man lg

56
มนุษยกับภาษา รองศาสตราจารย ศาสตราจารย ดร. กิติมา อินทรัมพรรย

Upload: heritagecivil-kasetsart

Post on 08-Jul-2015

416 views

Category:

Education


2 download

DESCRIPTION

อ.กิตติมา

TRANSCRIPT

Page 1: Man lg

มนุษยกับภาษา

รองศาสตราจารยศาสตราจารย ดร. กิติมา อินทรัมพรรย

Page 2: Man lg

เนื้อหาเนื้อหา

ภาษามนุษยกับภาษาสัตว

หนาท่ีของภาษา

บทบาทของภาษาในสังคม

ววิัฒนาการของภาษามนุษย ววิัฒนาการของภาษามนุษย แนวคิดเกี่ยวกับกําเนิดของภาษามนุษย

ภาษากับตวัอักษร

ตระกูลภาษา

2มนุษยกับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย

Page 3: Man lg

ภาษามนุษยกบัภาษาสัตวภาษามนุษยกบัภาษาสัตวภาษามนุษย ภาษาสัตว

อวัยวะในการออกเสียง

มีระบบภาษาสองระดับทั้งหนวยเสียงและหนวยคํา

มีความสามารถในการเขาใจและสรางคํา

ไมมีอวัยวะในการออกเสียง ไมมี

ไมสามารถคิดคนศัพทใหม สรางประโยคใหม ในสถานการณใหมๆ มักใชการ มีความสามารถในการเขาใจและสรางคํา

แตงประโยค สํานวนใหมๆ

รับภาษาใหมดวยการเรียนรูภาษา

สามารถสื่อสารและอางถึงบุคคลที่ไมเกี่ยวของ หรือ เรื่องในจิตนาการ อดีต หรือ อนาคต

แตละภาษามีการใชคําศัพทแตกตางกัน

ไมสามารถคิดคนศัพทใหม สรางประโยคใหม ในสถานการณใหมๆ มักใชการเลียนแบบ

ระบบการสื่อสารแบบปด ไมสามารถเรียนรูภาษาของสัตวอื่นๆ ได

สื่อสารไดเฉพาะเหตุการณเฉพาะหนา

โตตอบดวยสัญชาตญาณ

3มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 4: Man lg

หนาที่ของภาษา

เปนเครื่องมือในการสือ่สาร

เปนเครื่องมือถายทอดวิทยาการ

สะทอนความคิดของมนุษยในแตละสังคมที่มีตอโลก

สะทอนวัฒนธรรม

บงบอกถึงเอกลักษณและลักษณะของผูใช กลุมสังคม หรือชนชั้น

4มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 5: Man lg

ภาษาเปนเครื่องมือสื่อสาร

ภาษาพูด การใชภาษาแตกตางกันตามสถานการณ ตามบุคคลที่สื่อสารดวย

ภาษาเขียน

ภาษาทาทาง ภาษาทาทาง

สายตา

ทาทาง

ระยะหาง

5มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 6: Man lg

ภาษาเปนเครื่องมือถายทอดวิทยาการ

แฟกซ ์โปสตก์ารด์ อเีมล ์ไลน ์โทรศพัท์

6มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 7: Man lg

ภาษาสะทอนความคิดของคนในสังคม

ภาษาสะทอนความคดิ มุมมองอยางไร ภาษาญ่ีปุน ภาษาไทย ภาษาเขมร มี honorific term

สะทอนเฉพาะกลุมคนตางชนชั้น

ภาษาสะทอนสังคม ภาษาสะทอนสังคม ความสัมพนัธระหวางเครือญาติ - คําเรียกญาติ ความไมเทาเทียมกันทางสังคม การแบงระดับชั้นในสังคม - คํานําหนาชื่อ ความแตกตางระหวางชาย หญิง – master vs. mistress -- นาง นางสาว vs. นาย

7มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 8: Man lg

ภาษาสะทอนวัฒนธรรม

คําวา ‘หิมะ’ ในภาษาอังกฤษ ใหความหมายแตกตางตามประเภทของหิมะ “blizzard", “flurry", "pack", "slush", "drift", "sleet", and "powder”

ฝน ในภาษาไทย ฝน ในภาษาไทย

แสดงลักษณะ ฝน เชน สายฝน ละอองฝน ฝนขาดเม็ด ฝนสั่งฟา พายุฝน ฝนแลง ฝนหลงฤดู

กริยาใชกับ ฝน เชน ฝนกระหน่ํา ฝนชุก ฝนปรอย ฝนพรํา ติดฝน ตากฝน

มโนทศัน คําวา เกรงใจ ไมพบในวัฒนธรรมอื่น

8มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 9: Man lg

สีอะไรPaul Kay, “Synchronic Variability and Diachronic Change in

GRUE

ภาษาสะทอนวฒันธรรม

สีอะไร

http://en.wikipedia.org/wiki/Color_term

Paul Kay, “Synchronic Variability and Diachronic Change in Basic Colour Terms,” in Language, Culture and Cognition (1975) : 257-272.

9มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

วัฒนธรรมที่เรยีบงาย ไมมีควมซับซอนดานเทคโนโลยี มีจํานวนคําเรียกสีพืน้ฐานนอย

Page 10: Man lg

คําเรียกสีกับวัฒนธรรม

ภาษาไทยสุโขทัยมี 5 คํา คอื ขาว ดํา แดง เหลือง เขียว

สีเขียวในภาษาไทยสมัยสุโขทัย มขีอบเขตสีกวางกวาปจจุบัน คือ ครอบคลุม เขยีว น้ําเงิน มวง

-- เขียวดังดอกผักตบ

-- เขียวดังดอกอินทนิล

-- เขียวดังดอกอัญชัน

ในภาษาไทยปจจบุันมี 12 คํา

มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์ 10

Page 11: Man lg

คาํเรยีกสใีนภาษาไทย

สกีบัประสบการณ ์-- สชีอ็กกิ�งพิ�ง สดีอกไลแลก็

สจีากสิ�งของ สตัว ์หรอืสิ�งใกลต้วั -- สแีดงเลอืดหม ูสแีดงกาํมะหยี� สแีดงเลอืดนก สชีมพบูานเยน็ สกีะปิ สอีฐิ http://thorfun.com/oazth/story/51a8a870aeeb59372800c47e

มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์ 11

Page 12: Man lg

ภาษาสะทอ้นสงัคม วฒันธรรม

สาเหตุของการยืมคาํ สภาพภูมิศาสตร ความสัมพันธใกลชิดทางสังคม - ลาว

เขมร พมา มาเลย

การยายถิ่นฐาน ตั้งรกรากของคนในประวัติศาสตร – เขมร การยายถิ่นฐาน ตั้งรกรากของคนในประวัติศาสตร – เขมร ละวา มอญ จีน

การคาขาย - อังกฤษ ฝรั่งเศส จีน โปรตุเกส

การถายทอดทางวรรณคดีและศาสนา – วรรณคดีอินเดียและชวาใชภาษาสันสกฤต ศาสนาพราหมณใชภาษาสันสกฤต ศาสนาพุทธใชภาษาบาลี

12มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 13: Man lg

ตวัอย่างคาํยมืภาษาต่างๆ ในภาษาไทย คาํยืม แสดงถึงความสมัพันธระหวางสังคม วฒันธรรม

จีน - กวยเตีย๋ว บะหมี่ เฉากว๊ย จบัฉ่าย หุน้ หา้ง กง๋ ตุน๋

เขมร – ขนบ ตาํรวจ กะทิ บําบัด เจรญิ ฉงน สงบ

บาลี – กิริยา วิญญาณ อัคคี สัจจะ มจัฉา สูญ

สันสกฤต – อาจารย จุฑา กษัตริย บรุุษ สตรี ศูนย สันสกฤต – อาจารย จุฑา กษัตริย บรุุษ สตรี ศูนย

มาเลย – บูด ูสเตะ ซาหริม่ ปาเตะ ทุเรียน สลัด

มอญ - ประเคน

อังกฤษ - เลน แท็กซี่

โปรตเุกส – สบู ปนโต

ทมิฬ - กุลี

13มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 14: Man lg

ภาษาแสดงเอกลักษณของคนในสังคม

ภาษาแสดงเอกลักษณและภูมิหลังของผูใช เชน เชือ้ชาต ิถิ่นกาํเนิด อายุ เพศ เสียงพยัญชนะเสียงพยัญชนะ

ผูพูดภาษาไทยถิ่นเหนือ -- ฮ แทน ร ใน รัก > ฮัก

สําเนียงบงบอกเจาของภาษาแตละถิ่น

14มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 15: Man lg

ภาษาแสดงเอกลักษณของคนในสังคม

ภาษาแสดงเอกลักษณและภูมิหลังของผูใช เชน เชื้อชาติ ถิ่นกําเนิด อายุ เพศ

ศัพทสแลง

วัยรุน -- เกรียน แจมๆ วัยรุน -- เกรียน แจมๆ

คําลงทาย

เพศหญิง -- นะคะ คะ คะ

เพศหญิง --- เจา (ถิ่นเหนือ)

15มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 16: Man lg

ทฤษฎ/ีขอสันนษิฐานอธิบายกําเนดิของภาษา

แนวคิดทางศาสนาและความเชื่อโบราณ

แนวความคิดทีว่ามนุษยเปนผูสรางภาษาและการเลียนเสียงธรรมชาติการเลียนเสียงธรรมชาติ

แนวความคิดดานวทิยาศาสตร

16มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 17: Man lg

แนวคิดทางศาสนาและความเชื�อโบราณ

ภาษามีกําเนิดมาจากเทพ อาจเนื่องจากภาษามบีทบาทมากในทางศาสนา ปรากฏในบทสวด และพธิีกรรมและพธิีกรรม

17มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 18: Man lg

แนวคิดทางศาสนาและความเชื่อโบราณ

ศาสนาคริสต

เชื่อวาพระผูเปนเจาทรงใหอาํนาจแกอดัม (มนุษยคนแรกของโลก) ในการเรียกชื่อสิ่ง(มนุษยคนแรกของโลก) ในการเรียกชื่อสิ่งตางๆที่เขาพบเหน็

เชื่อวาแรกเริ่มมนษุยทุกคนพูดภาษาเดียวกันหมด

18มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 19: Man lg

ศาสนาคริสต

แรกเริ่มมนุษยทุกคนพูดภาษาเดียวกันหมด

มนุษยทําบาปโดยพยายามทําตัวทัดเทียมพระผูเปนเจา โดยการสรางหอคอยบาเบลพระผูเปนเจา โดยการสรางหอคอยบาเบล

พระผูเปนเจาสาปใหมนุษยเกิดความลําบากในการส่ือสารโดยใหพูดภาษาตางกันไป

เกิดเปนภาษาตางๆขึ้น

19มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 20: Man lg

แนวคิดทางศาสนาและความเชือ่โบราณ

ชาวอียิปตโบราณ

เทพโทท (Thoth) ประทานภาษาใหมนุษย

ภาษาฟรีเจียน (Phrygian) ภาษาแรกของโลก ภาษาฟรีเจียน (Phrygian) ภาษาแรกของโลก คลายภาษากรีก

ศาสนาฮินดู

พระสุรัสวดี (มเหสีของพระพรหม) เปนผูใหกําเนิดภาษา

20มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 21: Man lg

กลุมธรรมชาตินิยม

ชื่อและสิง่ที่ถูกเรยีกมีความสมัพนัธทางธรรมชาติกัน

แนวความคิดที่วามนษุยเปนผูสรางภาษาและเลียนเสียงธรรมชาติ

ธรรมชาติกัน

ภาษาจึงมีคาํเลียนเสียงธรรมชาติซึ่งเปนหลักฐานในการสรางคาํอืน่ตอไป

21มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 22: Man lg

http://www.boredpanda.com/animal-sounds-different-languages-james-chapman/ 22มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 23: Man lg

แนวความคิดที่วามนุษยเปนผูสรางภาษาและเลียนเสียงธรรมชาติ

กลุมประเพณนีิยม

เชื่อวาคํา / ชื่อ เกิดจากการตกลงรวมกันของเจาของภาษาเจาของภาษา

อังกฤษ table

ฝรั่งเศส la table

เยอรมัน die Tabelle

สเปน una mesa

23มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 24: Man lg

แนวความคิดดานวทิยาศาสตร

เชื่อวามนษุยออสตราโลพิเทคัส (4-5 ลานปกอนค.ศ.) ไมนาจะพูดได (หลักฐานทางมนุษยวทิยา)มนุษยวทิยา)

แตตอมามนุษยมพีฒันาการทางอวัยวะในการออกเสียงมากขึน้

24มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 25: Man lg

http://churchofcriticalthinking.org/missing_link.html

Human evolution

25มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 26: Man lg

พฒันาการอวยัวะในการออกเสียง

26มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 27: Man lg

เมื�อช่องของเสียงได้รับการพฒันามากขึ�น มนุษย์สามารถออกเสียงได้ชัดเจนมากขึ�น แต่สูญเสียความสามารถในการหายใจ เคี�ยว และกลนืได้อย่างคล่องแคล่วเหมือนแต่ก่อน

http://www.ling.upenn.edu/courses/ling001/com_bio.html

27มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 28: Man lg

ภาษากบัการเขยีน

อักษรภาพ

อักษรรูปล่ิม

อักษรพยางค และ อักษรตัวเขียน

อักษรในอินเดีย อักษรในอินเดีย

อักษรไทย

28มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 29: Man lg

อกัษรภาพ และ ภาพความคิด

อักษรภาพ (Pictogram)

ใชภาพแทนสิง่ที่เปนรูปธรรม เชนพระอาทิตย พืชผล

ภาพความคิด (Ideogram)

Pictogram of Mesopotemia

ภาพความคิด (Ideogram) ใชแทนความคิด

http://www.hebrew4christians.com/Grammar/Unit_One/Pictograms/pictograms.html

Ancient Hebrew pictogram Petroglyph

29มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 30: Man lg

Modern pictograms and ideogramsAmerican Indian pictogram

Grade 4 pictogram

Grade 4 pictogram

Grade 4 pictogram

30มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 31: Man lg

ภาพความคิด

อักษรภาพ / ภาพความคิด ตางไมมีความสัมพันธกับเสียงในภาษาที่พูด

ภาพความคิดในปจจุบัน เชน ปายจราจรหรอืปายสื่อความหมายตางๆ ความหมายตางๆ

31มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 32: Man lg

32มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 33: Man lg

ฮีโรกลฟิ Hieroglyps

อักษรภาพของชาวอียปิต

ใชในพธิีกรรมทางศาสนา

ผสมผสานระหวางอักษรภาพ ภาพความคดิ ผสมผสานระหวางอักษรภาพ ภาพความคดิ และสัญลักษณรปูคลายที่ใชแทนพยัญชนะ

33มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 34: Man lg

อักษรภาพอียปิต Hieroglyphic

ภาพเขียนในยุคแรก มีลักษณะเปนรูปวาดที่มีลักษณะคลายคลึงกับสิ่งที่ตองการสื่อ

12,425 birds

34มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 35: Man lg

อักษรรูปลิ่ม

มีความเปนภาพนอยลง เพิ่มความเปนสัญลักษณมากขึ้น

เกิดเปนสัญลักษณรูปคลาย เกิดเปนสัญลักษณรูปคลาย

สัญลักษณรูปคลายที่รูจักกันมากที่สุดคือ อักษรรูปลิ่ม

เรียกตามลักษณะของตัวอักษรท่ีประดิษฐขึ้น

ใชเปนสัญลักษณแทนคํา = เริ่มระบบเขียนอยางจริงจัง

35มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 36: Man lg

อักษรรปูลิ่มหรือคนูฟิอรม

อกัษรคูนิฟอร์มหรืออกัษรลิ�มที�ชาวสุเมเรียนประดิษฐขึ์�นเมื�อ 3,500 ปีก่อนคริสตศ์กัราช

http://board.postjung.com/531221.html36มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 37: Man lg

อักษรพยางค และ อักษรตัวเขียน

มาจากการนําอักษรรูปลิ่มไปประยกุตใชแทนพยางคหรือเสียงในภาษา จึงพัฒนาเปนอักษรพยางคพยางค

37มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 38: Man lg

Sumerian writing system development

pictogram cuneiform

38มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 39: Man lg

อักษรพยางค

อักษรฟนีเชียน

อักษรครี

39มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 40: Man lg

อักษรจีน

พัฒนามาจากอักษรภาพ http://www.pasajeen.com/อักษรจีนจํางาย/

อักษรบางตัวใชแทนคํา บางตัวเปนสวนหนึ่งของคํา

เวียดนาม - นําตัวอกัษรจีนมาดัดแปลงใช

- ตอมาไดรับอิทธิพลจากหมอสอนศาสนา ชาวโปรตุเกส ฝรั่งเศส อิตาลี จึง

เปลี่ยนมาใชอักษรโรมัน

40มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 41: Man lg

日[rì] ดวงอาทติย์

木[mù] ไม ้林[lín] ป่า森[sēn] ป่าไม ้

山[shān] ภูเขา

水[shuǐ] นํ�า水[shuǐ] นํ�า

田[tián] นา

夫[fū] ผูช้าย(สาม)ี

舍[shè] บา้นพกั,

门[mén] ประตู

41มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 42: Man lg

อกัษรจีน

เกาหลี - ใช้อกัษรจีนก่อนจะประดิษฐอ์กัษรใช้เอง

ญี�ปุ่ น - รบัอกัษรจีน ญี�ปุ่ น - รบัอกัษรจีน

- ดดัแปลงอกัษรให้เข้ากบัภาษาของตน

42มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 43: Man lg

อักษรในอินเดีย แบงเปน 2 ยุค

ยคุแรก เป็นอกัษรภาพ แต่ขอ้มลูเกี�ยวกบัอกัษรยคุนี�คอ่นขา้งจาํกดั

ยคุที� 2 ยคุที� 2

ปรากฏหลกัฐานในศลิาจารกึของพระเจา้อโศกมหาราช

ม ี2 แบบ คอื อกัษรขโรษฐ ีและ อกัษรพราหม์ ี(ตน้กาํเนิดของอกัษรเขยีนในสมยัต่อมา)

43มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 44: Man lg

อกัษรพราหมี์

อักษรพราหมีพบครั้งแรก ในจารึกของพระเจาอโศกมหาราชแหงราชวงศเมารยะ อักษรพราหมีพบครั้งแรก ในจารึกของพระเจาอโศกมหาราชแหงราชวงศเมารยะ

อักษรพราหมีเปนตนกําเนิดของอักษรเทวนาครี อักษรขอม

อักษรเทวนาครีจากโปรแกรมที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงสราง

http://www.ku.ac.th/e-magazine/jun49/it/it.htm

44มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 45: Man lg

อกัษณคฤณหท์ี�พบในประเทศไทย

ภาพจารึกชื�องสระแจง พุทธศตวรรษที� ๑๒ อกัษรปัลวะ ภาษาสนัสกฤตที�มา :

http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/th/main.php?p=ZGV0YWls&id=12

45มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 46: Man lg

อกัษรไทย

อกัษรไทยที�ประดิษฐโ์ดยพ่อขนุรามคาํแหงมหาราช

น่าจะดดัแปลงมาจากอกัษรขอมหวดั (ดดัแปลง น่าจะดดัแปลงมาจากอกัษรขอมหวดั (ดดัแปลงมาจากอกัษรคฤนท ์ของอินเดียใต้)

46มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 47: Man lg

ภาษาต่างๆในโลก

ภาษาในโลกมีกี�ภาษา

กลุ่มตระกลูภาษา

มีความคล้ายคลึงกนั มีความคล้ายคลึงกนั

สืบทอดมาจากบรรพบรุษุเดียวกนั

47มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 48: Man lg

การแตกตวัของภาษา

ภาษา 1 ภาษา สามารถแตกตวัออกเป็นหลายภาษาได้

เมื�อกาลเวลาผา่นไปยาวนานเมื�อกาลเวลาผา่นไปยาวนาน

มีการอพยพย้ายถิ�น กระจายตวั

48มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 49: Man lg

ตระกูลภาษา (Language Families)

อนิโดยูโรเปียน: ละตนิ, องักฤษ, ฝรั �งเศส, เยอรมนั, สนัสกฤต

ไท : ไทย ลาว ผูไ้ท ไทยดาํ ไทลื�อ

มอญ-เขมร: เขมร มอญ ขม ุละวา้

ไซโนทเิบตนั: จนีกลาง กวางตุง้ พมา่ ทเิบต

ออสโตรนิเชยีน: ไซโนทเิบตนั

ออสโตรนิเชยีน: มาเลย ์อนิโดนีเซยี ตะกะลอค

ฮามโิตซเิมตกิ: อาราบคิ ฮบีรู

49มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 50: Man lg

ภาษาตระกลูอินโด-ยโูรเปียน (Indo-European)

ใช้พดูกนัในยโุรป และบางส่วนในแถบเอเชีย

เชื�อว่าใช้พดูกนัเมื�อ 3,000 ปี ก่อน ค.ศ.

ต่อมาแตกออกเป็นภาษาลกูหลายภาษา เช่น ต่อมาแตกออกเป็นภาษาลกูหลายภาษา เช่น ภาษาองักฤษ ฝรั �งเศส เยอรมนั ฯลฯ

50มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 51: Man lg

ตระกูลภาษาอนิโดยูโรเปียน

Celtic

Latin

Italic Germanic Hellenic Slavic Indo-Iranian

Indo-European

Scottish

Welsh

Irish

Italian

Spanish

French

Portuguese

Latin

German

English

Dutch

West

Swedish

Danish

Norwegian

North

Greek

Ancient Greek Russian

PolishPersian

Old Persian

Hindi

Sanskrit

51มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 52: Man lg

ภาษาตระกลูใซโน-ทิเบตนั (Sino-Tibetan)

ใช้พดูกนัทางเอเชียตะวนัออก

แยกเป็น 2 สาขาใหญ่

ซินิติก (Sinitic) ซินิติก (Sinitic)

ภาษาจีน

จีนกลาง กวางตุ้ง แคะ ไหหลาํ แต้จิ�ว

52มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 53: Man lg

ภาษาตระกลูใซโน - ทิเบตนั (Sino-Tibetan)

ทิเบตนั (Tibetan)

ภาษาทิเบต

ภาษาพม่าภาษาพม่า

ภาษาชนกลุ่มน้อยต่างๆ หลายกลุ่มในเอเชีย เช่น กะฉิ� น

53มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 54: Man lg

ภาษาตระกลูไท (Tai)

ใช้พดูกนัแพร่หลายในเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ เช่น ในไทย ลาว และชนกลุ่มน้อยเชื�อสายไทใน เวียดนาม พม่า อินเดีย มาเลียเซีย และจีนใน เวียดนาม พม่า อินเดีย มาเลียเซีย และจีน

แบง่ออกเป็น 3 กลุ่ม เหนือ กลาง และ ตะวนัตกเฉียงใต้

ภาษาไทย ลาว อยู่ในกลุ่มตะวนัตกเฉียงใต้

54มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 55: Man lg

ภาษาตระกลูแอสโตร-เอเชียติก

ใช้พดูกนัในเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ และทางตะวนัออกของอินเดีย มีตระกลูย่อยแตกออกไปถึง 150 ตระกลู แบง่เป็น 3 สาขาใหญ่ มนัดา (Munda) ใช้พดูกนัทางตะวนัตก มนัดา (Munda) ใช้พดูกนัทางตะวนัตก

นิโคบารีส (Nicobarese) ใช้พดูกนัทางหมู่เกาะนิโคบาร ์แถบอ่าวเบงกอล ทางตะวนัตกของแหลมมลายู

มอญ-เขมร (Mon-Khmer) ใช้พดูกนัทางเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ แบง่เป็นหลายสาขา เช่น มอญ ขม ุเวียดนาม เขมร

55มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์

Page 56: Man lg

ภาษาตระกลูดราวิเดียน

ใช้พดูกนัในบางส่วนของอินเดียและภาคเหนือของศรีลงักา

ภาษาทมิฬ ภาษาทมิฬ

56มนุษย์กบัภาษา รศ.ดร.กติิมา อนิทรัมพรรย์