representational - abstract

48
REPRESENTATIONAL - ABSTRACT PEERAPONG DOUNGKEAW 22 June - 10 July 2009 at The Art Gallery Faculty of Fine Arts, Chiangmai University รูปธรรม - นามธรรม พีระพงษ ดวงแกว 22 มิถุนายน - 10 กรกฎาคม 2552 หองนิทรรศการศิลปะ คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม peerapong.indd 1 peerapong.indd 1 6/20/2009 17:25:31 6/20/2009 17:25:31

Upload: parichart-padhesana

Post on 22-Mar-2016

218 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

PEERAPONG DOUNGKEAW

TRANSCRIPT

REPRESENTATIONAL - ABSTRACTPEERAPONG DOUNGKEAW

22 June - 10 July 2009at The Art Gallery

Faculty of Fine Arts, Chiangmai University

รูปธรรม - นามธรรมพีระพงษ ดวงแกว

22 มิถุนายน - 10 กรกฎาคม 2552ณ หองนิทรรศการศิลปะ

คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม

peerapong.indd 1peerapong.indd 1 6/20/2009 17:25:316/20/2009 17:25:31

23 ป พีระพงษ ดวงแกว กับประติมากรรมอันเปนที่รัก ปราชญ บอกวา ... “ระยะทางพิสูจนมา กาลเวลาพิสูจนคน ใครถอยหรือใครทน พิสูจนไดเมื่อภัยมา” การที่จะเปนคนทำงานใหประสบความสำเร็จนั้น ไมใชจะเปนเรื่องงาย และก็ไมใชจะเปนเรื่องยาก หากใจสู สำคัญที่วา ... เรามีศรัทธาเปนที่ตั้งมากนอยขนาดไหน! ตอการงานท่ีทำ ถามีมาก.... ความสำเร็จก็อยูไมไกลเกินเอื้อม เหมือนกับคนที่ขับรถทางเดียว ยอมจะถึงเปาหมายไดเร็วกวาคนท่ีขับรถสับเปะสับปะ แบบไรทิศทาง ก็ยอมท่ีจะถึงเปาหมายชา อยาวาแต 10 ป 20 ป เลย ตลอดชีวิตก็อาจไมประสบความสำเร็จเลยก็วาได ...... พีระพงษ ดวงแกว หรืออาจารยพีระพงษ ดวงแกว แหงสาขาวิชาประติมากรรม คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ก็เปนอีกกรณีศึกษาหน่ึงของอาจารยสอนศิลปะในมหาวิทยาลัย ที่เปนทั้งครูอาจารย นักวิชาการศิลปะ และในขณะเดียวกัน ก็เปนคนทำงานศิลปะควบคูกันไปดวย เพื่อเปนการพัฒนาตนเอง เม่ืออาจารยพัฒนาตนเอง ทำใหลูกศิษยพัฒนาตาม จุดเริ่มตนของชีวิตใหม หลังจากที่ไดหลุดพนจากร้ัวมหาวิทยาลัยศิลปากร ก็ไดขึ้นมาเริ่มตนชีวิตที่เชียงใหม ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย โดยทำหนาที่การงานเปนอาจารย (พิเศษ) สอนอยูที่ แผนกศิลปกรรม วิทยาลัยเทคนิคภาคพายัพ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา) และหลังจากท่ีไดรับการบรรจุรับราชการแลว ประมาณ 5 – 6 ป ก็ไดศึกษาตอปริญญาโท ทางดานประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร จากนั้นจึงไดโอนมารับราชการ เปนอาจารยคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ในป 2520 (1987) ก็ไดเปนประตูสูโลกกวางเปนครั้งแรก เพื่อเปนการแลกเปล่ียนเรียนรูทางดานศิลปะ ในการศึกษาดูงาน และการแสดงผลงานศิลปะเพื่อการเผยแพรสูสาธารณะชน ณ ที่นครลอสแองเจลิส ประเทศสหรัฐอเมริกา ป 2535 (1992) เปนศิลปนรับเชิญจาก CANBERRA SCHOOL OF ARTS ใหไปศึกษาดูงาน ตามพิพิธภัณฑตางๆ ที่ประเทศออสเตรเลีย เปนเวลา 2 เดือน ที่นี่ทำใหเขามีโอกาสไดซมึซับเอางานศิลปะพ้ืนบาน ABORIGIN และศิลปะของชาวเกาะมหาสมุทรแปซิฟค เก็บไวในความคิดธนาคารสมอง เพ่ือที่จะไดนำมาบดยอยในการรังสรรคผลงานศิลปะตอไป จากน้ันเขาก็ไดหันมาสนใจในซีกโลกตะวันออก ไมวาจะเปนที่อินเดีย, เปอรเชีย, ปากีสถาน, เขมร, เวียดนาม, ลาว และภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย เพ่ือศึกษาคนควาไมวาจะเปนในเร่ืองของศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม และวิถีการดำรงชีวิตของชาติพันธุ อันจะเปนขอมูลใหกับเขาอีกทางหน่ึง เพราะเปนยุคของการแสวงหาความเปนตัวตน การเปนคนที่มีความสนใจใฝรู ใฝเรียน อยูเสมอ ไมวาจะเปนในเร่ืองของมานุษยวิทยา วัฒนธรรม ประวัติศาสตร โบราณคดี สังคมวิทยา ชาติพันธุ และศิลปะพื้นบาน ที่เคยไดไปสัมผัสอยูบอยครั้ง ตามแหลงเรียนรูทั้งเอเชีย ยุโรป ลาติน และอเมริกา เพื่อเปนแรงบันดาลใจ อันเปนเสมือนจุดเร่ิมตนของการสรางสรรคผลงานศิลปะ

peerapong.indd 2peerapong.indd 2 6/20/2009 17:25:326/20/2009 17:25:32

และเม่ือไดศึกษาดูงาน ทั้งยุโรปและอเมริกา ทำใหไดรับเอาอิทธิพลของประติมากรคนสำคัญของโลก เชน เฮนร่ี มัวร,ออกุสต โรแดง, คอนสแตนติน บรันคูซี่, โน กูจิ, ฮันส อารพ, แฟรงค สเตลลา, เดวิด สมิธ เปนตน เพราะมีความประทับใจใน รูปทรง ความประสานกลมกลืน ของมนุษยผูหญิง ผูชาย ความรัก ความผูกพัน ชีวิตครอบครัว แตก็เปนเพียงแคทางผานเทานั้น สำหรับการงานตอไปขางหนา เมื่อคนที่คิดวาใชตางก็หันหนาไปคนละทาง สรางดาวกันคนละดวง ลูกๆ ทั้ง 3 คน จึงตกอยูในความดูแลรับผิดชอบของ ผูเปนพอ ความส่ันสะเทือนของชีวิต ที่เขาไมอยากใหเกิด แตก็หลีกเลี่ยงไมได จึงจำเปนที่จะตองแบงรับแบงสู อันเปนเสมือนสงครามชีวิตที่ทำใหเขาตองคิด ตองทำทุกอยาง เพื่อใหชีวิตและครอบครัวผานพนวิกฤต แตเนื่องจากวา ...... ปญหาเขามีไวใหแก ไมไดมีไวใหกลุม การปลอยใหชีวิตเหี่ยวเฉาไปวันๆ แบบไรทางออก ไมใชวิสัยของผูมีสติปญญา เขาจึงไดระบายอารมณสะเทือนใจของชีวิตลงในผลงานประติมากรรม อันเปนความรักปรากฏรูป ซึ่งจะเห็นวาผลงานประติมากรรมในยุคน้ี จะเปนเรื่องของส่ิงแวดลอมที่อยูใกลตัวที่เขาไดหยิบยกมาใสไวในผลงาน ที่เขารักและศรัทธา ซึ่งก็หนีไมพนเรื่องของชีวิต และครอบครัวนั่นเอง ชีวิตไมไดโรยดวยดอกกุหลาบ ทำใหชีวิตและครอบครัวจึงไมสมบูรณแบบตามท่ีเขาตองการ ทั้งท่ีเขาก็ไดพยายามแลว แมจะเสียศูนยไปบาง อาศัยจิตใจท่ีเขมแข็งและอดทน ทำใหผานวิกฤต ภาษาทางพระไดบอกวา “จิตที่ดียอมไมหวั่นไหวตอโลกธรรม” ความรักความอบอุน ความผิดหวัง ความสมบูรณพูนสุขของชีวิต จึงไดระบายอยูในผลงานชุด “ความรักท่ีหลนหาย” ที่มีแขนขาขาด กุดดวน หัวใจที่ทำดวยหิน ผูหญิงกับผูชายที่หันหนาไปคนละทาง ความรักความผูกพันของลูกที่มีตอแม ความดูแลเอาใจใสของพอ เราจะเห็นอารมณความรูสึกเหลานี้ จะปรากฏอยูในผลงาน ประติมากรรมที่สะเทือนอารมณ นับเปนศิลปะท่ีมากดวยคุณคา แตในความเงียบงันของผลงาน ทำคนในวงการศิลปะที่มีความสนิทชิดเชื้อ ตางก็พูดเปนเชิงลอเลนถึงผลงานในชุดนี้วาชุด...“โทนตามหาเมีย” หลังจากผลงานในชุดความรักที่หลนหาย ผานพนไป ก็เหมือนกับฟาหลังฝน ทุกอยางก็เริ่มผอนคลาย, ทองฟาก็เปนสีฟา มีเมฆขาวบางกำลังลอยอยูออยอ่ิง ผลงานก็เขาสูยุครวมสมัยมากข้ึน ที่แสดงใหเห็นถึงความเปนตัวตน, เริ่มหลุดพนจากอิทธิพลภายนอก เมื่อลูกๆ ตาง ก็เติบโตทางการศึกษา มีหนาที่การงานทำกันทุกคน ทำใหศิลปนพอลูกสามก็คอยๆ ผอนคลายชีวิตและการงาน เนื่องจากชีวิต 23 ปที่ผานมา ไดพิสูจนใหเห็นแลววา ..... การเปนคนทำงานศิลปะ โดยมีศรัทธาเปนที่ตั้งแมจะลำบากบาง ถือเปนมารผจญ ถามารไมมีบารมีก็ไมเกิด ถามารไมมาบารมีก็ไมแกรง เชื่อมั่นในเสนทางที่เลือกเดิน เทานั้นจึงจะประสบความสำเร็จ ไมเร็วก็ชา ขอใหมีความเชื่อมั่นในส่ิงที่ดีงาม

ฉลอง พินิจสุวรรณ หอศิลปไตยวน เชียงราย

peerapong.indd 3peerapong.indd 3 6/20/2009 17:25:326/20/2009 17:25:32

ลึกในหวงคำนึงปรารถนา...ผูชายทระนง.... เสียงทักทายกลบสายฝนดังผานมานหนาตางมาเปนจังหวะ....บางจังหวะ.....หนัก...เบา...เคลาจังหวะลมฝนพัดสายฝนกระจายท่ัวพื้นตามเก็บความแหงของเม็ดทรายบนผิวดิน ใหอาบอ่ิมชุมฉ่ำน้ำกอนถึงเดือนแหงฝนพรำ เม็ดฝนตกกระทบ กอนหิน ซะลางผิวดินที่เกาะติดกับกอนหินเหมือนใหชีวิตใหมฟนคืน กอนชีวิตที่วางเรียงรายอยูกลางสนามหญา ชวยเปนสักขีพยานยืนยันไดวา วันเวลาผานไปไดทิ้งตะกอนจิตวิญญาณไรชีวิตแหงภูมิปญญาบนกอนหินหลายรอยกอน หลายรอยชีวิตผานไป ดั่งลมฝนพัดเอาสายฝนเย็นฉ่ำ กระจายซะลางผิวหินที่นอนอยูแนนิ่งไรซึ่งชีวิตในชวงสองฤดูกาลท่ีผานไป เปนผลผลิตจากเสียงท่ีกลบผานสายฝนคอยกระตุนปลุกเราใหลูกศิษยลูกหาทำงานศิลปะไดร่ำไป เปนมุมชีวิตที่เปนจริงของเสียงที่กลบผานสายฝนของเชาเปดการศึกษาใหม เพ่ือบมเพาะตนกลาใหมเติบใหญตามวิถีทางแหงตนฉันทใด ในหวงคำนึงแหงความปรารถนาในการสรางสรรคงานศิลปะก็ยิ่งเต็มเปยมเพิ่มเปนทวีคูณฉันทนั้น การเริ่มรูรสกลิ่นอายศิลปะที่สืบทอดทางสายเลือดแหงวิถีทางพ้ืนถ่ินแถบภาคอีสาน ในภาพลักษณชางไมพื้นบาน ที่ลุมลึกอบอุนไปดวยแวดลอมธรรมชาติในวิถีชุมชนแหงตนกำเนิดความเปนรากเหงาของตน ไดรองเรียกใหแสวงหาความเปนตัวตนของตน ไดพวยพุงความคิดแรงปรารถนาเพ่ือใหคนหาความเปนจริงดานอัตลักษณแหงตนไดอยางสมบูรณแบบในเสนทางศิลปะ ที่ถูกเก่ียวเก็บเร่ืองราวทางศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีไวอยูในหวงคำนึงของศาสตรแหงสุนทรียภาพ ในความเปนรูปแบบสามมิติไวไดอยางลึกซึ้ง ทั้งขอมูลเน้ือหาท่ีไปใชชีวิตสัมผัสรวมกับวิถีทางของภูมิปญญาทองถิ่น ทั้งพื้นราบและชนบนดอยตามแนวชายขอบตางๆ ที่มีเสนทางชีวิตเขาไปถึง เพ่ือนำเอาความงามอันบริสุทธ์ิไรเดียงสาในความเปนวิถีเฉพาะตน ที่หลากหลายในแงของ จิตวิญญาณพื้นบานทั้งในประเทศและตางประเทศ ที่เดินทองรอยแหลงอารยธรรมของชนพื้นเมืองเผาตางๆ นำความเขาใจภาพลักษณสัญลักษณแหงความดีงาม ในมุมมองความฝนของตัวเองไดอยางลึกซึ้งถึงจิตวิญญาณที่แฝงปรัชญาภูมิปญญาทองถิ่น ไดอยางสอดคลองกลมกลืนกับรูปแบบผลงานศิลปะในยุคสมัยปจจุบัน ความบาดเจ็บในชีวิตจิตใจไดหยั่งรูลึกตามหาคำอธิบายเน้ือแทแหงความเปนตัวตนของมนุษย ในความแปรเปล่ียนของหวงคำนึงซึ่งยากในการเขาใจ จึงตองตามหาความหวงใยเอ้ืออาทรตอมวลมนุษยที่มีตอเพ่ือนรวมโลก เพื่อสรางภูมิคุมกันของคืนอันโหดรายชวยปลดชนวนความเศราใหคลายหายไป เหมือนด่ังพืชพรรณแหงการเปลี่ยนแปลงในชวงฤดูกาลใหม นัยนตาแฝงความอบอุนเหมือนตอนรับคืนอันเหน็บหนาว รอคอยความงามอันบริสุทธิ์โดยการตอบสนองในเชิงรูปแบบภาษาผลงานประติมากรรมความผูกพันหวงใย ที่มีตอครอบครัวบุตรธิดาไดอยางลึกซ้ึง เพื่อส่ือสะทอนของการขาดหายความอบอุนในครอบครัว ซึ่งไดถูกแสดงออกไวหลายชิ้นงานในชวงเวลาที่ผานมา กาลเวลาไดบมเพาะขัดเกลาความคะนึงหาสานสายใยแหงรักแสนยาวนาน เขาใจวิถีทางแหงควรจะเปน ไดนำเรื่องราวความผูกพันในเพื่อนมนุษยลักษณะของกลุมคน โดยการแสดงออกในโครงสรางที่เรียบงาย ตัดรายละเอียดสาระบนเรือนรางใหเหลือความสำคัญในโครงสรางโดยรวม สะทอนความรูสึกนึกคิดแบบวิถีชีวิตพ้ืนบานไดอยางลงตัว อารมณความรูสึกถูกระบายออกมาโดยการแกะทิ้งพื้นผิว รองรอยของสิ่วในลักษณะตาง...ตาง...กัน เพื่อสรางเสนหใหกับตัวผลงานประติมากรรมที่สรางสรรคขึ้น นอกจากนั้นยังนำความเชื่อทางวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี เปนรากเหงาวิถีชีวิตพื้นถิ่นตางๆนำมาพรรณนาใหสอดคลองกับการรับรู ในดานประสาทสัมผัสทั้งหา ที่ประกายสัมผัสในวัฏจักรแหงจักรวาลที่หมุนกงลอนาวาชีวิตอยางไมรูจบ และวกกลับมาตามวิถีทางแหงธรรมชาติ การเริ่มตนฤดูกาลใหมที่ถูกขัดเกลาดวยภาษาทางดานศิลปะ ชวยเติมเต็มเร่ืองราวของชีวิตที่ผานมาไดอยางสมบูรณสวยงาม เหมือนคืนแหงเสียงครุนคิดที่แฝงเรนอยูในทวงทำนองน้ำเสียงของไวโอลิน คอยเยียวยาใหเกิดความชุมฉ่ำในหัวใจในความเปล่ียวเหงาของค่ำคืนลงไดบาง ทามกลางความเงียบในสายฝนไรซึ่งลมไหว จักจั่นสงเสียงกรีดรองแทนทำนองเสียงไวโอลินไดบาง เกิดจินตนาการภาพตามความคิดฝน กลิ่นผิวไมวิ่งแตะปลายจมูกไมเรงรีบไปไหน ขลุกอบอวลอยูกับชายผูจดจอมุงมั่นกับโครงสรางกลุมคนเกาะเก่ียวสัมพันธ เพื่อ

peerapong.indd 4peerapong.indd 4 6/20/2009 17:25:326/20/2009 17:25:32

จินตนาการโครงสรางชีวิตที่พันธนาการในหวงความคิดหลุดลอยออกมาแตงเติมสัญลักษณไดอยางทรงพลัง เสียงพูดกลบกลิ่นผิวไมไป.. เอย... ทักถาม...อาจารยเตรียมผลงานไปไหนครับ... ชายผูมุงมั่นครุนคิด...ตอบเสียงดังฉะฉาน ผมทำผลงานประติมากรรมเตรียมแสดงเด่ียวในวันที่ 22 มิถุนายนน้ี อยากนำประสบการณทั้งหมดท่ีไดศึกษาเรียนรูสัมผัสมาคอนชีวิตในเสนทางประติมากรรม ที่ถายทอดประสบการณในแงมุมตางๆ ที่ผมเดินทางไปสรางสรรคผลงานประติมากรรมท้ังแสดงตามแกลเลอรี สรางผลงานประติมากรรมกับสภาพแวดลอม ทั้งในประเทศและตางประเทศ ไดซึมซับแหลงวัฒนธรรมของโลกตะวันตกผสมผสานกับวัฒนธรรมของโลกตะวันออก ประมวลปรัชญาแหงวิถีชีวิตพอเพียงในความเปนตัวตนของผลงานที่จะแสดงในคร้ังน้ี และมีผลงานประติมากรรมยุดเกาๆที่แสดงออกเพ่ือสะทอนในภวังคตื่น ในเสี้ยวหนึ่งของชีวิตที่วนเวียนอยูในเรื่องภาระความผูกพันในครอบครัว.... ผมวาผลงานประติมากรรมชุดนี้ของอาจารยไดตอบโจทยการใหคุณคาความหมาย ในสานสายใยแหงรักผูกพันไวไดอยางลึกซึ้ง พอที่จะแสดงเรื่องราวฝงลึกอยูขางในได ดวยรูปทรงโครงสรางที่เรียบงายไมซับซอน แสดงคุณคาของวัสดุบนเนื้อผิวไมบอกอารมณความรูสึกโดยการทิ้งรองรอยแกะสลักบนพื้นผิว....เล็ก...เล็ก...ใหญ...ใหญ...ช้ำ...ช้ำ..กัน ตามวิถีทางมุงมั่นของตนไดอยางสมบูรณแบบแหงความปรารถนา บางคนคนหาความหมายของชีวิตในชั่วขามคืนก็พบเจอ บางคนตามหาความหมายชั่วคอนชีวิตยังหาไมเจอ บางคนเจอแลวเก็บสะสมบมเพาะรอคืนวันพรอมเปดเสนทาง.... ซึ่งแลวแตเปนไปตามจังหวะชีวิตแหงทวงทำนองของแตละบุคคลไป ดั่งชายผูทระนงผูกพันบนเสนทางสายประติมากรรมดวยหัวใจหนักแนนดุจหินผาใหญ ทามกลางเมฆฝนพายุพัดโหมกระหน่ำ ก็ไมทำใหเกิดการแปรเปลี่ยนบนเสนทางแหงการจินตนาการสรางสรรคได จึงทำใหเห็นแบบอยางของความเปนมืออาชีพ ในเสนทางประติมากรคนสำคัญคนหน่ึงฝมือชั้นบรมครูของไทย ที่มีวิถีชีวิตสวนใหญอยูกับการสรางสรรคผลงานประติมากรรมใหมีความสัมพันธกลมกลืน และสอดคลองเปนสวนหนึ่งของการใชชีวิตอยางเรียบงายในยามกระแสธารแหงความวุนวายของสังคมในยุคปจจุบันได...แบบอยางคือเบาหลอมใหลูกศิษยนำไปเปนตัวอยาง ดึงสวนดี...ดี...ในการทำงานไปใชเสริมแตงใหกับตัวเองได ในสวนท่ีขาดหายไปในเรื่องเกี่ยวกับการสรางสรรคผลงานศิลปะ ...ใหมีความเหมาะสมลงตัวกับตัวเองอยางไมเกอเขิน....ผลงานประติมากรรมมากมาย....หลายชิ้น สะทอนบาดแผลลึกในหวงหัวใจถูกระบายลงสูผิวเน้ือไมที่บริสุทธิ์ กลับคาเปนรูปลักษณในวัตถุกลาตระหงานเปลงพลังอวดโฉมใหโลกไดชม... เสียงกลบผิวกล่ินผิวไมสัก....หอมในกลิ่นผิวเน้ือไม....ไดสะกดมนตเสนหใหชายผูนี้หลงใหลในกลิ่นผิวเน้ือไมจนลืมคืนและวัน มุงม่ันอยูกับจินตนาการเติมแตงโครงสรางในเน้ือไมใหฟนชีวิตทาทายในความวุนวายของสังคม....และไมชาไมนานผานคืนและวัน กลิ่นผิวเน้ือไมแหงการแตงเติมตัวละครบนโครงสรางผลงานประติมากรรมในหวงลึกแหงจินตนาการ ไดสะทอนอารมณความรูสึกออกมาในแงมุมรูปแบบตางๆ มีความหลากหลาย เพื่อแสดงใหเห็นถึงความเปนเอกลักษณอัตลักษณในตัวผลงานประติมากรรมไดอยางลึกซ้ึง และความชำนาญในเชิงเทคนิคของการแกะสลักไม ใหโลดแลนออกสูพื้นที่ความเปนตัวตนไดอยางสมบูรณ.... เสียงพูดกลบผิวกล่ินไม..... หอมในกลิ่นผิวเน้ือไม..... ลอยผานทับสายฝน..... คอยกระตุนปลุกเราใหลูกศิษยลูกหาทำงานศิลปะไดร่ำไป...... เสียงพูดกลบผิวกล่ินไม.... หอมในกล่ินผิวเนื้อไม... ลอยผานทับสายฝน..... เปนเสียงพูดลอยผานทับสายฝนซ้ำแลวซ้ำเลา..... ซ้ำ..... ซ้ำ..... กัน.... คงเปนเสียงของใครไปไมไดที่อยูในคราบผูชายทระนง นาม...พีระพงษ ดวงแกว อาจารยของนอง...นอง...และนักศึกษาในสาขาวิชาประติมากรรม... ฝากตรึงอยูในหวงคำนึงของลูกศิษยลูกหาท่ีอยูหลังมานหนาตาง.... รับถอยคำอันมากมายแหงความปรารถนาดี... จัดถูกเก็บไวภายในหองหลังมานหนาตางนั้นยากจะลบเลือน.... และตลอดไป...

คืนแหงสายฝนเบาบาง ผูชวยศาสตราจารยสุนทร สุวรรณเหม

5 มิถุนายน 2552 ตนฤดูฝนนครเชียงใหม

peerapong.indd 5peerapong.indd 5 6/20/2009 17:25:326/20/2009 17:25:32

Works of Art on Exhibition

peerapong.indd 6peerapong.indd 6 6/20/2009 17:25:336/20/2009 17:25:33

Tension of Void Form and Space Volume No.3, 1987, Wood carving, 127 x 65 x 65 cm.

Tension of Void Form and Space Volume No.4, 1987, Wood carving, 185 x77 x 59 cm.

Tension of Void Form and Space Volume No.1, 1986,Wood carving, 138 x 34 x 32 cm.

Tension of Void Form and Space Volume No.2, 1987,Wood carving, 123 x 54 x 48 cm.

peerapong.indd 7peerapong.indd 7 6/20/2009 17:25:336/20/2009 17:25:33

Tension of Void Form and Space Volume No.5, 1987,Wood carving and mixed objects, 140 x 35 x 30 cm.

peerapong.indd 8peerapong.indd 8 6/20/2009 17:25:346/20/2009 17:25:34

Tension of Void Form and Space Volume No.6, 1987,Wood carving, 105 x 45 x 35 cm.

peerapong.indd 9peerapong.indd 9 6/20/2009 17:25:356/20/2009 17:25:35

North Wind, 1990,Wood carving, 500 x 500 x 200 cm.

peerapong.indd 10peerapong.indd 10 6/20/2009 17:25:376/20/2009 17:25:37

Hippopotamus family, 1992,Mixed Marble bit and Cement, 400 x 300 x 300 cm.

peerapong.indd 11peerapong.indd 11 6/20/2009 17:25:386/20/2009 17:25:38

Canberra Festival, 1992,Installation Wood carving, 250 x 350 x 150 cm.

peerapong.indd 12peerapong.indd 12 6/20/2009 17:25:406/20/2009 17:25:40

Gift, 1997,Wax, 83 x 100 x 50 cm.

peerapong.indd 13peerapong.indd 13 6/20/2009 17:25:416/20/2009 17:25:41

Father and child, 1997,Stone carving, Sand stone, 80 x 80 x 80 cm.

peerapong.indd 14peerapong.indd 14 6/20/2009 17:25:426/20/2009 17:25:42

Suffering, 1997, Wood carving and Mulberry paper, 60 x 60 cm.

peerapong.indd 15peerapong.indd 15 6/20/2009 17:25:436/20/2009 17:25:43

International Sclpture Symposium.

Family No.1, 2002,Fiberglass, 260 x 90 x 65 cm.,Hue, Vietnam.

peerapong.indd 16peerapong.indd 16 6/20/2009 17:25:456/20/2009 17:25:45

Dream, 2002,Wood carving, 30 x 30 x 22 cm.

peerapong.indd 17peerapong.indd 17 6/20/2009 17:25:476/20/2009 17:25:47

Family No.3, 2002,Wood carving, 60 x 45 x 45 cm.

Childhood, 2003,Wood carving, 150 x 45 x 45 cm.

Mother, 2003,Wood and Stone carving, 185 x 35 x 35 cm.

peerapong.indd 18peerapong.indd 18 6/20/2009 17:25:486/20/2009 17:25:48

Sculpture for Electricity Generating Authority of Thailand,Mae Moh Lampang.

Electricity, 2003,Stainless steel and painted, 600 x 320 x 320 cm.

peerapong.indd 19peerapong.indd 19 6/20/2009 17:25:506/20/2009 17:25:50

International Sclpture Symposium.

Family No.2, 2003,Stone carving, Marble, 280 x 40 x 30 cm.,An Giang, Vietnam.

peerapong.indd 20peerapong.indd 20 6/20/2009 17:25:516/20/2009 17:25:51

Seed, 2004,Stone carving, Sand stone, 90 x 50 x 50 cm.

peerapong.indd 21peerapong.indd 21 6/20/2009 17:25:526/20/2009 17:25:52

Family No.4, 2002,Wood carving, Installation, 200 x 45 x 45 cm.,200 x 45 x45 cm., 230 x 45 x 45 cm.

peerapong.indd 22peerapong.indd 22 6/20/2009 17:25:536/20/2009 17:25:53

Spirit House No.4, 2004,Wood and Stone carving, 300 × 64 x 55 cm.

Spirit House No.2, 2004,Wood and stone carving, 338 x 64 x 55 cm.

Spirit House No.1, 2004,Wood and stone carving, 325 x 82 x 60 cm.

Spirit House No.3 Life- Wold - Cosmos, 2004, Wood Stone carving and metal, 210 x 85 x 55 cm.

peerapong.indd 23peerapong.indd 23 6/20/2009 17:25:546/20/2009 17:25:54

Sculpture for architecture, Museum building, King Rama 7, Mae Moh, Lampang.

Massive, 2004,Stone carving, Granite stone, 620 x 500 x 500 cm.

peerapong.indd 24peerapong.indd 24 6/20/2009 17:25:556/20/2009 17:25:55

Winer prize sculpture competition for achitecture, Krungthai Bank Public Company Limited,

Head offi ce, Bankok, Thailand.

Flower No.2, 2005,Stainless steel, 700 x 320 x 320 cm

peerapong.indd 25peerapong.indd 25 6/20/2009 17:25:596/20/2009 17:25:59

International Sclpture Symposium.

Fertility No.1, 2005,Stone carving, Marble, 310 x 120 x 100 cm.,An giang, Vietnam.

peerapong.indd 26peerapong.indd 26 6/20/2009 17:26:016/20/2009 17:26:01

International Sclpture Symposium.

Fertility No.2, 2006, Pianted Metal, 620 x 450 x 450 cm.,

Chiang Mai, Thailand.

peerapong.indd 27peerapong.indd 27 6/20/2009 17:26:026/20/2009 17:26:02

International Sclpture Symposium.

Internal Tension, 2006,Stone carving, Marble, 300 x 110 x 110 cm., India.

peerapong.indd 28peerapong.indd 28 6/20/2009 17:26:046/20/2009 17:26:04

International Sclpture Symposium

City Life, 2007, Stainless steel, 420 x 270 x 90 cm., Mexico.

peerapong.indd 29peerapong.indd 29 6/20/2009 17:26:056/20/2009 17:26:05

Haiku International Sclpture Symposium.

“Spring” A Bird does not sing because it has the answerIt sing because it has a song Chinese proverb, 2007,Wood-Stone-Mulbery paper, 15 x 21 x15 cm.,Okinawa, Japan.

peerapong.indd 30peerapong.indd 30 6/20/2009 17:26:066/20/2009 17:26:06

International Sculpture Symposium.

Fertility No.3, 2008,Marbel, Stone carving, 210 x 110 x 110 cm.,

Hue, Vietnam.

peerapong.indd 31peerapong.indd 31 6/20/2009 17:26:086/20/2009 17:26:08

Good dream, 2008,wood carving, 52 x 35 x 8 cm.

peerapong.indd 32peerapong.indd 32 6/20/2009 17:26:096/20/2009 17:26:09

Movement in space, 2008,Wood carving, 33 x 16 x 7 cm.

Counciling, 2008, wood carving, 20 x 26 x 20 cm.

Star gazing, 2008,wood carving, 36 x 18 x 16 cm.

Nightmare, 2008,wood carving, 40 x 14 x 8 cm.

peerapong.indd 33peerapong.indd 33 6/20/2009 17:26:106/20/2009 17:26:10

Mahout, 2008,wood carving, 62 x 19 x 9 cm.

Solid and Void, 2008, Wood carving, 90 x 21 x 18 cm.

Mother and daugther, 2008,wood carving, 20 x 26 x 20 cm.

Sympathy from her daughter, 2008,wood carving, 30 x 20 x 11 cm.

peerapong.indd 34peerapong.indd 34 6/20/2009 17:26:116/20/2009 17:26:11

Catching, 2008, wood carving, 180 x 50 x 30 cm.

peerapong.indd 35peerapong.indd 35 6/20/2009 17:26:136/20/2009 17:26:13

Snake under leaf, 2008,Wood carving, bronz casting, metal hamering and weaving, 40 x 60 cm.

Hamering and Weaving, 2008,Metal hamering and weaving, 40 x 60 cm.

peerapong.indd 36peerapong.indd 36 6/20/2009 17:26:136/20/2009 17:26:13

Faithful, 2008,Sand stone carving, 30 x 90 x 55 – 68 x 30 x 92 cm.

peerapong.indd 37peerapong.indd 37 6/20/2009 17:26:156/20/2009 17:26:15

International Sclpture Symposium. Movement in Space, 2008,Gray sand stone, 220 x 150 x 90 cm., Base,Granite stone, 270 x 60 x 60 cm. 1st International Sculpture Simposium,Bergen, Alberta, Canada.

peerapong.indd 38peerapong.indd 38 6/20/2009 17:26:166/20/2009 17:26:16

Tree of Stone, 2009,Green Sand stone carving, 50 x 50 x 120 cm.

Fountain, 2009,Sand stone and wood carving, 104 x 45 x 55 cm.

peerapong.indd 39peerapong.indd 39 6/20/2009 17:26:176/20/2009 17:26:17

My village, 2009, wood carving and painted, 307 x 20 x 18 cm.

peerapong.indd 40peerapong.indd 40 6/20/2009 17:26:186/20/2009 17:26:18

Dynamic, 2009,wood carving, 206 x 42 x 44 cm.

peerapong.indd 41peerapong.indd 41 6/20/2009 17:26:206/20/2009 17:26:20

Man and Woman, 2009,wood carving, 190 x 26 x 24 cm.

peerapong.indd 42peerapong.indd 42 6/20/2009 17:26:216/20/2009 17:26:21

peerapong.indd 43peerapong.indd 43 6/20/2009 17:26:226/20/2009 17:26:22

peerapong.indd 44peerapong.indd 44 6/20/2009 17:26:236/20/2009 17:26:23

นิทรรศการประติมากรรม “รูปธรรม- นามธรรม” ครั้งน้ี ไดรวบรวมผลงานจากปจจุบัน ยอนลงไป 23 ป มาจัดแสดง โดยมีวัตถุประสงค เพื่อนำผลงานมาวิเคราะห การเคล่ือนไหวทางแนวคิด และการพัฒนาการทำงาน ประเมินคุณคาผลงาน เพื่อใหไดความรู ความคิด และจินตนาการใหมๆ นำไปพัฒนาการสรางสรรคศิลปะแนวทางสวนตนตอไป ดวยการทำงานที่มีความรักและเชื่อมั่นในศิลปะอยางบริสุทธิ์ใจ ทำใหทำงานดวยความรูสึกผอนคลายเบิกบาน มีพัฒนาการอยางเปนธรรมชาติที่มีความชัดเจนในแนวคิด สะทอนถืงความสัมพันธของมนุษย สังคม อารยธรรม หรือความสัมพันธของการผนึก กอตัว เคลื่อนไหว ในพื้นที่วางภายในและภายนอกประสานสัมพันธโดยเปนเอกภาพกันทั้งแนวคิด เนื้อหา วัสดุ เทคนิควิธีการ กับรูปแบบท่ีพอดีที่ไมมากหรือนอยเปนเปาหมายสูงสุด กราบขอบพระคุณครู อาจารย ที่ใหความรู อบรม แนะนำ ทางดานการศึกษาทั่วไป และการศึกษาทางดานศิลปะ ตลอดจนศิลปนทั้งในอดีตและปจจุบันทั้งศิลปนไทยและศิลปนตางๆ ทั่วโลกที่มีชื่อเสียงสรางผลงานท้ิงไวใหใดศึกษาคนควา

พีระพงษ ดวงแกว 19 มิถุนายน 2552

peerapong.indd 45peerapong.indd 45 6/20/2009 17:26:236/20/2009 17:26:23

Mr.Peerapong Doungkeaw

Born January 26, 1950 at Ubon Ratchthani Province

Education 1988 - Master of Fine Art (Sculpture) SiIpakorn University Bangkok.

Working Place Faculty of Fine Arts Chaing Mai University, Thailand.

Address 12 Wualai Road, Soi 4, Haiya, Muang District, Chiang Mai, Thailand. 50100

Home. (053) 282-074 Mobile:01-9519577

E-mail address [email protected].

Exhibitions

1999 - Exhibition of Painting “Landscape Of Luang Prabang” Lao.

2000 - Doisuthep Painting Exhibition, Chaing Mai, Thailand.

- The River Of King Art exhibition, Bangkok’.

2001 - The end of growth? Ways of development into a sustainable future, Chaing Mai – Bangkok.

1993 – 2001 - Acting as the planner, cooperator and curator of the Youth Sculptural

Project at Lanna Royal Park in Chaing Mai which promoted by the National Youth Bureau.

2002 - Sculpture Symposium “Impression in Hue”, Hue, Vietnam.

- Sai sampan soul ties Australian and Thai Artists in Collaboration, Chiangmai.

- Fusion vision : Thai – Australian Connections, Bangkok.

- Exhibition of Thai Contemporary Art “Message form Chiangmai” at CHUWA Gallery and Gallery

Nissenren,Tokyo, Japan.

2003 - The Exhibition of Art’s Instructors. Department of Printmaking, Painting and Sculpture, Faculty

of Fine Arts, Chiangmai University.

- 20th Anniversary of The Thai Sculptor Association.

- The fourth international sculpture symposium Vietnam “An Giang Compression 2003” from 5th

November to 10th December 2003 at Sam Mountain Chan Doc Town Angiang Province.

Thai-Vietnam contemporary art exhibition 5th by Lecturers of 6 universities.

2004 - Sculpture with Architectural Information Center, Electricty Generating Authority of Thailand, Mae Moh Lampang.

- Sculpture with Architectural Museum Building King Rama7, Electricty Generating Authority of Thailand, Mae Moh Lampang.

peerapong.indd 46peerapong.indd 46 6/20/2009 17:26:246/20/2009 17:26:24

- Thai – Vietnam Contemporary Art Exhibition 5th, By Lecturers of 6 University form Thailand and

Vietnam.

- The Exhibition of Art’s instructors, Department of Printmaking, Painting and Sculpture 2004,

Faculty of Fine Arts, Chiangmai University. from Thailand and Vietnam.

2005 - Sculpture competition for architecture, Krung Thai bank public company limited, Bangkok

- Mini Sculpture Exhibition 2005 ,Sculpure Section, Faculty of Fine Arts, Chiangmai University.

2006 - International Sculpture Symposium, Gwalior,India [Institute of Technology & Management]

- 2rd International Sculpture Symposium Royal Flora Chiangmai Thailand 2006.

- 16th Simposio Internaconal de Escultura en acero inoxidable. del 2 al 12 de Marzo de 2007.

Tultepec, MEXICO.

- “Haiku” Sculpture Symposium Okinawa, Japan.

- Thai – Vietnam Contemporary Arts Exhibition 7th By Lecturers of 6 University Form Thailand

and Vietnam.

- Art Exhibition Cambodia & Thailand.

2008 - Art Exhibition “Two, Excavating” 24-31 April 2008, Saoh Gallery, Nihonbashi, Tokyo, Japan.

- International Sculpture Symposium, Hue, Viet Nam.

- International Sculpture Symposium, Bergen, Alberta, Canada.

- Art Exhibition 25th Anniversary Faculty of Fine Arts.

- Art Exhibition “Confl uence of 9” 3rd – 31th October 2008. - At The National Gallery of Thailand, Choa-Fa Road, Bangkok.

- Contemporary art exhibition by Lecturers from Department of Printmaking, Painting and Sculpture, 2008.

Awards

- 3rd Prize Bronze Medal Sculpture 32nd National Exhibition of Art

- Winner prize, sculpture competition for architecture, Krung Thai bank public company limited Bangkok, 2003.

peerapong.indd 47peerapong.indd 47 6/20/2009 17:26:246/20/2009 17:26:24

ขอขอบคุณ

ผศ.สมพร รอดบุญรศ.พงศเดช ไชยคุตรผศ.ธัชชัย หงษแพงผศ.สุนทร สุวรรณเหมผศ.ชัยวุฒิ รวมฤดีกูลคุณฉลอง พินิจสุวรรณคุณมารุต ธรรมบุญเรืองคุณจิราวรรณ สุวรรณกลางคุณอำพร จิตนารินคุณอัษฎายุทธ อยูเย็น

สาขาวิชาประติมากรรม ภาควิชาภาพพิมพ จิตรกรรม และประติมากรรมคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม

การแสดงผลงานประติมากรรม รูปธรรม - นามธรรมโดย พีระพงษ ดวงแกว

ผูจัด: อาจารยพีระพงษ ดวงแกวออกแบบ: อาจารยชัยวุฒิ รวมฤดีกูล

คอมพิวเตอรกราฟก: กรรณิการ ศรีคำมูลถายภาพ: อาจารยพีระพงษ ดวงแกว

พิมพและแยกสี: บริษัท โชตนาพร้ินท จำกัด โทร. 053-225237

peerapong.indd 48peerapong.indd 48 6/20/2009 17:26:246/20/2009 17:26:24