยไดรับการดูแลตาม

มาตรฐาน และไดรับการ

ดูแลความปวดท่ีเหมาะสม

-ไมไดรับการประเมินและให

การดูแลท่ีเหมาะสม

-ภาวะแทรกซอนในหอง พัก

ฟน เชน desaturation,

ความปลอดภัยของผูปวย

- รอยละของผูปวยหลังผาตัดท่ีไดรับ

การดูแลตามมาตรฐาน PACU

- รอยละผูปวยนอกไดรับการประเมิน

กอนจําหนายโดย PADS>9

- รอยละการรายงานแพทยกอน

Page 8: Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

8

กระบวนการสําคัญ สิ่งท่ีคาดหวัง ความเสี่ยงท่ีสําคัญ ตัวชี้วัดท่ีสําคัญ

ตกเตียง/ลม, accidental

extubation, drug Error

เปนตน

- การสงตอขอมูลผิดพลาด

และไมครบถวน

จําหนายผูปวยนอก

4. ตรวจเยี่ยมผูปวย

หลังผาตัด 24 ชม.

เพ่ือติดตามการเกิด

ภาวะแทรกซอนท่ี

สําคัญ (incident

related to

anesthesia)

- มีการติดตาม

ภาวะแทรกซอนท่ีเกิดจาก

บริการทางวิสัญญ ี

- ประเมินและบันทึก

ภาวะแทรกซอนไดไม

ครบถวนทุกราย

- อัตราการไดรับการเยี่ยมหลังไดรับ

การระงับความรูสึก

- บันทึกขอมูลการใหบริการ

วิสัญญีอยางครบถวน

- บันทึกไมครบถวน

คลาดเคลื่อน ทําใหการนํา

ขอมูลไปวิเคราะหผิดพลาด

- ความสมบูรณของการบันทึกขอมูล

การเยี่ยม

-ผูปวยรับทราบขอมูลการ

ปฏิบัติตัวกอนกลับบาน

- ผูปวยไดรับการดูแล

ตอเน่ืองและพึงพอใจ

- ความไมพึงพอใจการ

บริการ

- เสี่ยงตอการถูกฟองรอง

- อัตราความพึงพอใจของผูปวย

ในบริการวิสัญญ ี

- ขอรองเรียน

5. ใหบริการระงับ

ปวดโดยหนวยระงับ

ปวด

- ผูปวยไดรับทราบและมี

สวนรวมในการเลือกเทคนิค

การระงับปวดกอนผาตัด

- ผูปวยไดรับเทคนิคการ

ระงับปวดอยางเหมาะสม มี

คุณภาพชีวิตท่ีดีหลังผาตัด

- ผูปวยไดรับบริการไมท่ัวถึง

- อัตราความพึงพอใจของผูปวยท่ีไดรับ

บริการ APS > 85%

- ผูปวยไดรับการประเมิน

อาการปวด (ตาม pain

score) เก่ียวกับระดับความ

รุนแรงและลักษณะความ

ปวดอยางตอเน่ือง

- ผูปวยไมไดรับการดูแล

ระงับปวดตามเกณฑท่ี

กําหนด

- อัตราผูปวยท่ีมีระดับความปวดมาก

(NRS>7) กอนสงกลับหอผูปวย

< 5%

- มีทีมระงับปวดเปนผู

ใหบริการ สรางความมั่นใจ

ในการดูแล

- มีภาวะแทรกซอนรุนแรง

จากเทคนิคการระงับปวด

-จํานวนผูปวยท่ีเกิดภาวะแทรกซอนท่ี

รุนแรง

Page 9: Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

9

3. ตัวชี้วัดผลการดําเนินงาน (Performance Indicator)

ตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติงาน/การดําเนินงาน มี 3 ประเภท ไดแก

1) Process Indicator หมายถึง ตัวช้ีวัดกระบวนการดูแลผูปวยทางวิสัญญี

กระบวนการท่ีสําคัญ

(ตัวชี้วัดผลการดําเนินงาน)

ผลการดําเนินการ (รอยละ)

เปาหมาย พ.ศ.

2553

พ.ศ.

2554

พ.ศ.

2555

1. การดูแลและประเมินกอนระงับความรูสึก

- รอยละผูปวยไดรับการตรวจเยี่ยมและประเมินกอนใหยาระงับความรูสึก* 100 100 100 100

- รอยละผูปวยไดรับการใหขอมูลกอนใหยาระงับความรูสึกและลงช่ือ

รับทราบในใบ informed consent

100 100 100 100

- อัตราการตอบรับ consult จากวิสัญญีแพทย > 95 81 100 100

2. การดูแลขณะระงับความรูสึก

- รอยละบุคลากรผูใหบริการผานการอบรมและมีคุณสมบัติตามมาตรฐาน

ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทยแหงประเทศไทย

100 100 100 100

- รอยละความสมบูรณ ถูกตองและครบถวนของแบบบันทึก anesthetic

record

> 80 86.8 96.1 97.2

3. การดูแลระยะพักฟน

- รอยละของผูปวยหลังผาตัดท่ีไดรับการดูแลตามมาตรฐาน PACU > 85 100 100 100

- รอยละผูปวยนอกไดรับการประเมินกอนจําหนายโดย PADS>9 > 85 100 99.2 99.5

- รอยละการรายงานแพทยกอนจําหนายผูปวยนอก > 85 100 89.4 89.4

- รอยละผูปวยท่ีมีระดับความปวดมากม ีNRS > 7 (หลังผาตัดท่ีหองพักฟน) < 5 4.5 4.8 3.6

4. การดูแลระยะหลังผาตัดเพ่ือติดตามภาวะแทรกซอนและดูแลความ

ปวดท่ีหอผูปวย

- อัตราการไดรับการเยี่ยมหลังไดรับการระงับความรูสึก > 90 95 95 95.7

- ความสมบูรณของการบันทึกขอมูลการเยี่ยม > 95 95.0 94.7 96.2

หมายเหตุ : * หมายถึง ผูปวยท่ีมีรายช่ือในตารางผาตัด กอนเวลา 19.00 น. จะไดรับการเยี่ยมประเมินกอนผาตัดท่ี

หอผูปวยลวงหนา 1 วัน และ ผูปวยท่ี set ผาตัด elective หลังเวลา 19.00 น. จะไดรับการประเมินกอนใหยาระงับความรูสึก

ท่ีหองผาตัด และลงบันทึกในใบ Preanesthesia evaluation & preparation

2) Outcome Indicator หมายถึง ตัวช้ีวัดผลลัพธและภาวะแทรกซอนทางวิสัญญี ( Complication of

Anesthesia) ท่ีเกิดจากการใหบริการระงับความรูสึกตามกระบวนการจนเสร็จสิ้นภายหลังการรับบริการ 24 ช่ัวโมง (ท่ีมาของ

ขอมูลไดจากกลุมบริหารความเสี่ยง, กลุมสารสนเทศและกลุมประกันคุณภาพบริการ)

Page 10: Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

10

ผลลัพธการดูแลผูปวยทางคลินิก (อัตราตอหมื่น)

รายการอุบัติการณ

ราชวิทยาลัยฯ

(THAI Study)

(2548)

ผลการดําเนินงาน(อัตราตอหมื่น)

เปาหมาย พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555

1. Cardiac arrest 30.8 < 30.8 36.2 31.7 22.7

2. Death 28.3 < 28.2 23.9 22.5 15.5

3. Aspiration 2.7 < 2.7 7.5 4.4 7.3

4. Drug error 1.3 < 10.0 12.3 8.5 5.0

5. Hypothermia(severe) Non reported 0 0.7 0 0.6

6. Equipment malfunction/ failure 3.4 < 3.4 6.8 4.9 2.8

7. Nerve injury 2.0 < 2.0 1.4 1.8 2.2

8. Esophageal intubation 4.1 < 4.1 1.1 1.0 0

9. ความปลอดภัยของผูปวย/ ตก/ ลม Non reported 0 0 0.6 0.6

10. Mismatch transfusion 0.2 0 1.4 0.6 0

11. Reintubation 19.4 < 19.4 16.9 12.6 18.3

12. Nausea/Vomiting (severe) Non reported 35 38.2 34.7 32.6

13. Accidental extubation Non reported ยังไมได

กําหนด

7.0 3.6 5.0

14. Dental injuries Non reported 12 17.1 15.0 17.0

15. Awareness 3.8 < 3.8 1.7 2.3 1.4

3) Patient Perception Indicator หมายถึง ตัวช้ีวัดความเขาใจในการใหบริการ การมีสวนรวมในการเลือก

ทางเลือกทางวิสัญญีและความพึงพอใจของผูปวย

กระบวนการท่ีสําคัญ

(ตัวชี้วัดผลการดําเนินงาน)

รอยละผลการดําเนินการ (พ.ศ.)

เปาหมาย พ.ศ.2553 พ.ศ.2554

พ.ศ.2555

- อัตราความพึงพอใจของผูปวยท่ีไดรับบริการวิสัญญี > 85 98 99.2 99.7

- รอยละความพึงพอใจของผูปวยท่ีไดรับบริการ APS > 85 99.5 98.8 99.4

- รอยละของความพึงพอใจของบุคลากรท่ีมารับบริการวิสัญญ ี > 75 Non

reported

Non

reported

79.9

4. กระบวนการหรือระบบงานเพ่ือบรรลุเปาหมายและมีคุณภาพ

4.1 ระบบงานท่ีใชอยูปจจุบันเพ่ือใหเปนไปตามสิ่งท่ีคาดหวังและปองกันความเสี่ยงสําคัญในแตละกระบวนการ

(รวมท้ังงานพัฒนาคุณภาพท่ีเสร็จสิ้นแลว) ใชแนวคิดของมาตรฐาน HA เปนกรอบในการวางระบบประกันคุณภาพบริการ

โดยมิติของกระบวนการพัฒนาใชหลักแนวคิด 3Cไดแก บริบทของวิสัญญี (context), มาตรฐานของวิชาชีพวิสัญญี (criteria/

standard) และ หลักคิดสําคัญ (core value & concepts) มาเปนกรอบในการพัฒนากระบวนการ/กิจกรรมคุณภาพ และ

Page 11: Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

11

ควบคุมคุณภาพโดยใชวงจร PDSA (Deming Cycle) เกิดกระบวนการเรียนรูภายในกลุมงาน ใชวิธีแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งจัด

อยางสม่ําเสมอเดือนละ1 ครั้ง/กลุม และนํามาเรียนรูรวมกันท้ังหนวยงาน ปละ3 ครั้ง/กลุม มีการสื่อสารโดย website ของ

ภาควิชาฯ, E-mail และบอรดประชาสัมพันธ เปนตน

ติดตามผลลัพธทางคลินิกเพ่ือคนหาภาวะแทรกซอนท่ีวิสัญญีมีสวนเก่ียวของ ( incidence related to anesthesia)

โดยการติดตามเยี่ยมหลังผาตัดใน 24 ช่ัวโมง และปฏิบัติตามแนวทางการรายงานอุบัติการณท่ีกําหนด นํามาทบทวนทุก

สัปดาหในกิจกรรม M&M Conferences เพ่ือรวมกันปรับปรุงการบริการ ตัวอยางอุบัติการณท่ีเกิดข้ึนและมีการพัฒนา

แนวทางปฏิบัติการดูแลรักษาผูปวยจนสามารถลดอุบัติการณลงไดมาก เชน Nausea/Vomiting (severe) และ drug error

เปนตน

ผลการดําเนินกิจกรรมคุณภาพ ไดแก

1) มีการกําหนดตัวช้ีวัดผลลัพธ (key performance indicators: KPI) ในแตละกลุมงานท่ีชัดเจน โดยคณะกรรมการ

พัฒนาคุณภาพบริการวิสัญญีดูแลรับผิดชอบ มีเปาหมายของการทํางาน และสามารถทํางานไดตรงตามเปาหมาย

2) มีการจัดทํา MM conference นําเสนอกรณีศึกษาใหม องคความรูใหมอยางสม่ําเสมอจนเปนวัฒนธรรมการเรียนรู

รวมกันในทุกระดับท่ีเก่ียวของ

3) มีระบบการบริหารความเสี่ยงท่ีดี มีการจัดทํา clinical practice guideline ใหม ตามภาวะไมพึงประสงคท่ีเกิดข้ึน

เปนปญหาเรียงตามความสําคัญ โดยผานท่ีประชุมภาควิชา เชน แนวทางการดูแลผูปวยท่ีไดรับเลือดปริมาณมาก

แนวทางการใหยา เปนตน เพ่ือความปลอดภัยของผูปวย และทบทวนท่ีมีอยูแลวอยางสม่ําเสมอ

4) มีการจัดทีมเฉพาะทางวิสัญญีเพ่ือรับผิดชอบผูปวยเฉพาะทางมากข้ึน เชน ทีมระงับความรูสึกผูปวยปลูกถายอวัยวะ

ทีมระงับความรูสึกผูปวยโรคหัวใจ เปนตน มีการจัดทําแนวปฏิบัติท่ีเหมาะสมและทันสมัย

5) มีการนําเครื่องมือ Lean มาใชในการพัฒนางาน โดยรวมมือกับฝายพัฒนาคุณภาพจัดอบรม วันอาทิตยท่ี 27

มีนาคม 2554 และวางแผนใหมีกิจกรรม/โครงการท่ีใชเครื่องมือ Lean 4 โครงการซึ่งอยูระหวางดําเนินการ

4.2 การพัฒนาคุณภาพท่ีอยูระหวางดําเนินการ

- จัดตั้ง PCT เพ่ือประสานกับ CLTตาง ๆ ในการจัดการความเสี่ยงท่ีสําคัญดานคลินิก เชน PCT ศัลยกรรม, สูติ-นรี

เวช, ออรโธปดิกส หรือศัลยกรรมเด็กเปนตน โดยเนนการดูแลผูปวยภายใตกรอบแนวคิด Patient Safety: SIMPLE (Safe

Surgery) ใหเกิดผลลัพธท่ีเปนรูปธรรมมากข้ึน

- ติดตามการควบคุมการประกันกระบวนการดูแลทางคลินิกโดยกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการ ท่ีมีหัวหนากลุม

ตางๆเปนสมาชิก รวมหารือทุกเดือน

- วางแผนพัฒนาระบบยา

- นําเครื่องมือ Lean มาใชพัฒนางานตามนโยบายของโรงพยาบาล

- พัฒนาบุคลากรใหมีศักยภาพสูงข้ึนเพ่ือตอบสนองพันธกิจและยุทธศาสตรของคณะฯ

5. แผนพัฒนาตอเนื่อง

- เพ่ิมจํานวนกิจกรรม/โครงการท่ีมีการใช R2R และ Lean เปนเครื่องมือชวยในการพัฒนาคุณภาพเพ่ือ ยกระดับ

การแกปญหางานประจํา

- พัฒนาบุคลากรใหสามารถใชระบบสารสนเทศเปนเครื่องมือเรียนรูมากข้ึนในทุกระดับ

- พัฒนารูปแบบการจัดการความรูใหมีความชัดเจนมากข้ึน โดยบูรณาการเขากับอุบัติการณทางคลินิกท่ียังมี

แนวโนมสูง เชน Aspiration, Drug Error เปนตน

Page 12: Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013

12

- พัฒนาทรัพยากรบุคคลเพ่ือรองรับความกาวหนาทางเทคโนโลยีตางๆในผาตัด เชนทีมระงับความรูสึกผูปวยทํา

ผาตัด Liver Transplantation โดยถายทอดความรูและประสบการณ พรอมท้ังเปนพ่ีเลี้ยงใหบุคลากรอ่ืนในทีม และจัดทํา

แนวทางการผาตัดการระงับความรูสึกผูปวยผาตัดเปลี่ยนตับ

- พัฒนาศักยภาพบุคลากรใหกาวหนาทางวิชาชีพ