refresh your memory thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 •...

60
ทบทวนความทรงจํา ทบทวนความทรงจํา โรงเรียนเกษตรกรเพื่อการจัดการศัตรูพืชดวยวิธีผสมผสาน

Upload: others

Post on 19-Mar-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ทบทวนความทรงจําทบทวนความทรงจํา โรงเรี

ยนเกษต

รกรเพ

ื่อการจัด

การศ

ัตรูพืช

ดวยวิ

ธีผสม

ผสาน

Page 2: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

คูมือเลมนี้จัดทําข้ึนโดยโครงการ IPM DANIDA (เรียบเรียงโดย Mr. Hein Bijlmakers) ขอขอบคุณบุคคลที่มีรายชื่อดังตอไปนี้สําหรบัความชวยเหลือในการรวบรวมขอมูลและตรวจทานเนื้อหาคูมือฉบับนี้ ดร.เฉลิม สินธุเสก คุณ หลักชัย มีนะกนิษฐ คุณ ศิริทรัพย เถาปฐม Mr. Andrew Bartlett Mr. Kevin Kamp คุณ มารุต จาติเกตุ Dr. Peter Ooi ขอความบางสวนของหนังสือเลมนี้นํามาจากคูมือการฝกอบรมและเอกสารการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (ดูเอกสารอางอิง หนา 59) ตุลาคม 2548

คําขอบคุณ

โครงการ “เสริมสรางความเขมแข็งใหเกษตรกรในการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานในพื้นที่ที่ใชสารกําจัดศัตรูพืชในปริมาณมาก” หรอื IPM DANIDA คือ โครงการความรวมมือระหวางรัฐบาลไทยและรัฐบาลเดนมารกโดยมีวัตถุประสงคการดําเนินงาน คือ การสงเสริมวิธีปฏิบัติในการทําการเกษตรดีที่เหมาะสมเพื่อปรับปรุงส่ิงแวดลอมและความปลอดภัยของเกษตรกร รวมถึงการคุมครองผูบริโภคใหไดรับความปลอดภัยจากอันตรายที่เกิดจากสารกําจัดศัตรูพืช ทานสามารถดูขอมูลเพิ่มเติมและเอกสารฉบับนี้ไดที่ www.ipmthailand.org

คูมือเลมนี้จัดทําข้ึนโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแหลงรวบรวมคําแนะนําตางๆสําหรับวิทยากรพี่เลีย้งในโรงเรียนเกษตรกรที่สําเร็จหลักสูตรการฝกอบรมเปนวิทยากรโดยมีระยะเวลาในการอบรมตลอดฤดูการเพาะปลูกถึงการเก็บเกี่ยวและยังสามารถใชเปนอุปกรณร้ือฟนความทรงจําถึงกระบวนการเรียนรูของเกษตรกร นอกจากนี้ยังไดรวบรวมขอมูลทางการปฏิบัติในการวางแผน การดําเนินงานและการประเมินผลโรงเรียนเกษตรกร หนังสือเลมน้ีมิไดมีจุดหมายในการใชเปนคูมือการอบรมใหแกวิทยากรใหมแตอยางใด

Page 3: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

• บทนําสําหรับผูกําหนดนโยบาย 4 • ขั้นตอนการดําเนินกิจกรรมโปรแกรมไอพีเอ็ม (IPM ) 5 • การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานคืออะไร? 6 • การควบคุมศัตรูพืชหรือการจัดการศัตรูพืช? 7 • หลักการของการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน 8 • แนวคิดพ้ืนฐานและสมมุติฐาน 10 • ขอดีของการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) 12 • ใช “AESA” แทน “ETL” 13 • โรงเรียนเกษตรกร คืออะไร? 16 • เหตุใดจึงตองฝกอบรมตลอดฤดูกาล? 18 • การแนะนําช้ีแจงโรงเรียนเกษตรกร 20 • การเตรียมโรงเรียนเกษตรกร 22 • กิจกรรมโรงเรียนเกษตรกร 24 • การวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร หรือ AESA 25 • วิธีการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร 26 • AESA: คําถามที่สามารถใชในระหวางการอภิปราย 27 • การศึกษาในระบบหรือการศึกษานอกระบบ? 28

สารบัญ • การจัดที่นั่งสําหรับการอบรมในโรงเรียนเกษตรกร 29 • วิทยากรพ่ีเลี้ยงและทักษะในการเปนวิทยากร 30 • อุปกรณการฝกอบรม 31 • การทดลองในแปลงปลูกพืช 32 • ตัวอยางการทดลองในแปลงปลูกพืช 33 • การบันทึกขอมูล 36 • หัวขอพิเศษ 37 • การทดสอบความรูโดยใชกลองลงคะแนน 38 • สวนแมลง 39 • วัตถุประสงคของการเรียนรู 40 • สิ่งที่เกษตรกรเรียนรูในโรงเรียนเกษตรกร 41 • ตัวชี้วัดคุณภาพของโรงเรียนเกษตรกร 54 • วันสาธิต 56 • การรายงานและวางแผนโรงเรียนเกษตรกร 57 • ช่ือยอและคํายอ 58 • เอกสารอางอิง 59

Page 4: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ทบทวนความทรงจํา หนา4

ในการดําเนินงานโรงเรียนเกษตรกรโดยใชการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานนั้นจําเปนตองมีวิทยากรพ่ีเลี้ยงผูมีประสบการณ เปนผูซึ่งมีพ้ืนฐานความรูในดานการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานอยางเพียงพอและยังตองมีความเขาใจเรื่องของพืชเปนอยางดีมีทักษะและทัศนคติที่ถูกตองในภาคปฏิบัติและสรางประสบการณในการเรียนรูรวมกันเพ่ือใหเกษตรกรนําความรูไปใชไดในชีวิตจริง

เจาหนาที่สงเสริมการเกษตรสวนใหญผานการฝกอบรมในลักษณะที่คอนขางเปนไปในรูปแบบการอบรมอยางเปนทางการโดยการฟงคําบรรยายในชั้นเรียนและเรียนรูทฤษฏีความจริงจากการอานหนังสือ ยังผลใหเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรดังกลาวมีแนวโนมที่จะฝกอบรมเกษตรกรในลักษณะเดียวกัน คือการสอนเกษตรกรดวยการบรรยายและใหขอมูลทางทฤษฎีพรอมกบัใหคําแนะนําในลักษณะการอธิบายต้ังแตข้ันตอนเริ่มตนจนถึงขั้นตอนสิ้นสุด

อันดับแรกสุดของการจัดต้ังโรงเรียนเกษตรกรจําเปนตองพัฒนาบุคคลผูที่จะทําหนาที่เปน “ครู หรือ วิทยากร(Teacher/Trainer)” ใหสําเร็จหลักสูตร “วิทยากรพี่เลี้ยง (Facilitator)” เสียกอน จากประสบการณอันยาวนานในหลายประเทศแสดงใหเห็นวาการจัดตั้งโรงเรียนเกษตรกรจะสามารถบรรลุผลเปาหมายไดก็ตอเมื่อมีการอบรมหลักสูตร “การฝกอบรมเปนวิทยากร” หรือTOT ที่มีระยะเวลาการอบรมตลอดฤดูกาลเพาะปลูกเทานั้น (Season long Training) และหลักสูตรนี้ปกติจะใชเวลาสามเดือนหรือกวานั้นทั้งนี้เพ่ือใหครอบคลุมตลอดวงจรของการปลูกพืชนั้นๆ

การฝกอบรมตลอดฤดูกาลเพาะปลูก (ต้ังแตเพาะเมล็ดจนถึงเก็บเกี่ยว) เพ่ือเปดโอกาสใหผูเขารับการอบรมไดรับความรูและความเขาใจเรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานในทุกระยะการเจริญเติบโตของพืชอยางลึกซึ้งยิ่งขึ้น และมีเวลาเพียงพอในการพัฒนากระบวนการที่เหมาะสมพรอมทั้งสามารถฝกทักษะตางๆที่จําเปน ผูเขารับการอบรมเปนวิทยากรจะตองฝกฝนทักษะใหมๆเหลานี้กับเกษตรกรจริงหลายๆครั้ง ภายใตการชี้แนะจากวิทยากรพ่ีเลี้ยงผูมีประสบการณ ความรูและทักษะที่ตองใชนี้เปนสิ่งที่ไมสามารถเรียนรูไดในหลักสูตรระยะสั้นเพียงวันหรือสองวันและไมสามารถเรียนรูไดจากหนังสืออยางแนนอน

ดังนั้นหนังสือเลมนี้จึงมิไดมีความมุงหมายใหนําไปใชเปนคูมือในการอบรมสําหรับผูเปนวิทยากรใหม แตจัดทําข้ึนเพ่ือเปนแหลงรวบรวมคําแนะนําเพื่อรื้อฟนความจําแกผูที่เปนวิทยากรพ่ีเลี้ยง (ผูซึ่งสําเร็จการฝกอบรมวิทยากรพ่ีเลี้ยงตลอดฤดูกาลเพาะปลูกพืช) เนื้อหาประกอบดวยขอมูลเชิงปฏิบัติและคําแนะนําสําหรับการวางแผนงาน, การดําเนินงานและการประเมินผลโรงเรียนเกษตรกร

บทนําสําหรับผูกําหนดนโยบาย

Page 5: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

หนา 5 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

การฝกอบรมเปนวิทยากร (TOT)

โรงเรียนเกษตรกร(FFS)

กิจกรรม

ชุมชน

การฝกอบรมวิทยากรพ่ีเลี้ยงตลอดฤดูกาลเพาะปลูกใหเกิดความเชี่ยวชาญ

หลักสูตรพื้นฐานการปลูกพืช การจัดการกลุม วิธีการคนควาวิจัย

กลุม IPM การเรียนจากเกษตรกรสูเกษตรกร การแสดงความคิดเห็นของเกษตรกร

ข้ันตอนการดาํเนินกิจกรรมโปรแกรมไอพีเอ็ม (IPM )

หลักการ การจัดการศัตรูพืชดวยวิธีผสมผสาน

(IPM)

การวิเคราะห

ปจจัยการผลิต

ตรวจแปลงอยางสมํ่าเสมอ

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย

เกษตรกรเปนผูเชี่ยวชาญ

ควบคุมโดย

วิธีเขตกรรม

ปลูกพืชทีแ่ข็งแรง

IPM

ควบคุมโดย

ชีววีธี

อนุรักษ

ศัตรูธรรมชาติ

Page 6: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ทบทวนความทรงจํา

คําวา “ศัตรูพืช” มักใชกับสิ่งมีชีวิตตางๆที่สรางความเสียหายหรือรบกวนใหแกมนุษย สัตวเลี้ยงและพืชผลทางการเกษตรหรือทรัพยสิน อาทิแมลง ไร ไสเดือนฝอย หนู และ นก อยางไรก็ดีการกลาวในวลีเชน “การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน” และ “การควบคุมศัตรูพืช” นั้น คําวาศัตรูพืชมีการใชในความหมายกวางๆ ซึ่งหมายถึงสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่อาจสรางความเสียหาย เชนเชื้อรา เช้ือแบคทีเรีย เช้ือไวรัสและสิ่งมีชีวิตคลายไวรัส และวัชพืช

การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานคืออะไร? หนา 6

นิยามของ “ศตัรูพืช”

กอนอื่นใหพิจารณานิยามของคําวา “การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน” และ นิยามของคําวา “ศัตรูพืช” โดยความหมายดังตอไปน้ี

การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน* หมายถึง การ

พิจารณาวิธีควบคุมศัตรูพืชทั้งหมดที่มีอยูอยางรอบคอบ และนํามาผสมผสานกันเปนวิธทีี่เหมาะสมเพื่อใชในการลดปริมาณศัตรูพืชโดยใหมีระดับการใชสารกําจัดศัตรูพืชหรือการจัดการใดๆใหนอยที่สุดเมื่อมีเหตุผลอันควร รวม ทั้งลดความเสี่ยงที่กอใหเกิดอันตรายแกมนุษย และสิ่ง-

แวดลอมใหมีนอยที่สุด ไอพีเอ็ม (IPM) เนนในเรื่องของการปลูกพืชที่แข็งแรงโดยการรบกวนระบบนิเวศเกษตรใหนอยที่สุด และสนบัสนุนกลไกการควบคุมโดยศัตรูธรรมชาติ

* แหลงที่มา: จรรยาบรรณสากลวาดวยการจําหนายและใชสารกําจัดศัตรูพืช (ฉบับแกไข) (ลงมติยอมรับในการประชุมสมัยที่หนึ่งรอยยี่สิบสามของสภาองคการอาหารเกษตรแหงสหประชาชาติ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๕)

นิยามของ “ไอพีเอ็ม” (IPM)

Page 7: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

หนา 7 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

“การควบคุมศัตรูพืช” และ “การจัดการศัตรูพืช” มีความแตกตางกันอยางไร?

หลายปมาแลวการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานไดเริ่มดําเนินการขึ้นโดยใชชื่อวา “การควบคุมศัตรูพืชแบบผสมผสาน”ซึ่งคําวา“ควบคุม” นั้นกลาวถึงการฆาศัตรูพืช(โดยปรกติวิธีคือการใชสารสังเคราะห) ซึ่งไมคํานึงถึงการปองกันปญหาศัตรูพืชแตอยางใด “การควบคุม” ศัตรูพืชหมายถึงการแกปญหาภายหลังที่ปญหาไดเกิดข้ึนแลว (วิธีการรักษา) ซึ่งโดยทั่วไปการแกปญหาจะไมสงผลในระยะยาว ปญหาศัตรูพืชจะกลับมาเกิดขึ้นอีกครั้ง

ดังนั้น ตอมาจึงเปลี่ยน คําวา “ควบคุม” เปน “การจัดการ” เปาหมายของโปรแกรม “การจัดการ” ศัตรูพืชคือการปองกันไมใหศัตรูพืชสรางความเสียหายตอพืชผลทางการ เกษตร ดังนั้นการจัดการศัตรูพืชจึงไมจําเปนตองหมายถึง

การควบคุมศัตรูพืช หรอื การจัดการศัตรพืูช? การกําจัดศัตรูพืช หากแตเปนการปองกันศัตรูพืชไมใหเพ่ิมจํานวนจนถึงจุดที่จะกอใหเกิดปญหา

วิธีการไอพีเอ็ม(IPM)นั้น การตัดสินใจในการจัดการกับศัตรูพืชจะยึดตามหลักของความจําเปนและประสิทธิผลเสมอ มิใชการปฏิบัติตามตารางกําหนดการ หัวใจหลักของไอพีเอ็มคือการวางแผนลวงหนา ติดตามสถานการณ เพ่ือคาดการณลวงหนา และเตรียมการณกอนที่ปญหาจะเกิดขึ้น

สิ่งสําคัญที่ตองตระหนักคือไอพีเอ็ม (I P M) มิไดมี

ความหมายเพียงแคการจัดการกับศัตรูพืช แตยังหมายรวมถึงการจัดการระบบนิเวศเกษตรทั้งระบบใหอยูในสมดุลย และอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ทําการเกษตร

Page 8: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

หลักการของการจัดการศัตรพืูชแบบผสมผสาน ทบทวนความทรงจํา หนา 8

พืชที่แข็งแรงสมบูรณจะมีความสามารถทนทานตอการทําลายของศัตรูพืชและโรคพืช ปจจัยตางๆที่มีผลตอความสมบูรณแข็งแรงของพืชมีดังตอไปนี้

• สายพันธุดี • เมล็ดพันธุมีความสมบูรณ และตนกลา

แข็งแรง • การเตรียมพ้ืนที่เพาะปลูก • การเวนระยะปลูกใหถูกตอง • การปรับปรุงดิน • การจัดการปุย • การจัดการน้ํา • การปลูกพืชหมุนเวียน

การปลกูพืชใหแข็งแรงสมบูรณ

ในบางครั้งเราจะใชคําวา “ผูปกปอง” แทนคําวา “ศัตรูธรรมชาติ” เนื่องจากศัตรูตามธรรมชาติของศัตรูพืชนั้นทําหนาที่อารักขาพืชเกษตรกรที่ทําการเกษตรดวยวิธีการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) จะมีลักษณะดังนี้:

• รูจักและเขาใจบทบาทของผูปกปองโดยการสํารวจระบบนิเวศเกษตรอยางสม่ําเสมอ

• หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีที่เปนพิษที่จะฆาศัตรูธรรมชาติที่ควบคุมศัตรูพืช

เขาใจบทบาทและอนุรักษสิ่งมีชีวิตที่มีประโยชน

Page 9: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ในระบบการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน เกษตรกรมีการจัดการดูแลพืชโดยอาศัยขอมูลสถานการณจริงในแปลง เกษตรกรจะไมใช “วิธีการฉีดพนตามปฏิทินหรือตารางที่กําหนด” ในการควบคุมศัตรูพืช ดังนั้นเกษตรกรจะปฏิบัติดังนี้:

• ติดตามสถานการณแปลงปลูกอยางนอยสัปดาหละครั้ง( สํารวจดิน น้ํา ตนพืช ศัตรูพืช ศัตรูธรรมชาติ ฯลฯ)

• ทําการตัดสินใจโดยใชขอมูลสถานการณในแปลงปลูก • ปฏิบัติการทันทีเมื่อจําเปน (เชน เก็บไขหนอน ถอนพืชที่

ถูกทําลาย ฯลฯ)

หลักการของการจัดการศัตรพืูชแบบผสมผสาน หนา 9 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

เกษตรกรจะตองทําการตัดสินใจจัดการพืชของตนแบบรายวัน ดังนั้นเกษตรกรไอพีเอ็มตองเรียนรูที่จะทําการตัดสินใจโดยอาศัยการสํารวจแปลงและการวิเคราะหสถานการณแปลงปลูกพืช แตเนื่องจากสภาวะของพื้นที่เกษตรมีความเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาและยังมีเทคโนโลยีใหมๆใหเลือกใช เกษตรกรจึงจําเปนตองพัฒนาทักษะและความรูของตนเองอยางตอเนื่อง:

• เกษตรกรสามารถปรับปรุงวิธีทําการเกษตรดวยการทดลองและฝกปฏิบัติ

• เกษตรกรสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลความรูระหวางเกษตรกรดวยกัน

เกษตรกรกลายเปนผูเชี่ยวชาญในการจัดการพืช

สํารวจแปลงอยางสม่ําเสมอ

Page 10: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

เมื่อเราพูดถึงไอพีเอ็ม (IPM)นั้น เราควรเขาใจในแนวคิดพ้ืนฐานและขอสมมุติฐานบางประการดังตอไปนี้:

• ไอพีเอ็ม(IPM) เปนกระบวนการของการตัดสินใจและการทําเกษตรซึ่งไดรับการพัฒนารูปแบบโดยอาศัยองคความรูทางดานระบบนิเวศนที่มีมากข้ึน และทักษะการสํารวจแปลง ไอพีเอ็ม (IPM)จึงมิใช "ชุดเทคโนโลยีสําเร็จรูป" ที่ใหเกษตรกร "รับและนําไปใชได"

• ทักษะและแนวคิดของไอพีเอ็ม (IPM) ไดจากการเรียนรู, ปฏิบัติ และหารือกันในแปลงปลูกพืชโดยเสมือนวาแปลงปลูกพืชนั้นเปนหองเรียน พืชและศัตรูพืชเปนอุปกรณในการฝกอบรม หลีกเลี่ยงหองเรียนปรับอากาศ และการเรียนการสอนดวยสื่ออิเล็กโทรนิคส เชน พาวเวอรพอยท ตองเรียนรูในแปลงปลูกพืช

• หลักสูตรฝกอบรมระยะยาวตลอดฤดูกาลเพาะปลูกทําใหไดเห็นถึงพัฒนาการและการจัดการพืช แมลง โรคพืช และวัชพืช การฝกอบรมไอพีเอ็ม (IPM) จะตองดําเนินการตลอดทุกระยะการเจริญเติบโตของพืช

แนวคิดพื้นฐานและสมมตุิฐาน ทบทวนความทรงจํา หนา 10

• ภูมิปญญาทองถิ่นเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม พันธุพืช ศัตรูพืช ฯลฯ มีบทบาทสําคญัสําหรับประกอบการตัดสินใจ เกษตรกรจําเปนตองกระตือรือลนในการมีสวนรวมและแบงปนประสบการณในระหวางการฝกอบรมเพื่อบรรลุผลและมีประสิทธิผลสูงสุด

• วิทยากรพ่ีเลี้ยงจะตองไมทําการสอนโดยการบรรยาย แตจะเปนการอํานวยความสะดวกในกระบวนการเรียนรู วิทยากรพี่เลี้ยงไมควรชี้นํา หรือใหคําแนะนําเกษตรกร แตจะจัดการใหเกิดการเรียนรูจากประสบการณการปฏิบัติเพื่อใหเกษตรกรสามารถพิสูจนวิธีการไอพีเอ็ม เกษตรกรจะเรียนรูดวยตัวเองวาสิ่งใดเปนประโยชน และสิ่งใดไมเปนประโยชน

• วิทยากรใชวิธีการทํางานที่ใหความเคารพตอกลุมผูเขารับการอบรมซึ่งมักจะมีผูทีม่ีวัยวุฒิหรือประสบการณมากกวาตน

Page 11: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

เนื้อหาการฝกอบรมไอพีเอ็ม (IPM) สําหรับเจาหนาที่สงเสริมและเกษตรกรนั้นมิไดจํากัดอยูเพียงแค "วิธีการอารักขาพืช" (เชนวิธีกล ชีววิธี เขตกรรม หรือสารเคมี) แตยังรวมถึงวิธีดังตอไปน้ี:

• พัฒนาการพืช และกายวิภาคของพืช • วิธีทําการเกษตรเพ่ือใหไดพืชที่แข็งแรงและการ

ผลิตที่ไดผลกําไร • พันธุพืชมีผลตอการจัดการศัตรูพืช • การจัดการความอุดมสมบูรณของดิน • ชีววิทยาของแมลงศัตรูพืช โรคพืช และวัชพืช • ศัตรูธรรมชาติของแมลงและโรคพืช • ทักษะการสํารวจแปลงปลูกพืช • สารกําจัดศัตรูพืช ประเด็นเร่ืองสุขภาพ และการ

สัมผัสสารเคมี รวมไปถึงประเด็นสิ่งแวดลอม • ทักษะการจัดการดานเศรษฐกิจ

หนา 11 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

Page 12: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

เรามักจะไดยินคําถามวา ประโยชนของไอพีเอ็ม (IPM) คืออะไร? ขอใหคิดถึงสิ่งเหลานี้

ขอดขีองการจดัการศัตรูพชืแบบผสมผสาน (IPM) ทบทวนความทรงจํา หนา 12

ประโยชนของไอพีเอ็ม (IPM)

ลดการปนเปอนสารเคมีในสิ่งแวดลอม

ลดการใชสารกําจัดศัตรูพืช

พืชที่เพาะปลูกมีความแข็งแรงมากขึ้น ไดปริมาณผลผลิตที่มีคุณภาพและปริมาณมากขึ้นอยางสม่ําเสมอ

ลดความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีของเกษตรกร

ลดการปนเปอนสารเคมีตกคางในพืชผล

ใชทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ลดคาใชจายปจจัยการผลิต

Page 13: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ไอพีเอ็ม (IPM) มิไดเปนแนวความคิดตายตัว แตไดมีพัฒนาการอยูตลอดเวลาที่ผานมา และยังคงมีการปลี่ยนแปลงไปตามประสบการณใหมๆที่ถูกใชเพ่ือปรับแนวความคิดไปเรื่อยๆ

ระดับเศรษฐกิจ (ETL) เคยเปนสวนหนึ่งของไอพีเอ็ม (IPM) เมื่อหลายปที่ผานมาแตไอพีเอ็ม (IPM) ในปจจุบันใชวิธีการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร(AESA) แทน ซึ่งเกษตรกรทําการตัดสินใจจากการสํารวจสังเกตในขอบเขตแงมุมที่กวางยิ่งข้ึน

แตนาเสียดายวาแมในขณะนี้ยังมี“ผูเช่ียวชาญ” หลายคนยังคงแนะนําเกษตรกรในการใชระดับเศรษฐกิจ (E T L ) โดยบอกวาเปนวิธีการแบบไอพีเอ็ม (IPM) ซึ่งในความเปนจริงแลวมีหลายเหตุผลที่ไมใช ETL

ปญหาหนึ่งของ E T L ก็คือตัวแปรเสริมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาและบางครั้งก็ไมสามารถคาดการณไดเนื่องจากETL คํานวณจาก:

1. คาใชจายในการจัดการ (บาทตอไร) 2. ราคาของผลผลิต (บาทตอกิโลกรัม) 3. ความเสียหายหรือผลผลิตที่คาดวาจะเกิดข้ึน

(กิโลกรัมตอไร) คาใชจายในการจัดการนั้นสามารถประมาณไดก็จริง แตตามปกติแลวขณะที่พืชผลอยูในแปลง เราจะไมสามารถทราบราคาตอกิโลกรัมที่จะขายไดเมื่อเก็บเกี่ยว

ความเสียหายหรือความสูญเสียที่เกิดจากปริมาณของประชากรแมลงในระดับที่แนนอนเปนสิ่งที่ไมสามารถคาดการณไดเลย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยางเชน พันธุพืช สภาพอากาศ ความอุดมสมบูรณของน้ํา ธาตุอาหาร ระยะการเจริญเติบโตของพืช ฯลฯ นอกจากนี้แลวยังข้ึนอยูกับปริมาณและประสิทธิภาพของศัตรูธรรมชาติ ตัวอยาง เชนมีความแตกตางอยางมากระหวาง “ตนถั่วที่มีเพลี้ยออน 20 ตัว” กับ “ตนถั่วที่มีเพลี้ยออน 20 ตัวและตัวออนของแมลงวันดอกไม (ตัวห้ํา) 1 ตัว”

ใช “AESA” แทน “ETL” หนา 13 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

สิ่งนี้คือเหตุผลวาทําไม ETL ที่ไดรับการแนะนําในหนังสือคูมือสําหรบัเกษตรกรไมสามารถนําไปปรับใช ไดในแปลงเกษตรกร เกษตรกรไมสามารถตัดสินใจโดยใชวิธีงายๆจากการนับศัตรูพืชเทานั้น แตเกษตรกรจะตองพิจารณาองคประกอบอื่น (ระบบนิเวศของพืช ระยะการเจริญเติบโตของพืช ศัตรูธรรมชาติ สภาพอากาศรวม ฯลฯ) รวมทั้งสภาพการณทางดานเศรษฐกิจ และสังคมของเกษตรกรเองกอนที่จะสามารถตัดสินใจจัดการแปลงปลูกไดอยางถูกตอง

สิ่งสําคัญที่ตองพิจารณาอีกประการหนึ่งคือ การจัดการพืชที่ดีนั้นไมไดข้ึนอยูกับการควบคุมศัตรูพืชเพียงอยางเดียว หากแตอยูที่การปองกันศัตรูพืชดวย ระยะเวลาที่ผานมาผูเชี่ยวชาญของไอพีเอ็ม (IPM) ตระหนักถึงขอจํากัดของ ETL และคอยๆพัฒนาสูวิธีการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร (AESA) ซีง่เปนเครื่องมือที่ใชในการตัดสินใจที่มีความยืดหยุนมากยิ่งขึ้น

Page 14: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ทบทวนความทรงจํา หนา 14

ไอพีเอ็ม (IPM)สมัยใหม

ไดเลิกใชคา ETL แต

หันมาใชการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร (AESA)

ระดับเศรษฐกิจ หรือ ETL การวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร หรือ AESA

• คาใชจายในการควบคุม • มูลคาของผลิตผล (ประมาณการ) • รายไดที่สูญเสียอันเนื่องมาจากศัตรูพืช

(ประมาณการ)

• ระยะการเจริญเติบโตของพืช • สภาพอากาศ • ปจจัยตางๆในการพัฒนาของพืช

(รวมถึงความสามารถในการชดเชย) • ชนิดและจํานวนของแมลงศัตรูพืช • ชนิดและปริมาณของโรคพืช • ชนิดและจํานวนของศัตรูธรรมชาติ • ชนิดและปริมาณของชีวภัณฑที่ใชควบคุมโรคพืช

(หากมี) • ชนิดและจํานวนวัชพืช • แหลงน้ํา (การใหน้ําและ การระบายน้ํา) • ความอุดมสมบูรณของดิน • การใหปุย • กิจกรรมที่ทําในแปลงปลูกพืชนับจากสปัดาหกอน • สิ่งอื่นๆ ที่สํารวจพบ

Page 15: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

หนา 15 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

Page 16: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

โรงเรียนเกษตรกร หรือ FFS คือ กิจกรรมการฝกอบรมตลอดฤดูกาลเพาะปลูกโดยมีการฝกอบรมในแปลงปลูกพืช เนื่องจากเปนกิจกรรมที่ดําเนินการตลอดฤดูกาลเพาะปลูกจึงครอบคลุมทุกระยะพัฒนาการของพืชรวมทั้งการปฏิบัติจัดการที่เกี่ยวของทั้งหมด กระบวนการฝกอบรมจะใชวิธีใหผูเรียนรูเปนศูนยกลาง โดยการมีสวนรวม และอาศัยกระบวนการเรียนรูจากการหาประสบการณการปฏิบัติจริง

องคประกอบพ้ืนฐานของโรงเรียนเกษตรกรสําหรับการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานมีดังนี้

• ในหนึ่งโรงเรียนเกษตรกรจะประกอบไปดวยกลุมเกษตรกรจํานวน ๒๐ -๒๕ คน

• โรงเรียนเกษตรกร เปนการเรียนในแปลงปลูกพืชและมีระยะเวลาอยางนอยหนึ่งฤดูกาลเพาะปลูก(ต้ังแตเพาะเมล็ดไปจนถึงเก็บเกี่ยว)

• เกษตรกรสมาชิกจะพบกันเปนประจําสัปดาหละหนึ่งครั้งตลอดฤดูกาลเพาะปลูก

โรงเรียนเกษตรกรคืออะไร? ทบทวนความทรงจํา หนา 16

• ในโรงเรียนเกษตรกร เกษตรกรเปนผูดําเนินการศึกษาเปรียบเทียบระหวางวิธีไอพีเอ็ม(IPM) และวิธีแบบเกษตรกรทั่วๆไป เกษตรกรจะมีแปลงปฏิบัติตามวิธีไอพีเอ็ม(IPM) และแปลงปฏิบัติตามวิธีเกษตรกร

• อีกทั้งในโรงเรียนเกษตรกรจะตองมีการทําแปลงศึกษาเฉพาะเรื่อง ซึ่งหัวขอที่ศึกษาขึ้นอยูกับปญหาที่มีอยูในพื้นที่นั้น

• โรงเรียนเกษตรกรจะมีการกําหนดหัวขอเรียนรูพิเศษซึ่งเกษตรกรเปนผูเลือกเรื่องที่ตนสนใจ

• การพบปะแตละคร้ังอยางนอยที่สุดจะตองมีกิจกรรมการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร(AESA)แปลงปลูกพืชและปดทายดวยการตัดสินใจรวมกันในจัดการแปลงปลูกของสัปดาหนั้นๆ

• วิธีการศึกษาตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกรคือการเรียนรูจากประสบการณ การเรียนรูแบบมีสวนรวม ศูนยกลางอยูที่ผูเรียน และยึดหลักการศึกษานอกระบบ

• โรงเรียนเกษตรกร 1 กลุม จะตองมีวิทยากรพ่ีเลี้ยงอยางนอยหนึ่งคนทําหนาที่อํานวยความสะดวกในการเรียนรูใหเกิดประสบการณ มิใชการสอนใหทําหรือการสงมอบคําสั่งจากระดบับนสูระดับลาง

Page 17: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

หนา 17 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

การฝกอบรมไอพีเอ็ม (IPM) สําหรับเกษตรกร

เกษตรกรกระตือรือรนเขามามีสวนรวม

เกษตรกรเรียนรูจากเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)รายอื่น การมีสวนรวม

การปฏิบัติ ไมมีการฝกอบรมในชั้นเรียน ฝกอบรมในแปลงปลูกพืช

ตลอดฤดูกาลเพาะปลูก วิทยากรพ่ีเลี้ยงเปนผูใหคําแนะนํา

การพบปะอยางสม่ําเสมอ

ออกแบบการเรียนเพื่อแกไขปญหา เรียนโดยการปฏิบัติ

เกษตรกรเปนผูกําหนดหัวขอเรียนรู

เรียนรูจากการทดลองในแปลงปลูกพืช

เขาใจบทบาทของแมลงที่เปนประโยชน

การเรียนรูเก่ียวกับระบบนิเวศแปลงปลูกพืช

การแกไขตามสภาพปญหา

การพบปะกลุม

Page 18: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

โรงเรียนเกษตรกรเปนการฝกอบรมตลอดฤดูกาลเพาะปลูกดวยเหตุผลดังตอไปน้ี

• แตละชวงระยะการเจริญเติบโตของพืชมีปญหาศัตรูพืชที่แตกตางกัน จึงจําเปนตองฝกอบรมใหครอบคลุมครบทุกระยะพืชอยางนอยหนึ่งฤดูกาลเพาะปลูก

• แตละชวงการเจริญเติบโตของพืชมีความตองการที่แตกตางกัน อาทิความตองการน้ํา ปุย วัสดุคลุมดิน การกําจดัวัชพืช การถอนแยก การตัดแตง ฯลฯ ดังนั้นการจัดการแปลงจึงข้ึนอยูกับพัฒนาการของพืช

• กระบวนการบางอยางจําเปนตองมีการเฝาสังเกตหรือสํารวจ เชนความเคลื่อนไหวของประชากรแมลง การระบาดของโรคและการชดเชยของพืช ฯลฯ ซึ่งจะคอยๆมีการพัฒนาอยูตลอดเวลาต้ังแตปลูกถึงเก็บเกี่ยว

• ผลของการตัดสินใจจัดการแปลงที่ไดกระทําไปในแตละขั้นตอนของการเจริญเติบโตของพืชนั้น สามารถสังเกตไดในชวงถัดไปของการเติบโตของพืชเทานั้น และจําเปนอยางย่ิงที่จะตองมีการติดตามผลของการจัดการแปลงเมื่อเก็บเกี่ยว (เชน ปริมาณและคุณภาพของผลผลิต ปจจัยทางดานเศรษฐกิจ)

เหตุใดจึงตองฝกอบรมตลอดฤดูกาล? ทบทวนความทรงจํา หนา 18

การฝกอบรมตลอดฤดูกาล

ตั้งแตเพาะเมล็ดจนถึงเก็บเกี่ยว

Page 19: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

หนา 19 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

การฝกอบรมเพียงหนึ่งฤดูกาลสามารถครอบคลุมทุกระยะการเจริญเติบโตของพืชได แตปญหาศัตรูพืชที่เกิดขึ้นจะผันแปรไปตามฤดูกาล พืชผักที่เพาะปลูกในชวงที่มีอากาศแหงและเย็น (พฤศจิกายน-มกราคม) มีปญหาศัตรูพืชไมเหมือนกับพืชที่ปลูกในชวงที่มีอากาศรอนและแหง (มีนาคม-พฤษภาคม) หรอืชวงฤดูฝน(มิถุนายน-กันยายน) ดวยเหตุนี้เองการฝกอบรมจึงควรดําเนินการมากกวาหนึ่งฤดูเพ่ือใหเกิดความชํานาญกับพืชเพาะปลูกในทุกแงมุม ดังนั้นจึงแนะนําใหดําเนินการโรงเรียนเกษตรกรในฤดูที่สองหรือฤดูที่สาม เมื่อเกษตรกรมีประสบการณในกระบวนการเรียนรูมากขึ้นบทบาทของวิทยากรพ่ีเลี้ยงจะคอยๆลดลงในการดําเนินการโรงเรียนเกษตรกรชวงหลัง

หนึ่งฤดูกาลเพาะปลูกหรือมากกวานั้น?

Page 20: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

เมื่อมีการคัดเลือกกลุมเกษตรกรเพื่อเริ่มโรงเรียนเกษตรกรแลว ขั้นแรกคือจัดใหมีการประชุมแนะนําช้ีแจงวัตถุประสงควิธีการดําเนินการ และในระหวางการประชุมนี้วิทยากรพี่เลี้ยงและเกษตรกรจะเริ่มทําความรูจักซึ่งกันและกันพรอมกับแลกเปลี่ยนขอมูลดังตอไปนี้

• แนะนําแนวคิดการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน(IPM) • อธิบายกระบวนการฝกอบรม ซึ่งจะเปนรูปแบบการฝกอบรมที่เกษตรกรไมเคยมีประสบการณมากอน

◊ การมีสวนรวม ◊ การฝกปฏิบัติ ◊ การเรียนรูดวยการลงมือทํา ◊ การเรียนรูดวยการทดลอง

• อธิบายการเปรียบเทียบแปลงปลูกวิธีไอพีเอ็ม (IPM) และแปลงปลูกตามวิธีของเกษตรกร* ◊ การจัดการแปลงปลูกวิธีไอพีเอ็ม(IPM) จะทําการตัดสินใจในโรงเรียนเกษตรกร (โดยใชการวิเคราะห

ระบบนิเวศเกษตร - AESA) ◊ การจัดการแปลงปลูกตามวิธีของเกษตรกรจะใชวิธีปฏิบัติเชนเดียวกับของเกษตรกรในพื้นที่

• ศึกษาวาปจจุบันเกษตรกรมีวิธีการจัดการพืชกันอยางไร? ◊ จัดทําปฏิทินการเพาะปลูก ◊ รวบรวมขอมูลพ้ืนฐาน:

∗ ขนาดของแปลงปลูกพืช ∗ ชนิดพืช /พันธุพืช ∗ ปจจัยการผลิต (สารกําจัดศัตรูพืช ปุย และตนทุนคาแรงงาน) ∗ ผลผลิต (ผลผลิตไดกี่กิโลกรัม/ไร ราคาขายกี่บาท/กิโลกรัม)

การแนะนําชี้แจงโรงเรียนเกษตรกร ทบทวนความทรงจํา หนา 20

* การเปรียบเทียบแปลงไอพีเอ็ม (IPM) กับแปลงเกษตรกรเปนสิ่งที่จําเปนในโรงเรียนเกษตรกรที่เกษตรกรผูเขาอบรมมีการใชสารกําจัดศัตรูพืชในปริมาณมาก อยางไรก็ตามบางครั้งในโรงเรียนเกษตรกรอาจมีผูเขาอบรมที่ไมไดใชสารกําจัดศัตรูพืชแตอยางใด เชน โรงเรียนเกษตรกรที่มีเปาหมายสอนสตรีในชนบทใหปลูกผักเพ่ือบริโภคในครัวเรือน ดังนั้นโรงเรียนเกษตรกรลักษณะนี้จะมีเพียงแปลงไอพีเอ็ม (IPM)เทานั้น ไมตองมีแปลงปลูกวิธีเกษตรกร แตแนนอนวาจะตองมีแปลงทดลองอื่นๆ อีกหลายแปลงเพื่อใหเกิดการเรียนรูเพ่ิมเติมมากขึ้น

Page 21: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

• หารือเกี่ยวกับการทดลองที่สามารถทําได (โดยมาจากปญหาของเกษตรกร)

• เริ่มวางแผนการทดลองขนาดเล็ก ตัวอยางเชน: ◊ เปรียบเทียบพันธุพืช ◊ ทดลองการใหปุย ◊ ใชสารชีวภาพกําจัดศัตรูพืช ◊ ทดลองการชดเชยของพืช ◊ ฯลฯ

• ทําขอตกลงรวมกับเกษตรกรในการเขารวมฝกอบรมโรงเรียนเกษตรกร เง่ือนไขตางๆ และพูดคุยเกี่ยวกับความคาดหวังของเกษตรกร

• หารือในเร่ืองของการดําเนินการ ◊ แปลงที่จะใชเปนแปลงไอพีเอ็ม (IPM) และ แปลง

ที่จะใชเปนแปลงเกษตรกร ◊ มีเคร่ืองดื่มและของวางในระหวางการประชุม

หรือไม? และใครคือผูรับผิดชอบ? ◊ ตกลงเรื่องสถานที่และเวลาพบกลุม พรอมขอตกลง

มาพบกลุมตรงตามกําหนดเวลา • ทุกคนไปดูและคัดเลือกพ้ืนที่ทีจ่ะใชเปนแปลงไอพีเอ็ม

(I P M ) และสถานที่ทีจ่ะใชในการพบกลุมโรงเรียนเกษตรกร

• ในการประชุมครั้งแรกนี้ควรจัดใหมีกิจกรรมกลุมสัมพันธ หรือเลนเกมสสลายกลุม เพ่ือสรางความคุนเคย เกิดบรรยากาศความเปนกันเองในกลุม

หนา 21 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

Page 22: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

การเปนวิทยากรพี่เลี้ยงโรงเรียนเกษตรกร ทานตองมีการเตรียมตัวลวงหนาสําหรับแตละครั้งที่มีการอบรม ในกรณีที่มีวิทยากรพ่ีเลี้ยงมากกวาหนึ่งคนควรมีการประชุมหารือวางแผนเพื่อเตรียมการและแบงหนาที่ดังนี้:

• เตรียมแผนการสําหรับการอบรมโรงเรียนเกษตรกรครั้งตอไป ◊ วางแผนกิจกรรมที่ทําเปนประจํา

∗ เตรียมการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร (AESA) คร้ังตอไป

∗ สรุปขอมูลของสปัดาหที่ผานมา ◊ หัวขอพิเศษ (เกษตรกรเปนผูกําหนดหัวขอในสัปดาห

ที่ผานมา) ∗ เตรียมความพรอมของตนเอง ∗ อุปกรณในการฝกอบรม ∗ เชิญวิทยากรอื่นมาชวยหากจําเปน

◊ วางแผนกิจกรรม ∗ ขอมูลความเปนมา ∗ วัตถุประสงค ∗ เวลาที่ตองใช ∗ อุปกรณในการฝกอบรม ∗ ขั้นตอนที่ตองติดตาม

การเตรียมโรงเรียนเกษตรกร ทบทวนความทรงจํา หนา 22

• เตรียมอุปกรณสําหรับการอบรมครั้งตอไป ◊ กระดาษ, ดินสอ, ดินสอส ี และกระดาษ

ฟาง ◊ วัสดุอุปกรณสําหรับการทดลอง ◊ กับดัก, สวิงจับแมลง และ แวนขยาย ◊ สารชีวภัณฑกําจัดศัตรูพืช ◊ ฯลฯ (ดูหนา 31)

• เตรียมเอกสารที่ตองใชในการอบรมครั้งตอไป

◊ คูมือระบบนิเวศ ◊ คูมือจําแนกโรคและแมลง ◊ โปสเตอร ◊ ฯลฯ

• จัดเตรียมเร่ืองอื่นๆ ◊ อาหารวาง ◊ สถานที่พบกลุม ◊ แผนปาย ◊ ฯลฯ

Page 23: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

หนา 23 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

การเตรียมการสาํหรับการอบรมโรงเรียนเกษตรกรนั้น วิทยากรพี่เลี้ยงสามารถใชประโยชนจากหนังสือคูมือนิเวศวิทยาซึ่งมีอยูหลายประเภท คูมือเหลานี้ไดนําเสนอขอมูลที่มีประโยชนและแบบฝกหัดที่สามารถนําไปใชกับเกษตรกรได นอกจากนี้คูมือการจาํแนกแมลงพรอมรูปภาพประกอบยังถือเปนอุปกรณชวยในการจดจําทั้งศัตรูพชืและศัตรูธรรมชาติอีกดวย

Page 24: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

กิจกรรมโรงเรยีนเกษตรกร การอบรมโรงเรียนเกษตรกรตามแบบฉบบันั้นจะใชเวลา ๓ ถึง ๔ ช่ัวโมง ตามกําหนดการดังตอไปนี้:

• บทนํา ◊ สรุปกิจกรรมที่ไดทําไปในสัปดาหกอน

และนําเสนอกิจกรรมของวันนี้ • ลงสํารวจดูแปลงปลูกพืช

◊ แปลงไอพีเอ็ม (IPM) ◊ แปลงเกษตรกร ◊ แปลงศึกษาเฉพาะเรื่อง ◊ เก็บขอมูล ◊ เก็บตัวอยาง ◊ เริ่มการวิเคราะหสถานการณแปลงปลูก

วิทยากรพ่ีเลี้ยงรวมสํารวจแปลงกับเกษตรกร พรอมทั้งตั้งคําถามเพื่อเปนการเริ่มการสนทนาหารือรวมกันกบัเกษตรกร

ทบทวนความทรงจํา หนา 24

• รวมกันวาดภาพการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร

(AESA) และหารือกันในกลุมยอย ◊ วิเคราะหสถานการณในแปลงปลูกพืชโดย

ละเอียด ◊ วิทยากรพ่ีเลี้ยงตั้งคําถามตางๆเพ่ือกระตุนการ

คิดวิเคราะห • การนําเสนอการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร(AESA)

◊ การตัดสินใจจัดการแปลงไอพีเอ็ม (IPM) ◊ ทําขอตกลงกิจกรรมที่จะตองทํา

∗ ใครเปนผูรับผิดชอบ? ∗ จะทําเมื่อไร?

• ทํากิจกรรมสวนแมลง ◊ สังเกตและบันทึกสิ่งที่เกิดขึ้นในสวนแมลง

• กิจกรรมกลุมสัมพันธ • หัวขอพิเศษ • สรุปและวางแผนสําหรับสัปดาหตอไป

◊ ใหเกษตรกรกําหนดหัวขอพิเศษ

Page 25: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

พืชจะแข็งแรงหรือไมนั้นขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม สภาพแวดลอมดังกลาวนั้นประกอบดวยปจจัยทางกายภาพ (เชน แสงแดด, น้ําฝน, ลม, ธาตุอาหารในดิน) และปจจัยทางชีวภาพ (เชน ศัตรูพืช โรคพืช และวัชพืช) ปจจัยทั้งหมดเหลานี้สงผลตอความสมดุลระหวางแมลงที่กินพืชเปนอาหารและศัตรูธรรมชาติของมัน ถาเราเขาใจระบบนี้ทั้งระบบ เราก็จะสามารถนําความรูนี้ไปใชในการลดความเสียหายที่เกิดจากศัตรูพืชและโรคพืชได การตัดสินใจในการจัดการศัตรูพืชดวยวิธีผสมผสานนั้นจําเปนตองวิเคราะหระบบนิเวศเกษตรอยางละเอียด ผูเขารับการอบรมการจัดการศัตรูพืชวิธีผสมผสานจะตองเรียนรูวิธีสํารวจแปลง การวิเคราะหสถานการณแปลงปลูกพืช และวิธีตัดสินใจอยางถูกตองในการจัดการแปลง กระบวนการเหลานี้เรียกวา “การวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร” หรือ “AESA” เมื่อผูเขารับการอบรมไอพีเอ็ม (IPM) ไดเรียนรูการทําการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร และภาพวาดสิ่งที่สังเกตเห็นทั้งหมดบนกระดาษขนาดใหญที่จัดหาไวให ประโยชนของการวาดภาพคือจะทําใหผูเขารับการอบรมตองทําการสังเกตอยางใกลชิดละเอียดลออ ซึ่งการสังเกตอยางใกลชิดนี้เปนหัวใจสําคัญของการวิเคราะหและการหารือทีจ่ะเกิดขึ้นในภายหลัง อีกทั้งเรายังสามารถเก็บเอาภาพวาดนี้ไวเปนขอมูลเปรียบเทียบกับฤดูกาลตอไป

การวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร หรอื AESA หนา 25 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

Page 26: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

วิธีการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร วิธีการตางๆดังตอไปน้ีไดเคยมีการนําไปใชในการอบรมไอพีเอ็ม (IPM) โดยใชในการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตรในขาว สําหรับพืชชนิดอื่นอาจมีวิธีการทีแ่ตกตางกันเล็กนอยแตหลักการพื้นฐานก็ยังคงคลายกัน

• แตละกลุมเดินลงไปสํารวจแปลงปลูกพืช(กลุมละ ๕ คน) เดินตามขวางของแปลงและทําการสุมพืช ๑๐ ตนพรอมกับ สํารวจพืชโดยละเอียดทุกตน และบันทึกสิ่งที่สังเกตเห็น:

◊ พืช: สังเกตความสูงของพืช จํานวนหนอหรือการแตกกอ ระยะการเติบโตของพืช อาการขาดธาตุอาหาร ฯลฯ

◊ ศัตรูพืช: สังเกตและนับจํานวนศัตรูพืชที่สวนตางๆของตนพืช ◊ ผูอารักขาพืช (ศัตรูธรรมชาติ): สังเกตและนับดูตัวเบียนและตัวห้ํา ◊ โรคพืช: สังเกตใบและลําตน และวินิจฉัยอาการโรคพืชทุกอยางที่สังเกตเห็น ◊ หนู: นับจํานวนตนพืชที่ไดรับความเสียหายจากหนู ◊ วัชพืช: สังเกตชนิดและความหนาแนนของวัชพืช ◊ น้ํา: สังเกตสถานการณน้ําในแปลงพืช ◊ อากาศ: สังเกตสภาพอากาศ

• ขณะเดินสํารวจแปลงใหเก็บตัวอยางแมลงใสถุงพลาสติกที่เตรียมมา ใชสวิงโฉบแมลงเพื่อเก็บตัวอยางเพ่ิมเติม เก็บช้ินสวนของพืชที่เปนโรค

• กลุมพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณแปลง วิทยากรพ่ีเลี้ยงจะต้ังคําถามเพื่อชักนําใหเกิดการพูดคุย และกระตุนการคิดเชิงวิเคราะห

• หาบริเวณที่รมรื่นนั่งลอมวงเปนกลุมเล็กๆ เพื่อวาดภาพและปรึกษาหารือรวมกัน • ในกรณีจําเปน ใหฆาแมลงดวยคลอโรฟอรมที่ชุบดวยสําล ี• แตละกลุมเร่ิมดวยการจําแนกศัตรูพืช ผูอารักขาพืช(ศัตรูธรรมชาต)ิ และโรคพืชที่เก็บมา • แตละกลุมจะวิเคราะหสถานการณแปลงปลูกพืชโดยละเอียด และนําเสนอผลการสํารวจและการ

วิเคราะหสถานการณแปลงในภาพวาด (ภาพวาดการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร) • ภาพวาดแตละภาพจะแสดงภาพตนพืชใหเห็นถึงสถานการณแปลงปลูก ในภาพวาดจะตองแสดง

สภาพอากาศ น้ําอาการจากโรคพืช ฯลฯ แมลงศัตรูพืชจะแสดงไวทางดานซายของตนพืช และผูอารักขาพืช(ศัตรูธรรมชาต)ิแสดงไวดานขวา เขียนจํานวนแมลงกํากับไวขางๆแมลงแตละตัว แสดงเครื่องหมายวาพบศัตรูพืชและผูอารักขาพืช(ศัตรูธรรมชาติ)บนสวนใดของพืช พยายามใหภาพแสดงความสัมพันธระหวางศัตรูพืชและศัตรูธรรมชาติ

• แตละกลุมจะหารือถึงสถานการณของแปลงปลูกพืช และเสนอแนะวิธีการจัดการแปลง • จากนั้นกลุมยอยกลับเขารวมเปนกลุมใหญ ตัวแทนของแตละกลุมนําเสนอการวิเคราะหระบบนิเวศ

ตอผูเขารับการอบรมทั้งหมด แตละสัปดาหแตละกลุมจะตองไมสงตัวแทนซ้ําคนเดิม • วิทยากรพ่ีเลี้ยงจะดําเนินการใหเกิดการพูดคุยหารือดวยการถามนํา และตองแนใจวาผูเขารับการอบรม

ทุกคน(ที่อาจอายไมกลาแสดงออกหรือไมรูหนังสือ)ไดมีสวนรวมในกระบวนการนี้อยางเต็มที่ • หาขอสรุปรวม โดยทั้งกลุมใหญเห็นดวยกับการตัดสินใจจัดการแปลงในแปลงไอพีเอ็ม (IPM) • ตองแนใจวาการจัดการแปลงที่ไดทําการตัดสินใจ (ขึ้นอยูกับผลการวิเคราะหระบบนิเวศ) จะไดรับ

การนําไปปฏิบัติ • เก็บรักษาภาพวาดไวเพ่ือเปรียบเทียบในสัปดาหตอไป

ทบทวนความทรงจํา หนา 26

Page 27: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

• สรุปสถานการณแปลงปลูกพืชปจจุบันวาเปนอยางไร

• เรื่องใดเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดในขณะนี้ • ในชวงสัปดาหกอนมีการเปลี่ยนแปลงอยางมาก

เกิดขึ้นหรือไม? มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงอยางไร? • มีการระบาดรุนแรงของศัตรูพืชหรือโรคพืชหรือไม • สถานการณเกี่ยวกับแมลงที่เปนประโยชนเปน

อยางไร • ในแปลงปลูกพืชมีความสมดุลระหวางศัตรูพืชและ

ผูอารักขาพืช(ศัตรูธรรมชาต)ิหรือไม • คุณสามารถจําแนกโรคพืชและศัตรูพืชทุกชนิดไดที่

ไหน • คุณคิดวาพืชที่ปลูกมีความสมบูรณแข็งแรงหรือไม • การจัดการแปลงที่จําเปนในขณะนี้มีอะไรบาง • การจัดการนั้นจะทําเมื่อไร? ใครคือผูปฏิบัติ? และ

ตองแนใจวาหนาที่ความรับผิดชอบสําหรับทุกกิจกรรมไดรับการหารือ

• คุณคาดวาจะมีปญหาเกิดขึ้นในสัปดาหที่จะถึงหรือไม? ปญหาอะไร? เราสามารถหลีกเลี่ยงไดหรือไม? และตองเตรียมการอยางไร?

• สรุปสิ่งที่ตองดําเนินการ

AESA: การวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร หนา 27 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

คําถามที่สามารถนํามาใชในระหวางการอภิปราย

AESA เกี่ยวของกับสามขั้นตอน

การสังเกต � การวิเคราะห � การตัดสินใจ

Page 28: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ลักษณะการฝกอบรมที่ใชในโรงเรียนเกษตรกรนั้นมักกลาวกันวาเปน “การศึกษาผูใหญนอกระบบ” การศึกษาในระบบ และการศึกษานอกระบบมีความแตกตางกันอยางไร?

การศึกษาในระบบหรือการศึกษานอกระบบ? ทบทวนความทรงจํา หนา 28

การศึกษาในระบบ* การศึกษานอกระบบ • ครู • ครูคือศูนยกลางในการสอน • “ ใส ” ขอมูล (ครูเปนผูตัดสินใจวาจะสอน

สิ่งใดใหแกผูเขาเรียน) • ครูคือผูรับผิดชอบในการสงมอบเนื้อหาจาก

หลักสูตร • ครูตองเตรียมการสอนทุกกิจกรรม • ครูถูกบังคับใหเปน ‘ผูเช่ียวชาญ’ • ครูบรรยายใหผูเขาอบรมฟง • ผูเขารับการอบรมเปนผูรับขอมูลเพียงฝายเดียว

• วิทยากรพ่ีเลี้ยง • ผูเขารับการอบรมสามารถใหขอมูล • “ ดึง ” ขอมูลออกมา (มุงเนนที่ความตองการ

ขอมูลจริงๆ ของผูเรียน) • วิทยากรพ่ีเลี้ยงแนใจวาผูเขารับการอบรม ไดเรียนรูเนื้อหาขั้นพื้นฐานและมีสวนรวม ตัดสินใจในการเรียนรูเพ่ิมเติม • เปดกวางใหโอกาสในการแลกเปลี่ยนความคิด เห็น โดยการมีสวนรวมอยางเทาเทียมกัน • การทํางานรวมกัน และการใหความรวมมือจากผู เขาอบรมทุกคนอยางกระตือรือรน • วิทยากรพ่ีเลี้ยงคือสมาชิกคนหนึ่งในกลุม • วิทยากรพ่ีเลี้ยงสามารถใชประโยชนจากขอมูลที่

ไดจากกลุม • คําถามจากกลุมสามารถหาคําตอบไดจากภายใน

กลุม (ดวยการปรึกษาหารือ หรอืการแลกเปลี่ยน ประสบการณ จัดทําการทดลอง เชิญผูที่มีความรู

ในดานนั้นๆ ฯลฯ) • การทํางานกลุมยอย • วิทยากรกระตุนการคิดเชิงวิเคราะห

* ปจจุบัน “การศึกษาในระบบ” ไดมีการนําเอารูปแบบทักษะวิทยากรพ่ีเลี้ยงนอกระบบไปใชเพ่ิมมากขึ้น โดยเนนความสําคัญของการทํางานเปนกลุมยอย และการกระตุนใหผูเขาอบรมคิดอยางวิเคราะหวิจารณ และผูเขาอบรมไดมีสวนรวมอยางจริงจังมากขึ้น

Page 29: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

การฝกอบรมแบบมีสวนรวมมีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเขารับการอบรมไดมีการสื่อสารและแลกเปลี่ยนความรูกันมากขึ้น ดังนั้นการจัดที่นั่งในโรงเรียนเกษตรกรจึงมีความ สําคัญ โรงเรียนเกษตรกรไมใชการอบรมที่มีรูปแบบเปนช้ันเรียน แตจะใชวิธีการทํางานเปนกลุมยอยหรือใชการจัดที่นั่งเปนรูปตัวยู (U-shape) ซึ่งทําใหผูเขารับการอบรมทุกคนไดมีสวนรวมในการหารืออยางทั่วถึง

การจัดที่น่ังสําหรับการอบรมในโรงเรียนเกษตรกร หนา 29 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

ช้ันเรียน

กลุมยอย

รูปตัวยู

Page 30: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

วิทยากรพ่ีเลี้ยง และ ทกัษะในการเปนวิทยากร

• เตรียมกิจกรรมสําหรับโรงเรียนเกษตรกร • เตรียมวัสดุอุปกรณการฝกอบรม รวมทั้งสื่อตางๆ ฯลฯ • สังเกตและใชโอกาสในการเรียนรู • กระตุนใหเกิดการคิด • กระตุนใหเกิดปฏิสัมพันธระหวางเกษตรกร • กระตุนใหมีการทําการทดลอง • ชักนําใหเกิดระบวนการเรียนรู • สรางบรรยากาศการเรียนรูที่ดี • ทําใหการอภิปรายหารือเกิดผลอยางจริงจัง

ทบทวนความทรงจํา หนา 30

• ยิ้มแยม • สื่อสารทางสายตา • พูดจาชัดเจน (ชัดถอยชัดคํา) • ใชภาษาทองถิ่น • ใหความเคารพในชวงเวลาทีใ่ชความสงบ

• เคารพในความแตกตาง • ตั้งใจฟง

• ใชคําถามเปด • สนับสนุนใหเกิดการมสีวนรวม

บทบาทของวิทยากรพี่เลี้ยง

อุปนิสัยที่ดีของวทิยากรพี่เล้ียง

Page 31: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

การวางแผนกิจกรรมโรงเรียนเกษตรกรครั้งตอไปนั้น ตองแนใจวามีอุปกรณที่ตองใชในการฝกอบรมพรอม รายการอุปกรณดังกลาวที่มักตองใชในโรงเรียนเกษตรกรมีดังนี้:

• กระดาษ (อาทิกระดาษฟาง หรือกระดาษสรางแบบสําหรับวาดภาพการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร)

• สมุดบันทึกและปากกา (สําหรับผูเขารับการอบรมแตละคน) • ดินสอ ดินสอส ีและปากกาเคมี (สีเขียวมากกวาสีอื่นๆ) • ไมบรรทัดและเครื่องชั่ง • กระดาษกาว และกาว • แวนขยาย • หลักไม เชือก และ แผนปาย • อุปกรณสําหรับทาํสวนแมลง

◊ กลอง ◊ ขวด ◊ ตาขายไนลอน ◊ สําล ีหนังยาง กระดาษกาว ◊ กระถาง ◊ ฯลฯ

• ถุงพลาสติก และหนังยาง • ขาตั้งสําหรับติดกระดาษฟาง • สวิง (สวิงไมเพียงใชในโรงเรียนเกษตรกรขาว

เทานั้น แตยังใชในการสํารวจพืชชนิดอื่นไดอีกดวย สวิงใชสําหรับจับแมลงมปีก ผีเสื้อ แมลงปอ แมลงวันดอกไม ฯลฯ)

• มีด หรือกรรไกร • เกาอี้ หรือพลาสติกรองนั่ง • ปจจัยสําหรับการทดลองในแปลง

◊ ปุยเคม ี◊ เมล็ดพันธุ หรือตนกลา ◊ สารชีวภัณฑ ◊ สะเดา ◊ กับดักกาวเหนียว ◊ แผนปาย ◊ ฯลฯ

• บางครั้งอาจตองใชแบบฟอรมสําหรับบันทึกขอมูล (เชนในการทดลองยอยในแปลงปลูกพืช)

อุปกรณการฝกอบรม หนา 31 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

Page 32: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ในโรงเรียนเกษตรกรแตละแหงนั้น เราจะตองมีการทดลองเปรียบเทียบระหวางแปลงไอพีเอ็ม (IPM) (การจัดการแปลงขึ้นอยูกับการวิเคราะหสถานการณแปลง) กับแปลงเกษตรกร (ปฏิบัติตามวิธีเกษตรกร) เสมอ แตโรงเรียนเกษตรกรจะสมบูรณไมไดหากขาดการทดลองแปลงศึกษาเฉพาะเรื่อง 1 หรือมากกวา 1 เรื่อง

การทําการศึกษาทดลองรวมกับเกษตรกรมีวัตถุประสงค 2 ประการ ประการแรกคือชวยใหเกษตรกรไดเรียนรูผานประสบการณจากการทดลองซึ่งจะทําใหพวกเขาไดทดลองปฏิบัติและคนพบความรูใหมๆดวยตนเอง เปนวิธีเรียนรูที่ไดผลดีกวาการฟงคําบรรยาย หรือการถูกบอกใหทําตาม และประการทีส่องคือ เกษตรกรไดเรียนรูวิธีทดสอบการจัดการพืชวิธีใหมๆ และวิธีการหาคําตอบใหกับคําถามที่ตองการทราบ นอกจากนี้ยังเปนการนําไปสูการเรียนรูในอนาคตที่เรียกวา “วิทยาศาสตรโดยเกษตรกร”

การทดลองในแปลงปลูกพืช ทบทวนความทรงจํา หนา 32

อยางไรก็ตาม การทดลองที่ดําเนินในชวงฤดูกาลแรกของโรงเรียนเกษตรกรนั้นมักไมไดมุงหมายใหทําเพ่ือใหเกิดการคนพบสิ่งใหม แตในโรงเรียนเกษตรกรนั้นเรามักจะเริ่มดวยการทําการทดลองในเรื่องที่เปนที่รูจักคุนเคยกันดี ซึ่งวิทยากรพี่เลี้ยงมักใชเปนเคร่ืองมือเพ่ือใหเกิดการเรียนรูเกี่ยวกับพืช ศัตรูพืช และศัตรูธรรมชาติ

วงจรการเรียนรู

คําถาม

สมมุติฐาน

ออกแบบ

สังเกต

วิเคราะห

ประเมินผล

Page 33: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

มีการทดลองอยูหลายรูปแบบที่เกษตรกรสามารถปฏิบัติไดในระหวางการฝกอบรมในโรงเรียนเกษตรกร ซึ่งข้ึนอยูกับสถานการณวาการทดลองใดจะมีความเหมาะสมมากที่สุด โดยวิทยากรพ่ีเลี้ยงจะพิจารณาจากคําถามที่เกษตรกรถามในระหวางการประชุมกันครั้งแรก และจะตองพิจารณารวมกับเกษตรกร ดวยวิธีการดังกลาวจะทําใหไดเรื่องที่จะทดลอง 1 เรื่องหรือมากกวานั้น ตัวอยางการทดลองที่มักจะใชในระหวางที่มีการอบรมโรงเรียนเกษตรกรมีดังตอไปนี ้

ตัวอยางการทดลองในแปลงปลูกพืช หนา 33 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

วางกับดักเพื่อศึกษาประชากรแมลง เชนกับดักแสงไฟ กับดักกาวเหนียวสีเหลือง หรือกับดักหลุมพราง ซึ่งสามารถใชตรวจวัดจํานวนศัตรูพืชได แตอาจสามารถใชทําการทดลองเพื่อดูประสิทธิภาพดานการควบคุมศัตรูพืชได (อาทิทดลองควบคุมดวงหมัดผักในแปลงคะนาดวยกับดักกาวเหนียวสีเหลือง)

การใชกับดกักาวเหนียว

การชดเชยของพืช จําลองสถานการณการทําลายของแมลง โดยการตัดใบออกบางสวน หรือการตัดหนอ หรือการถอนแยก การทดลองเชนนี้จะแสดงใหเห็นวาพืชสามารถชดเชยความเสียหายบางสวนไดโดยตัวมันเอง ดวยการสรางใบใหม หรือแตกหนอใหมชดเชย เกษตรกรที่เคยทําการทดสอบนี้จะมีความมั่นใจมากขึ้นในการยอมใหพืชมีความเสียหายไดบางสวน

กรงแมลงในแปลง เพ่ือพิสูจนดูวาศัตรูธรรมชาติสามารถควบคุมประชากรศัตรูพืชไดอยางไร โดยการวางกรงสองกรงหรือมากกวา โดยใหกรงหนึ่งมีศัตรูพืชอยางเดียว (เชนใสเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลในนาขาว) และอีกกรงหนึ่งมีทั้งศัตรูพืชและศัตรูธรรมชาติ (เชนใสเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลและแมงมุม)

Page 34: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ตัวอยางการทดลองในแปลงปลูกพืช ทบทวนความทรงจํา หนา 34

เปรียบเทียบการเวนระยะหางระหวางแถวและตน ระยะตางๆ และใหสังเกตวาพืชมีพัฒนาการอยางไรภายใตสภาวะที่แตกตางกัน ความแตกตางดานความหนาแนนของพืชมีผลกระทบตอสภาพอากาศรอบๆตนพืช และเราสามารถเรียนรูไดวาสิ่งนี้มีผลกระทบตอการพัฒนาของศัตรูพืชและโรคพืชอยางไร

การเวนระยะหางในการปลูกพืช

ใชสารสกัดจากพืชและชีวินทรยีกําจัดศัตรูพชื ศึกษาวาสารสกัดจากพืช(เชนสะเดา) หรือสารชีวินทรียกําจัดศัตรูพืช(เช้ือบีที เช้ือไวรัส เอ็น พี วี ไสเดือนฝอยสไตเนอรนีมา และเชื้อราไตรโคเดอรมา) สามารถใชจัดการประชากรศัตรูพืชไดอยางไร ตัวอยางเชนทําการทดลองยอยเปรียบเทียบระหวางแปลงที่ฉีดพนสารสกัดจากสะเดากับแปลงที่ไมไดฉีดพน

การใชวัสดคุลมุดิน เปรียบเทียบแปลงปลูกพืชที่ใชวัสดุคลุมดินกับแปลงที่ไมไดใช และใหสังเกตวาการคลุมดินมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช แมลงและโรคพืชอยางไรบาง

Page 35: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ตัวอยางการทดลองในแปลงปลูกพืช หนา 35 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

ใชตัวห้ําหรือตัวเบียนที่ไดมาจากจากศูนยบริหารศัตรูพืชปลอยลงในแปลงไอพีเอ็ม ศัตรูธรรมชาติเชน แมลงหางหนีบ มวนเพชฌฆาต หรือแตนเบียนไตรโครแกรมมา

การปลอยศัตรูธรรมชาติ การทดลองปุยเคม ีจัดทําแปลงปลูกพืชเล็กๆโดยทดลองใชปุยอัตราตางๆกัน เปรียบเทียบการใชปุยเคมีสังเคราะห (ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม) กับปุยอินทรีย (ปุยคอกหรอืปุยหมัก)

เปรียบเทียบพันธุ เปรียบเทียบพืชสายพันธุตางๆ และศึกษาวาแตละพันธุมีความแตกตางกันอยางไร โดยเฉพาะความแตกตางดานความตานทานหรือความทนทานตอศัตรูพืช

เปรียบเทียบการปลูกพืชเชิงเด่ียวกับการปลูกพืชสลับหรือปลูกพืชหลายชนิดในพื้นที่เดียวกัน พยายามปลูกแซมดวยพืชที่สามารถดึงดูดศัตรูธรรมชาติ (เชนถั่ว หรือพืชที่มีดอก) หรือปลกูพืชที่ขับไลแมลงได (เชนตะไครหอม)

การปลกูพืชสลบั

Page 36: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

เมื่อเราทําการสํารวจแปลงปลูก (แปลงไอพีเอ็ม แปลงเกษตรกร และแปลงทดลอง) หรือสวนแมลงนั้น เราจําเปนตองบันทึกขอมูล • เพ่ือเก็บขอมูลสิ่งที่เกิดขึ้น • เพ่ือชวยในการวิเคราะหและสรุป

การบันทึกขอมูล ทบทวนความทรงจํา หนา 36

• การเจริญเติบโตของพืช (แตละสัปดาห) • ความสูงของพืช • จํานวนใบ

• สถานการณแปลง (เชน ระบบนิเวศเกษตร) • ความสมบูรณของพืช • ศัตรูพืช, โรคพืช, วัชพืช • ศัตรูธรรมชาติ • ดิน • น้ํา • สภาพอากาศ

• ตนทุนวัตถุดิบ (บาท/ไร) • เมล็ดพันธุ • ปุย • สารกําจัดศัตรูพืช • คาจางแรงงาน

• การเก็บเกี่ยว • ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร) • ราคาผลผลิต (บาท/กิโลกรัม)

เก็บขอมูลอะไรบาง?

ทําไมตองเก็บขอมูล?

• จดลงในสมุดบันทึก • วาดภาพ

เก็บขอมูลอยางไร?

Page 37: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ในกิจกรรมโรงเรียนเกษตรกรแตละครั้งนั้น จะมี “หัวขอพิเศษ” หนึ่งเร่ือง (บางครั้งสองเรื่อง) ซึ่งตามปรกติแลวหัวขอพิเศษนี้จะสอดคลองกับสิ่งที่เกดิข้ึนในกิจกรรมโรงเรียนเกษตรกรครั้งที่ผานมา เชนในชวงการสํารวจแปลงปลูกพืชพบศัตรูพืชชนิดหนึ่งที่สรางปญหาอยางมาก ดังนั้นหัวขอพิเศษสําหรับสัปดาหถัดไปจึงเปนการเรียนรูเฉพาะเกี่ยวกับศัตรูพืชชนิดนั้น หรือเกษตรกรอาจมคีําถามและวิทยากรพ่ีเลี้ยงอาจเตรียมหัวขอพิเศษที่เกี่ยวของกับคําถามนั้น การใหเกษตรกรเปนผูเสนอหัวขอพิเศษสําหรับการอบรมครั้งตอไปนั้นเปนวิธีที่ดี

หัวขอพิเศษ หนา 37 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

• องคประกอบของระบบนิเวศ • การไหลเวียนของพลังงานในระบบนิเวศ หวงโซ

อาหาร สายใยอาหาร ฯลฯ • ความอุดมสมบูรณของดิน จุลินทรีย ธาตุอาหาร

ฯลฯ • การจัดการปุย และการทดสอบดิน • ปุยหมัก และการคลุมดิน • การจัดการวัชพืช • เมล็ดพันธุที่มีคุณภาพ (ทดสอบการงอกของเมล็ด

การคัดเลือกพันธุ ฯลฯ) • วงจรชีวิต และการจัดการศัตรูพืชที่สําคัญ (ใชสวนแมลง) • วงจรชีวิต และพฤติกรรมของศัตรูธรรมชาติที่

สําคัญ(ใชสวนแมลง) • สารสกัดชีวภาพ (เกษตรกรจัดเตรียมและทําการ

ทดลองเพื่อทดสอบสารสกัดชีวภาพ) • อันตรายของสารกําจัดศัตรูพืช • การลดความเสี่ยง • การจัดการโรคพืชที่สําคัญ • บาซิลลัส ทูริงจิเอนซสิ (วางแผนการทดลองเพื่อ

เรียนรูวิธีการทํางานของเชื้อบีทีในแปลงปลูกพืชและหรือในสวนแมลง)

• โรคสาเหตุทางดิน และการใชเช้ือราไตรโคเดอรมา • ฯลฯ

ตัวอยางหัวขอพิเศษ

การเตรียมหัวขอพิเศษ กอนมีกิจกรรมครั้งตอไปนั้น เราจําเปนจะตองมีการเตรียมการที่ดีสําหรับหัวขอพิเศษที่เกษตรกรเลือก โดย

• รวบรวมขอมูลความเปนมา • เตรียมอุปกรณตางๆ (ตัวอยางศัตรูพืช flip chart

ฯลฯ • กรณีจําเปน ใหเชิญผูเช่ียวชาญมาชวยสําหรับ

หัวขอพิเศษ • ออกแบบแบบฝกหัดเกี่ยวกับหัวขอพิเศษ

เพ่ือที่จะปฏิบัติรวมกับเกษตรกร • เตรียมคําถามนําที่จะชวยอํานวยความสะดวกใน

การหารืออภิปราย

Page 38: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

การทดสอบความรูของเกษตรกรกอนการอบรมโรงเรียนเกษตรกรเรามักใชการทดสอบดวย “กลองลงคะแนน” วิธีการนี้แทจริงมิไดตองการทดสอบความรูของเกษตรกรแตเปนวิธีการที่ทําใหเกษตรกรทราบวาพวกเขาขาดความรูในเรื่องใดบาง ซึ่งวิธีนี้เปนการเตรียมความพรอมใหกับเกษตรกร เกษตรกรสามารถคาดเคาไดวาพวกเขาจะไดพบหรือเรียนรูอะไรบางในระหวางการอบรมโรงเรียนเกษตรกร

โดยปรกติแลว การทดสอบจะประกอบดวยคําถามประมาณ ๒๐ ขอ คําถามแตละขอมีคําตอบ 3 ตัวเลือกใหเกษตรกรเลือกตอบโดยการหยอนกระดาษคําตอบลงในกลองลงคะแนน เกษตรกรอาจเขียนช่ือของตนลงในกระดาษคําตอบหรือไมเขียนก็ได เนื่องจากเราไมไดมีวัตถุประสงคในการทดสอบรายบุคคล เพียงแตตองการทราบวามีเกษตรกรกี่รายที่ทราบคําตอบที่ถูกตอง และมกีี่รายที่ไมทราบ ผลการทดสอบนี้สามารถใชเปนขอมูลในการพูดคุยหารือกันไดทันทีเกี่ยวกับหัวขอเหลานี้

คําถามที่นํามาแสดงจะใชตัวอยางจริงที่เกษตรกรสามารถพินิจพิจารณาได (มิใชการนําเสนอดวยภาพ) ออกแบบคําถามสามประเภทในลักษณะที่เกษตรกรสามารถประเมินไดดังตอไปนี้:

◊ ความเขาใจในเรื่องระบบนิเวศ และกลไกการควบคุมตามธรรมชาติ

◊ ความสามารถในการจําแนกศัตรูพืช ศัตรูธรรมชาติ โรคพืช และอาการความเสียหาย

◊ ความรูในเรื่องวิธีการจัดการพืช

การทดสอบความรูโดยใชกลองลงคะแนน ทบทวนความทรงจํา หนา 38

• แสดงแมลงศัตรูพืชหนึ่งชนิดพรอมกับศัตรูธรรมชาติสามชนิด และใหเกษตรกรเลือกวาศัตรูธรรมชาติตัวใดที่สามารถควบคุมแมลงศัตรูพืชชนิดนั้นได

• แสดงแมลงศัตรูพืชหนึ่งชนิดพรอมกับตัวอยางพืชที่ไดรับความเสียหายสามแบบ ใหเกษตรเลือกวาลักษณะความเสียหายแบบใดเปนความเสียหายที่มีสาเหตุมาจากแมลงตัวนั้น

คําถามตัวอยาง

Page 39: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

คําถามหลายอยางเกี่ยวกับแมลงนั้นสามารถตอบไดโดยการสรางการทดลองเล็กๆในสวนแมลง โดยใชกลองใสใสใบไมสดๆ หรือใชกระถางปลูกพืชไวในกรงขนาดเล็ก ตองแนใจวาแมลงมีอาหารสดใหมเสมอ เก็บรักษาสวนแมลงไวในที่รมเพ่ือหลีกเลี่ยงอุณหภูมิสูง หมั่นดูแลรักษาสภาพแวดลอมภายในสวนแมลงไมใหแหงหรือชื้นมากเกินไป

มอบหมายความรับผิดชอบใหเกษตรกรหนึ่งคนหรือมากกวานั้นเปนผูดูแลสวนแมลง เกษตรกรจะตองแนใจวาแมลงมีอาหารเพียงพอ และเกษตรกรจะตองเฝาสังเกตทุกวัน

สวนแมลง หนา 39 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

สวนแมลงใชเพื่อ:

• ศึกษาวงจรชีวิตของแมลง ◊ เก็บตัวออนมาเพื่อเฝาดูวามันมีวิธีกิน

อาหารอยางไร และพัฒนาเปนดักแดและผีเสื้อตัวเต็มวัยอยางไร

• ศึกษาพฤติกรรมการกินอาหารของแมลง ◊ แมลงตางๆกินอะไร ◊ แมลงตางๆมีลักษณะการกินอยางไร ◊ แมลงตางๆกินอาหารปริมาณเทาไร

• ศึกษาตัวห้ํา ◊ ตัวห้ํามีลักษณะการกินอยางไร ◊ ตัวห้ําสามารถกินแมลงเปนอาหารไดวัน

ละกี่ตัว • ศึกษาตัวเบียน

◊ เก็บตัวหนอนและดักแดของแมลงไวในสวนแมลงเพื่อดูวาพวกมันถูกเบียนหรือไม

• การทดลองอื่นๆ ◊ อาทิเชน ศึกษาลักษณะการออกฤทธิ์

ของเชื้อบีที (แมลงจะไมตายในทันท ีแตจะหยุดกินอาหาร)

Page 40: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

เราคาดหวังวาเกษตรกรที่ผานการฝกอบรมในโรงเรียนเกษตรกรจะตองมีความรูพ้ืนฐานเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในแปลงปลูกพืชของตนเปนอยางดี เกษตรกรรูจักพืชที่ตนเองปลูก เขาใจความสัมพันธระหวางศัตรูพืชและศัตรูธรรมชาติ และไดเร่ิมมีการเพ่ิมพูนทักษะการจัดการพืชและศัตรูพืชใหมากย่ิงขึ้น ดังนั้นหลักสูตรโรงเรียนเกษตรกรจึงประกอบดวยประเด็นตางๆ ดังตอไปนี้:

• พืช • ความสมบูรณของตนกลา • ระบบพืช • ระบบนิเวศ • การชดเชยของพืช • ดิน • การเก็บแมลง • การจําแนกแมลง • การจัดการแมลงศัตรูพืช • โรคพืช • การจัดการโรคพืช • การจัดการวัชพืช • สารกําจัดศัตรูพืช • ปญหาตางๆอันมีสาเหตุมาจากสารกําจัดศัตรูพืช • ฯลฯ

วัตถุประสงคของการเรียนรู ทบทวนความทรงจํา หนา 40

Page 41: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ส่ิงที่เกษตรกรเรียนรูในโรงเรียนเกษตรกร หนา 41 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

สวนประกอบของพืช

• วาดภาพพืชและสวนประกอบตางๆของพืช • เขาใจหนาที่การทํางานของแตละสวนของพืช

ระยะการเติบโตและวงจรพืช

• ระยะตนออน (ตนกลา) • ระยะการเจริญเติบโตทางใบและลําตน • ระยะออกดอก • ระยะติดผล • ระยะสุก/แก การเจริญเติบโตของพืช

• พลังงานและการไหลเวียนของพลังงาน • ธาตุอาหารและวงจรธาตุอาหาร • การสังเคราะหแสง • น้ํา

การเตรียมดิน • การไถพรวน หรือการไมไถพรวน • เช้ือราไตรโคเดอรมา • ปุยเคมี • ปุยคอก • ฯลฯ

ความสมบูรณของเมล็ดพันธุ • สายพันธุ • การเตรียมเมล็ดพันธุ • การทดสอบความงอก

การจัดการพืช • การเวนระยะปลูก หรืออัตราการใชเมล็ด • การจัดการน้ํา • การจัดการวัชพืช • การพรางแสง • วัสดุคลุมดิน • ยายกลา

ความสมบูรณของตนกลา

พืช

แชนํ้า 2 วันตอมา

3 วันตอมา 4 วันตอมา 5 วันตอมา

Page 42: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

รูและเขาใจพืช

• เขาใจระยะการเจริญเติบโตตางๆของพืช • วาดภาพ • ศัตรูพืชชนิดใดมีความสําคัญในแตละระยะการ

เจริญเติบโต ระยะการเจริญเติบโตของพืช

• การปลูก ◊ เมล็ดพันธุ ◊ ตนกลา

• การเจริญเติบโต ◊ ระยะการเจริญเติบโตทางใบและลําตน ◊ ระยะออกดอก

• การเก็บเกี่ยว ◊ การสุกแก ◊ การติดผล

การจัดการพืช

• การหวาน • การยายกลา • การกําจัดวัชพืช • การใชปุย • การจัดการศัตรูพืช • การตัดแตง หรือถอนแยก • การเก็บเกี่ยว

ในโรงเรียนเกษตรกรเกษตรกรไดเรียนรูถึงเรื่อง : ทบทวนความทรงจํา หนา 42

พืช

Page 43: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

หนา 43 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

ระบบนิเวศคืออะไร? • เกษตรกรวาดภาพระบบนิเวศ องคประกอบของระบบนิเวศ • ทางกายภาพ • ทางชีวภาพ ระบบนิเวศเกษตร • หารือเกี่ยวกับระบบนิเวศเกษตรเพ่ือเตรียม

สําหรับการวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร • สภาพอากาศ • ดิน • น้ํา • พืช / แปลงปลูกพืช • ศัตรูพืช

◊ แมลง ◊ โรคพืช ◊ วัชพืช

• ศัตรูธรรมชาติ ◊ ตัวห้ํา ◊ ตัวเบียน ◊ เช้ือโรค

สมดุลของระบบนิเวศ • การเพ่ิมของประชากร • การเคลื่อนไหวของประชากร • ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต • การพ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน • สายใยอาหาร • ความสัมพันธระหวางศัตรูพืชและผูอารักขาพืช

(ศัตรูธรรมชาติ) • กลไกการระบาดซ้ําซอน • การปลูกพืชแซม

• คุณคาของวัชพืช • ความหลากหลายทางชีวภาพ การไหลเวียนของพลังงานในผูบริโภคระดับที่ 3 (หรือ4) • พืช • สัตวกินพืช • ตัวห้ํา หรือตัวเบียน • ศัตรูของตัวเบียน

ระบบนิเวศ

ในโรงเรียนเกษตรกรเกษตรกรไดเรียนรูถึงเรื่อง :

Page 44: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

หารือถึงเร่ืองที่พืชสามารถชดเชยความเสียหายที่เกิดจากศัตรูพืชอยางไร?

วางแผนการทดลอง

• จําลองสถานการณการทําลายของแมลงเพื่อสังเกตการชดเชยของพืช

◊ ขาว ∗ หนอขาว ∗ ใบ

◊ ผัก ∗ ใบ ∗ ยอด หรือกาน

สรางความเขาใจวาพืชสามารถทนความเสียหายไดในระดับหนึ่ง

ทบทวนความทรงจํา หนา 44

โครงสรางดิน

อินทรียวัตถุ

ธาตุอาหาร • ไนโตรเจน-ฟอสฟอรัส-โพแทสเซียม (NPK) • ธาตุอาหารรอง • การทดสอบดิน

ความอุดมสมบูรณของดิน

• จุลินทรีย

การปรับปรุงดิน • ปุยคอก • ปุยหมัก • การคลุมดิน

น้ํา

ดิน

การชดเชยพชื ในโรงเรียนเกษตรกรเกษตรกรไดเรียนรูถึงเรื่อง :

Page 45: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

Page 45 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

เก็บแมลงอยางไร?

• การเก็บดวยมือ ◊ จัดหาถุงพลาสติกหรือกลอง ◊ ใชเครื่องดูดแมลงจับแมลงขนาดเล็ก ◊ ใชอางใสน้ํา ◊ คนหาตามสวนตางๆของพืชและ

บริเวณที่ใกลตนพืช ∗ ลําตน ∗ ใบ ∗ ดอก ∗ ผล ∗ ราก ∗ ดิน ∗ บนวัชพืช

• ใชสวิงโฉบ ◊ ใชสําหรับจับแมลงที่บินได

• กับดัก ◊ ใชกับดักกาวเหนียวในการคนหาแมลง

ขนาดเล็ก (ศัตรูพืช ศัตรูธรรมชาติ แมลงอื่นๆ)

◊ ใชกับดักหลุมพรางจับแมลงที่เดินบนพ้ืนดิน

◊ กับดักแสงไฟ

ทําไมตองเก็บรวบรวมแมลง?

• เพ่ือการจําแนกชนิด ◊ เพ่ือใหรูวาแมลงใดเปนศัตรูพืช ศัตรู

ธรรมชาติ หรือแมลงอื่นๆ • เพ่ือจัดทําสวนแมลง

◊ ศึกษาวงจรชีวิต ◊ ศึกษาพฤติกรรมการกินอาหาร การเขา

ทําลายของตัวเบียน ฯลฯ ◊ ทําการทดลองขนาดเล็ก

• เพ่ือเก็บรวบรวมตัวอยาง ◊ สะสมแมลงเปนหลักฐานอางอิง

การเก็บแมลง ในโรงเรียนเกษตรกรเกษตรกรไดเรียนรูถึงเรื่อง :

Page 46: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

มีสิ่งตางๆมากมายที่เราตองการเรียนรูจากแมลงที่เก็บมาจากแปลงปลูกพืช

การเรียกช่ือแมลง

• ไมควรใชชื่อเรียกทางวิทยาศาสตรกับเกษตรกร

• ใชช่ือเรียกสามัญและชื่อที่เรียกในทองถิ่น

• หากจําเปนใหคิดหาชื่อใหม

ทบทวนความทรงจํา Page 46

• ศึกษาพฤติกรรมแมลง ◊ พฤติกรรม การเคลื่อนไหว การ

แพรกระจายในแปลง ◊ พฤติกรรมในการคนหาอาหาร ◊ พฤติกรรมการกินอาหาร ◊ แหลงอาศัย หรือหลบซอน

• การเก็บบันทึก ◊ วาดภาพ ◊ เก็บตัวอยางแมลงไวเปนขอมูลอางอิง ◊ จดบันทึกในสิ่งที่คุณไดเรียนรู

• เริ่มทําการทดลองเพื่อเพิ่มพูนกระบวนการเรียนรู ◊ สวนแมลง ◊ กรงแมลงในแปลง ◊ ใชกับดัก

• อุปกรณในการศึกษาแมลง ◊ แวนขยาย ◊ ถุงพลาสติก ◊ สวิง ◊ เครื่องดูดแมลง ◊ สวนแมลง ◊ กับดัก

การจําแนกแมลง

การทําความรูจักกับแมลง

• ศึกษาสวนประกอบของแมลง ◊ ขนาด ◊ ส ี◊ หนาที ่

• ใชคูมือหรือหนังสือจําแนกแมลง ◊ รูปภาพ หรือ ภาพวาด

• รูวงจรชีวิต ◊ ไข ◊ ตัวออน ◊ ดักแด ◊ ตัวเต็มวัย

• บทบาทของแมลงในระบบนิเวศ ◊ แมลงกินพืช (มันคือศัตรูพืชใชหรือไม?) ◊ ตัวห้ํา ◊ ตัวเบียน ◊ แมลงอื่นๆที่มีชีวิตอิสระ เปนกลาง

ในโรงเรียนเกษตรกรเกษตรกรไดเรียนรูถึงเรื่อง :

Page 47: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

หนา 47 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

การจัดการศัตรูพืชนั้นมีอยูหลายวิธี แตเกษตรกรหลายๆคนมักเลือกใชวิธีการควบคุมดวยสารเคมีกําจัดแมลงสังเคราะหซึ่งเปนวิธีการที่อันตรายและเกิดการทําลายลางสูงที่สุด ซึ่งเปนสาเหตุทีก่อใหเกิดปญหาตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม สารกําจัดศัตรูพืชสังเคราะหควรจะเปนเพียงทางเลือกสุดทายหลังจากที่ไดลองใชทางเลือกอื่นๆแลว

การจัดการแมลงสามารถทําไดโดย

• การใชพืชพันธุตานทานหรือทนทาน • การปลูกพืชหมุนเวียน • การปลูกพืชสลับ • สารสกัดจากพืช (เชน สกัดจากสะเดา) • ชีวภัณฑ: โรคแมลง

◊ บาซิลลัส ทูริงเยนซิส (บีท)ี ◊ เช้ือไวรัส เอ็น พี วี ◊ ไสเดือนฝอยสไตเนอรนีมา ◊ เช้ือราบิวเวอรเรีย

• การควบคุมทางชีวภาพ ◊ ตัวห้ํา ◊ ตัวเบียน

• การใชกับดัก ◊ เชน กับดักกาวเหนียวสีเหลือง

• การจัดการสภาพอากาศในแปลงปลูกพืช ◊ การตัดแตง ◊ การถอนแยก ◊ การใหน้ํา ◊ การคลุมดิน

• การควบคุมดวยสารเคมี ◊ ใชเปนทางเลือกสุดทายเทานั้น ◊ เลือกใชผลิตภัณฑที่มีพิษตํ่าที่สุดที่สามารถหาได ◊ หามใชสารแคมีระดับความเปนพิษ Ia หรือ Ib ◊ หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีกลุมออรกาโนฟอสเฟต

และคารบาเมต ◊ หามใชสารเคมีกอมะเร็ง หรือสารที่มีผลยับย้ัง

ตอมไรทอ ◊ กอนการใชสารเคมีใดๆ ควรศึกษาหาขอมูล

เกี่ยวกับสารเคมีชนิดนั้นๆกอน (เชน หาขอมูลจากเวปไซด www.pesticideinfo.org)

◊ ใชสารเคมีเฉพาะจุดที่มีปญหา ไมควรใชทั้งแปลงแตใหฉีดพนเฉพาะสวนที่เกิดปญหาจากศัตรูพืช เพ่ือรักษาสวนที่เหลือเปนที่หลบอาศัยสําหรับศัตรูธรรมชาติ

การจัดการแมลงศัตรูพืช ในโรงเรียนเกษตรกรเกษตรกรไดเรียนรูถึงเรื่อง :

Page 48: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

การทําความรูจักและการวินิจฉัยโรค

• ใชคูมือการวินิจฉัยโรค • รูปถาย • ภาพวาด • เชิญผูเชี่ยวชาญมาชวยเหลือ

การระบาดของโรคพืช

• โรคพืชเขามาในแปลงพืชอยางไร? • โรคพืชแพรกระจายไปในแปลงพืชไดอยางไร? ความสัมพันธของโรคพืชกับสภาพอากาศ • ความชื้น • อุณหภูมิ • สภาพอากาศในแปลงปลูกพืช

ความทนทาน และ ความตานทาน

• พันธุพืช • การปลูกพืชที่แข็งแรง

ทบทวนความทรงจํา หนา 48

โรคพืช ในโรงเรียนเกษตรกรเกษตรกรไดเรียนรูถึงเรื่อง :

Page 49: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

หนา 49 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

แมวาโดยทั่วไปแลวสารกําจัดเชื้อราและสารกําจัดเชื้อแบคทีเรียจะมีความเปนพิษต่ํากวาสารกําจัดแมลง แตเราก็ควรพยายามลดการใชสารเหลานั้นเทาที่จะเปนไปได ในระบบการจัดการศัตรูพืชวิธีผสมผสานนั้นจะตองมีการคนหาวิธีการอื่นๆ มาใชจัดการโรคพืชเปนลําดับแรก

โรคพืชสามารถจัดการโดย:

• การปลูกพืชหมุนเวียน • รักษาความสะอาด • ใชจุลินทรียปฏิปกษ

◊ เช้ือราไตรโคเดอรมา • ปลูกพืชที่สมบูรณแข็งแรง

◊ เมล็ดพันธุดี, ตนกลาแข็งแรง, จัดการเมล็ดพันธุใหปลอดโรค

◊ การจัดการปุย ◊ การจัดการน้ํา

• พันธุพืช ◊ ตานทาน ◊ ทนทาน

• จัดการสภาพอากาศในแปลงปลูกพืช ◊ ความชื้น ◊ อุณหภูมิ ◊ การตัดแตง ◊ การถอนแยก ◊ การคลุมดิน

• สารกําจัดเชื้อรา หรือ สารกําจดัเชื้อแบคทีเรีย ◊ ใชเปนทางเลือกสุดทายเทานั้น ◊ เลือกใชผลิตภัณฑที่มีพิษตํ่าที่สุด ◊ หามใชสารเคมีที่มีระดับความเปน

พิษ Ia หรือ Ib ◊ หามใชสารเคมีกอมะเร็ง หรือรบกวน

การทํางานของระบบตอมไรทอ

การจัดการโรคพืช

ในโรงเรียนเกษตรกรเกษตรกรไดเรียนรูถึงเรื่อง :

Page 50: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

วัชพืชแขงขันดานการเจริญเติบโตกับพืชโดยแยงน้ํา ธาตุอาหาร พ้ืนที่ และแสงแดด แตในขณะเดียวกันวัชพืชก็เปนที่หลบอาศัยของศัตรูธรรมชาติ วัชพืชที่สรางดอกจะเปนแหลงอาหารสําหรับแตนเบียนตัวเต็มวัย เมื่อจําเปนตองควบคุมวัชพืชใหไตรตรองดูวาจําเปนตองกําจัดวัชพืชออกทั้งหมดหรือไม การเก็บรักษาวัชพืชไวจํานวนหน่ึงอาจจะเปนประโยชนสําหรับเปนที่หลบอาศัย หรือเปนแหลงอาหารสําหรับศัตรูธรรมชาติ

การควบคุมวัชพืชทําไดหลายวิธี ในระบบการจัดการศัตรูพืชวิธีผสมผสานควรใหการควบคุมดวยสารเคมีเปนทางเลือกสุดทาย โดยเฉพาะอยางย่ิงควรหลีกเลี่ยงการใชสารกําจัดวัชพืชชนิดไมเลือกทําลาย เพราะสารเคมีดังกลาวจะทําลายความหลากหลายทางชีวภาพลง

ทบทวนความทรงจํา หนา 50

วิธีการจัดการวัชพืชมีดังนี้

• ควบคุมดวยวิธีกล • การใชพืชคลุมดิน • การใชวัสดุคลุมดิน • การจัดการน้ํา • การควบคุมดวยสารเคมี

◊ ใชเปนทางเลือกสุดทายเทานั้น ◊ หลีกเลี่ยงพาราควอท เพราะเปนสาร

กําจัดวัชพืชที่อันตรายที่สุด ◊ เลือกใชผลิตภัณฑที่มีความเปนพิษต่ํา

ที่สุด

การจัดการวชัพืช ในโรงเรียนเกษตรกรเกษตรกรไดเรียนรูถึงเรื่อง :

Page 51: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

หนา 51 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

ประเภทของสารกําจัดศัตรูพืช • สารกําจัดแมลง • สารกําจัดเชื้อรา • สารกําจัดวัชพืช กลุมสารกําจัดศัตรูพืช • ออรกาโนฟอสเฟต • ออรกาโนคลอรีน • คารบาเมต • ไพรีทรอยด • พาราควอท • ฯลฯ ผลกระทบตอสุขภาพรางกาย และความเปนพิษ • ความเปนพิษเฉียบพลัน • ความเปนพิษเร้ือรัง

◊ สารกอมะเร็ง ◊ สารยับยั้งการทํางานของตอมไรทอ ◊ ความเปนพิษตอพัฒนาการเด็ก

ชองทางการไดรับสารเคมี • ผิวหนัง • ปาก • ทางลมหายใจ ทําความเขาใจฉลากผลิตภัณฑ • การปองกันในระหวางการใช

• เก็บสารเคมีอยางปลอดภัย • การทิ้งระยะฉีดพนกอนการเก็บเกี่ยว ผลกระทบตอศัตรูพืช • การพัฒนาความตานทานสารเคมี ตนทุน • ตนทุนที่เปนเงิน • ตนทุนสิ่งแวดลอม • ตนทุนสุขภาพ ผลกระทบขางเคียง • ศัตรูธรรมชาติ

◊ ศัตรูพืชมีการระบาดซ้ําซอน ◊ เกิดการระบาดของศัตรูพืชที่มิใชเปาหมาย

• นก • ปลา

สารกําจัดศัตรพูืช ในโรงเรียนเกษตรกรเกษตรกรไดเรียนรูถึงเรื่อง :

Page 52: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานประกอบดวยกลยุทธการอนุรักษและเพ่ิมพูนศัตรูธรรมชาติ ในโรงเรียนเกษตรกรเราเรียนรูเพ่ือทําความรูจักและเขาใจในบทบาทของศัตรูธรรมชาติในระบบนิเวศ เราทําการตัดสินใจจัดการแปลงโดยมุงที่จะอนุรักษศัตรูธรรมชาติ (เชน หลีกเลี่ยงการใชสารกําจัดศัตรูพืช) และสรางสภาพแวดลอมใหเหมาะสมตอการดํารงชีวิต และเพ่ิมพูนประชากรของศัตรูธรรมชาติ

ทบทวนความทรงจํา หนา 52

ศัตรูธรรมชาต ิในโรงเรียนเกษตรกรเกษตรกรไดเรียนรูถึงเรื่อง :

Page 53: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

หนา 53 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

เกษตรกรสวนใหญรูวาสารกําจัดศัตรูพืชมีประสิทธิภาพในการฆาศัตรูพืช แตเกษตรกรมักจะไมไดตระหนักถึงปญหาอันมากมายที่มีสาเหตุมาจากสารกําจัดศัตรูพืช

การตัดสินใจใชสารกําจัดศัตรูพืชควรเกิดขึ้นภายหลังจากการพิจารณาไตรตรองอยางรอบคอบถึงผลกระทบทุกๆอยางที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากสารเคม ี

ปญหาที่มสีาเหตุมาจากสารกาํจัดศัตรูพืช

ปญหาเนื่องจากการใชสารเคมีเปนประจํา

ศัตรูธรรมชาติถูกฆาตาย

ศัตรูพืชเกิดความตานทาน

ศัตรูพืชรองสามารถกลายเปนปญหารุนแรงไดมากกวาศัตรูพืชหลัก

พิษของสารกําจัดศัตรูพืชตกคางบนผลิตผล

การใชโดยไมจําเปนทําใหตนทุนเพ่ิมขึ้น

กอใหเกิดความเสี่ยงสูงตอสุขภาพของเกษตรกรและครอบครัว

มลพิษตอสิ่งแวดลอม

ในโรงเรียนเกษตรกรเกษตรกรไดเรียนรูถึงเรื่อง :

Page 54: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ตัวชี้วัดคุณภาพของโรงเรียนเกษตรกร ทบทวนความทรงจํา หนา 54

การทบทวนผลการดําเนินกิจกรรมโรงเรียนเกษตรกรภายหลังการทํากิจกรรมแตละคร้ังและการประเมินคุณภาพการฝกอบรมเปนอุปนสิัยที่ดีของวิทยากรพี่เลี้ยง คําถามตอไปนี้สามารถชวยในการประเมินการทํากิจกรรมเพื่อใหทานสามารถปรับปรุงการเตรียมตัวใหมีความพรอมมากยิ่งข้ึนสําหรับสัปดาหถัดไป

วันนี้มีเกษตรกรอยางนอย 80% มีสวนรวมในการทํากิจกรรมหรือไม? ทําไมเกษตรกรบางคนถึงไมสนใจ? ทานจะมีวิธีใดใหเกษตรกรเกิดความสนใจมากขึ้น?

กระดาษ สีเทียน ถุงพลาสติก สวิง แวนขยาย อุปกรณสําหรับทาํสวนแมลงมพีรอมหรือไม? ยังขาดอะไรอีก?

คุณไดเร่ิมตนกิจกรรมโรงเรียนเกษตรกรดวยการสรุปกิจกรรมของสัปดาหที่ผานมาและแจงแผนการอบรมของวันนี้หรือไม? คุณไดทบทวนความจําเกี่ยวกับกิจกรรมในสัปดาหที่ผานมารวมกับเกษตรกรหรือไม?

เกษตรกรทั้งหมดใชเวลาในการสํารวจแปลงไอพีเอ็ม(IPM) แปลงเกษตรกร และแปลง ทดลองหรือไม? ระหวางการสํารวจแปลงคุณไดถามคําถามถึงสิ่งที่พวกเขาสังเกตหรือไม?

ไดมีการจัดการแปลงIPMตามที่ไดตัดสินใจจัดการแปลงในการวิเคราะหระบบนิเวศสัปดาหที่แลวหรือไม? ถาไมไดทํา-มีสิ่งผิดพลาดใดเกิดขึ้น? เราจะหลีกเลี่ยงไดอยางไรในครั้งตอไป?

เกษตรกรไดเก็บตัวอยางสิ่งมีชีวิต(แมลง พืชที่เปนโรค และวัชพืช) จากแปลงปลูกพืชเพื่อใชในการวิเคราะหระบบนิเวศหรือไม?

เกษตรกรทุกคนมีสวนรวมในการวิเคราะหระบบนิเวศและวิเคราะหสถานการณแปลงปลูกพืช หรือไม? คุณแนใจหรือไมวาเกษตรกรที่ไมกลาแสดงออกหรอืเงียบขรึมไดมีสวนรวม? คุณไดทําอยางไร?

เกษตรกรอยางนอย 3 คนเปนผูนําในหารือระหวางการนําเสนอการวิเคราะหระบบนิเวศหรือ ไม? คุณไดกระตุนเกษตรกรใหเปนผูนําการวิเคราะหนั้นอยางไร?

ภาพวาดการวิเคราะหระบบนิเวศของสัปดาหกอนยังมีอยูหรือไม? เกษตรกรไดใชภาพวาด เหลานั้นในการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสถานการณแปลงสัปดาหนี้หรือไม?

เกษตรกรทั้งหมดไดมีสวนรวมในการตัดสินใจจัดการแปลงไอพีเอ็ม (IPM)หรือไม ? คุณไดถามคําถามเพื่อใหเกิดการหารือตอหรือไม? คุณเห็นดวยกับผูรับผิดชอบในการตัดสินใจ หรือไม?

Page 55: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ตัวชี้วัดคุณภาพของโรงเรียนเกษตรกร หนา 55 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

คุณไดกระตุนเกษตรกรในการแลกเปลี่ยนประสบการณตอสิง่ที่พวกเขาไดเรียนรูในวันนี้ หรือไม? คุณทําอยางไรใหแนใจวาเกษตรกรมีการเตรียมตัวเพื่อแลกเปลี่ยนความรูของตน?

คุณไดกระตุนเกษตรกรใหถามปญหาหรือขอสงสัยที่คุณสามารถนําไปใชเปนหัวขอเรียนรูคร้ังตอไปหรือไม? คุณตอบสนองตอคําถามเหลานี้อยางไร? คุณไดใชโอกาสนี้เพ่ือใหเกิดการเรียนรูหรือไม?

วันนี้คุณไดสรุปผลการสํารวจแปลง (IPM) แปลงเกษตรกร และแปลงทดลองหรือไม?

สวนแมลงทั้งหมดไดรับการดูแลในสภาพที่ดีหรือไม? เกษตรกรทุกคนทําการสังเกตสวนแมลงหรือไม?

จากการสํารวจแปลงหรือคําถามของเกษตรกรคุณไดมีการทําสวนแมลงเพิ่มเติมหรือไม? คุณแนใจวาเกษตรกรทั้งหมดมีสวนรวมในการดูแลสวนแมลงอยางไร?

คุณมีกิจกรรมกลุมสัมพันธหรอืไม? เกษตรกรสนุกสนานหรอืไม? และกิจกรรมนี้สงเสริมใหเกิดการสรางกลุมหรือไม?

หัวขอพิเศษถูกเลือกโดยเกษตรกรหรือไม? ทานมีการเตรียมหัวขอนั้นเปนอยางดี (อุปกรณ คําถาม และแบบฝกหดั) หรือไม?

คุณไดตกลงกับเกษตรกรในเรื่องของเวลาและสถานที่นัดประชุมคร้ังตอไปหรือไม? เกษตรกรทุกคนเห็นดวยหรือไม?

คุณมีความพอใจ 100%กับการอบรมครั้งนี้หรือไม? คุณดําเนินกิจกรรมในฐานะวิทยากรพ่ีเลี้ยงหรือผูบรรยาย? คุณสามารถบริหารเวลาของคุณหรือไม? เกษตรกรสนุกสนานกับการเรียนรูหรือไม? คุณประสบปญหาอะไรในระหวางกิจกรรมนี้?

ทํารายการ ”สิ่งที่ตองทํา” สําหรับกิจกรรมโรงเรียนเกษตรกรครั้งตอไป!!!

Page 56: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

เมื่อใกลจะส้ินสุดฤดูกาลจะมีการวางแผนวันสาธิตระหวางวนัดังกลาวนี้เกษตรกรของโรงเรียนเกษตรกรจะไดมีโอกาสแสดงในสิ่งที่พวกเขาเรียนรูมาใหกับเกษตรกรอื่นๆในชุมชนของพวกเขาและอาจเชิญบุคคลสําคัญเชนนักการเมืองทองถ่ิน ผูวาราชการจังหวัด และครูในโรงเรียน และ บุคคลอื่นๆ ซ่ึงบุคคลเหลานี้คือผูซ่ึงสามารถสนับสนุนโครงการไอพีเอ็ม (IPM) และเปนผูซ่ึงสามารถมีบทบาทสําคัญในการจัดตั้งโรงเรียนเกษตรกรและขยายผลในฤดูกาลตอไป

ชวงที่เหมาะสมในการจัดวันสาธิตคือทายสุดของฤดูกาลกอนหนาการเก็บเก่ียวและพืชยังคงอยูในแปลง ผูรับเชิญของเราสามารถลงสํารวจโครงการแปลงไอพีเอ็ม (IPM) และ แปลงเกษตรกรรวมทั้งแปลงทดลองซึ่งดําเนินการโดยเกษตรกร

อยาลืมที่จะเตรียมตัวอยางการทําสวนแมลงพรอมกับศัตรูพชืและศัตรูธรรมชาติ เพือ่เราจะไดนําเสนอและแสดงตัวอยางจริงที่มีชวีิตใหกับแขกผูรวมงาน

กอนจะสิ้นสุดโรงเรียนเกษตร ทบทวนความทรงจํา หนา 56

วันสาธิต

Page 57: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

การรายงานและวางแผนโรงเรียนเกษตรกร หนา 57 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

การรายงาน อยาลืมเตรียมรายงานโรงเรียนเกษตรกรในรูปเลมที่สวยงาม รายงานนี้มิไดเพียงแคมีประโยชนสําหรับทานเทานั้นแตยังชวยใหทานไดรับการสนับสนุนในอนาคตจากผูใหญของทาน หรือผูที่ใหงบประมาณ รายงานโรงเรียนเกษตรกรที่สมบูรณประกอบดวยดวย ◊ สารบัญ และบทคัดยอ ◊ สถานที่จัดต้ังโรงเรียนเกษตรกร ◊ รายช่ือของวิทยากรพ่ีเลี้ยงและเกษตรกร พรอมที่อยูและเบอรโทรศัพท ◊ ขอมูลพ้ืนฐานของเกษตรกร

• ปฏิทินการเพาะปลูกพืช (วิธีปฏิบัติของเกษตรกร) • ปญหาการทําการเกษตร (เชน โรคพืช แมลงศัตรูพืช ดิน และ น้ํา)

◊ กิจกรรมประจําสปัดาหที่ดําเนินการในโรงเรียนเกษตรกรตลอดฤดูกาลเพาะปลูก ◊ แผนที่แสดงที่ต้ังแปลงศึกษา ที่แสดงรายละเอียดของแปลงไอพีเอ็ม แปลงปฏิบัติตาม

วิธีเกษตรกร และแปลงศึกษาเฉพาะเรื่อง ◊ ปฏิทินการเพาะปลูกพืชของแปลงไอพีเอ็ม และแปลงปฏิบัติตามวิธีเกษตรกร

(ประกอบดวยเสนแสดงระยะเวลา ภาพแสดงการเจริญเติบโตของพืช และกิจกรรมหรือการปฏิบัติในแปลงปลูกพืชทุกสปัดาห)

◊ เปรียบเทียบผลการศึกษาระหวางแปลงปฏิบัติตามวิธีไอพีเอ็ม กับแปลงปฏิบัติตามวิธีเกษตรกร • การเจริญเติบโตของพืช แมลงศัตรูพืช ศัตรูธรรมชาติ และโรคพืช • ตนทุน และผลตอบแทน

◊ การทดลองในแปลงศึกษาเฉพาะเรื่อง • วัตถุประสงคของการศึกษา • วิธีการศึกษา • วิธีการเก็บขอมูล • ผลการศึกษา (ขอมลู) และวิเคราะหผลการศึกษา • สรุปผลการศึกษา

◊ งบประมาณและคาใชจายของโรงเรียนเกษตรกร ◊ ขอเสนอแนะ ◊ ภาพวาดและภาพถายของทานในการสํารวจแปลงและกิจกรรมในแปลง แปลงศึกษาเฉพาะเรื่อง ฯลฯ

Page 58: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

ทบทวนความทรงจํา หนา 58

DANIDA การชวยเหลือเพ่ือการพัฒนาของประเทศเดนมารค

DOA กรมวิชาการเกษตร

DOAE กรมสงเสริมการเกษตร

FAO องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ

FFS โรงเรียนเกษตรกร FP แปลงปฏิบัติตามวิธีเกษตรกร

IPM การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน

MOAC กระทรวงเกษตรและสหกรณ

MOPH กระทรวงสาธารณสุข

NFE การศึกษานอกโรงเรียน

RPF มูลนิธิโครงการหลวง

TEF มูลนิธิการศึกษาไทย

TOT การฝกอบรมเพ่ือเปนวิทยากรพี่เลี้ยง

WHO องคการอนามัยโลก

ชื่อยอ และ คํายอ

ภาคการอบรมสุดทายในโรงเรียนเกษตรกรจะเปนการวางแผนสําหรับฤดูกาลตอไปเนื่องจากเราตองการใหเกษตรกรดําเนินการตอเนื่องและมีการเรียนรูรวมกันในกลุม

ดังนั้นจึงตองมีการปรึกษาหารือกันวาอะไรที่เราไดเรียนรูไปแลวบาง และมีคําถามใดที่เราตองการคําตอบในฤดูกาลถัดไป จากนั้นใหทําแผนสําหรับแปลงศึกษาเฉพาะเรื่องเร่ืองใหม และแบงหนาที่กันรับผิดชอบ พรอมทั้งนัดหมายสําหรับการพบปะกันในครั้งตอไป

กิจกรรมครั้งสุดทายของโรงเรียนเกษตรกรมิไดหมายถึงการสิ้นสุด แตเปนการเริ่มตนสําหรับกิจกรรมฤดูกาลตอไป

ในกรณีที่วิทยากรพ่ีเลี้ยงไมสามารถเขารวมอบรมในฤดูกาลที่สองได ควรใหเกษตรกรผูนําหนึ่งคนหรือมากกวานั้นที่สามารถแสดงบทบาทเปนวิทยากรพี่เลี้ยงแทนไดเปนวิทยากรพี่เลี้ยงในฤดูกาลตอไป

การวางแผนหลังจากโรงเรียนเกษตรกร

Page 59: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

เอกสารอางอิง หนา 59 โรงเรียนเกษตรกรไอพีเอ็ม (IPM)

ASEAN, 1999. Think IPM and take action. Agricultural Training and Extension Publication Se-ries No. 1A. (http://www.aseansec.org/agr_pub/ate1.doc) Bartlett, A.; Bijlmakers, H. (บรรณาธิการ). 2546. วันนี้ลูกของคุณกินยาพิษหรือเปลา? รายงานโดยโครงการ IPM DANIDA . (http://www.ipmthailand.org/th/download_documents.htm) CABI guides Natural enemies. ชุดการเรียนรูศัตรูธรรมชาต ิ ชุดการอนุรักษศัตรูธรรมชาติ และชุดการเพิ่มปริมาณศัตรูธรรมชาติ. (ฉบับภาษาไทยดู http://www.ipmthailand.org/th/download_documents.htm) FAO Ecological Guides (tomato, cabbage, eggplant). Training resource texts produced by the FAO Inter-Country Programme for Integrated Pest Management in Vegetables in South and Southeast Asia.

(ฉบับภาษาไทยชื่อ “คูมอืการจดัการศัตรูพืชและระบบนิเวศกะหล่ําปลี” ดูรายละเอียดที่ http://www.ipmthailand.org/th/download_documents.htm) Fliert, Elske van de; Braun, Ann R., 1999. Farmer Field School for Integrated Crop Management of Sweetpotato. Field guides and Technical Manual. Bogor, Indonesia: International Potato Cen-ter. ISBN: 92-9060-216-3. (http://www.eseap.cipotato.org/MF-ESEAP/Abstract/FFS-ICM-SP-Ind.htm) Henk van den Berg, revised November 2001. Facilitating Scientific Method as follow-up for FFS graduates. (http://www.communityipm.org/downloads.html) Paasterink, Frederike, FAO (March 2004). A Facilitator’s Field Guide, Integrated Pest Manage-ment for Western Corn Rootworm in Central and Eastern Europe (GTFS/RER/017/ITA). Pontius, J.; Dilts, R.; Bartlett, A. (editors), 2002. From farmer field school to community IPM. Ten years of IPM training in Asia. FAO Community IPM programme. FAO Regional Office for Asia and the Pacific. (http://www.communityipm.org/downloads.html)

เว็บไซต : IPM Thailand: www.ipmthailand.org PAN pesticides database: www.pesticideinfo.org Community IPM: www.communityipm.org

Page 60: Refresh your Memory Thai 141005 · 2015-05-20 · • ใช “aesa” แทน “etl” 13 • ... เวลาสามเดือนหรือกว านั้นทั้งนี้เพื่อให

เอกสารฉบบันี้จัดพิมพดวยกระดาษที่นํากลบัมาใชใหม

โครงการ “เสริมสรางความเขมแข็งแกเกษตรกรดานการปองกันและกําจัดศัตรูพืชแบบผสมผสานในพ้ืนที่ที่มีการใชสารกําจัดศัตรูพืชในปริมาณมาก” กรมวิชาการเกษตร 50 ถนนพหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 02-579 9654 โทรสาร 02-579 9655

E-mail: [email protected] www.ipmthailand.org