lay_tai_maesai_chaing rai

27
เส้นสายลายไต ศิลปกรรมวัดผาแตก ศราวุธ คำเงิน อ.แม่สาย จ.เชียงราย

Upload: sakda-yanaroj

Post on 25-Mar-2016

222 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai_Indy2

TRANSCRIPT

Page 1: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไตศิลปกรรมวัดผาแตก

ศราวุธ คำเงิน

อ.แม่สาย จ.เชียงราย

Page 2: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai
Page 3: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

แรงแห่งการขับเคลื่อนสู่สิ่งที่ปรารถนาพุทธศาสนา

เปน็อกีหนึง่ศาสนาทีม่กีศุโลบายสูก่ศุลผลบญุอนัยิง่ใหญก่อ่ให ้

เกิดการสร้างสรรค์เพื่อกุศลผลบุญที่จะปรากฏในภพหน้า

เป็นงานศิลปกรรมตามความเชื่อและศรัทธาจนเปน็แบบแผน

สืบต่อกันมาด้วยศรัทธาในการสร้างสรรค์

ศรัทธา

Page 4: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

การประดับตกแต่งพุทธสถานของชาวไทใหญ่ด้วยการตอกฉลุโลหะ

หรอืทีเ่รยีกตามภาษาทอ้งถิน่ทีเ่รยีกวา่“ปานซอย”เปน็งานศลิปกรรมใน

การตบแต่งพุทธสถานอันเป็นที่เคารพและศรัทธาของชาวไทใหญ่

เส้นสายลายไต

ลวดลาย“ปานซอย”

ประดับชั้นหลังคาวิหารหลังเล็ก

เส้นสายลายไต 2

Page 5: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 3

Page 6: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

ความสวยงามและความรุ่งเรืองอันเนื่องมาจากความศรัทธา

อันแรงกล้าอันมีต่อพุทธศาสนา และสถานที่อันเคารพและเทิดทูญจึง

ก่อให้เกิดงานศิลปะที่งดงามและก่อให้เกิดความหวงแหนของตน

อีกด้วย ในการบำรุงค้ำชูพุทธศาสนาอันเป็นศูนย์กลางของศรัทธา

ของตนตอ้งมคีวามงดงามเปน็ทีส่ดุและคตคิวามเชือ่ในพทุธศาสนานัน้

มักผูกพันอยู่กับธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อม เรื่องราวจักรวาล

งานศลิปกรรมจงึเกีย่วกบัทอ้งฟา้บรรยากาศแผน่ดนิพืน้นำ้พชืพนัธุ์

ในความเชื่อมุ่งหวังแสวงหา ความสมบูรณ์ส่งผล ต่อการสร้างสรรค์

ในการประดับตกแต่งด้วยการ ฉลุโลหะ ประดับประดาตกแต่งงาน

สถาปัตยกรรมให้เกิดความงดงามจึงถือเป็นงานศิลปะเชิงช่างแบบ

ไทใหญ่ซึ่งมีชื่อตามภาษาไทใหญ่ที่เรียกว่า“ปานซอย”

ศรัทธาสู่การสร้างสรรค์

เส้นสายลายไต 4

คติความเชื่อที่ผูกพันธ์กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและจักรวาลคติ

Page 7: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

“ปานซอย” เป็นภาษาไทใหญ่ที่เรียกลวดลายฉลุหรือการต้องลาย

มหีนา้ทีก่ารใชส้อยโดยการใชป้ระดบัตกแตง่อาคารเพือ่กอ่ใหเ้กดิความ

วิจิตรสวยงามการแสดงถึงความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา

นับได้ว่าเป็นการบำรุงพุทธศาสนาได้อีกทางหนึ่ง ลวดลายศิลปะ

ชาวไตและพม่า จะมีความคล้ายคลึงกันมาก อันเนื่องมาจาก

การปกครองของพม่ าที่ มี เหนือกลุ่ ม ไทใหญ่มาตั้ งแต่อดีตมี

ความแตกต่างด้านภาษาอย่างชัดเจนเว้นแต่เรื่องพุทธศาสนา

ที่มีความเลื่อมใสศรัทธาที่เหมือนกัน

เส้นสายลายไต 5

Page 8: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 6

Page 9: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

ลวดลายฉลุโลหะที่มีการแต่งแต้มฝีค้อนให้เกิดลวดลายที่มีมิติ มีการ

ประดับตกแต่งบริเวณชั้นหลังคาด้วยลวดลายพันธุ์พฤกษาโดย

สร้างขึ้นจากลวดลายตามจารีตหรือรูปแบบที่มีการสั่งสมกันมาใน

การสร้างสรรค์งานศิลปกรรมเชิงช่างปานซอยของไทใหญ่ซึ่งจะ

ปรากฏลวดลายประดับบริเวณชั้นหลังคาของศาสนสถานไไไ

แบบแผน งานศิลปกรรมแบบไทใหญ่

เส้นสายลายไต 7

Page 10: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 8

Page 11: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 9

การตกแต่งในตำแหน่งต่างๆบนชั้นหลังคาของวิหาร

ที่มีการสร้างสรรค์อย่างละเอียดบรรจง

Page 12: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 10

Page 13: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

วิธีการสร้างลายเป็นเสมือนสื่อนำเสนอให้คนภายนอกได้เห็น

และรับรู้ถึงคติความเชื่อเบื้องลึกที่สอดแทรกไว้ในงานศิลปกรรม

ว่าสิงสาราสัตว์ที่อุตสาหะนั้นล้วนแต่มีความหมายทั้งสิ้น

สิงห์ ภาษาพม่าเรียกว่า “ฉิ่นเด้” สิงโตเป็นตัวแทนของทวารบาล

ทำหน้าที่เฝ้าทางเข้าออกประตูของสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ที่สำคัญ

ไม่ว่าจะเป็นประตูเมืองประตูวังประตูวัด

ส่างซี่ภาษาไทใหญ่หมายถึงสิงโตเป็นสิงโตชนิดที่เติมรายละเอียด

ให้ต่างจากสิงห์ นิยมสร้างส่างซี่ เป็นงานประติมากรรมปูนปั้น

ตั้งอยู่บริเวณรอบฐานเจดีย์ทั้ง 4 ทิศ แต่ก็มีบ้างที่อยู่บริเวณประตู

ทางเข้าวัดหน้าโบสถ์และบันไดทางขึ้นพระธาตุ

หงส์ เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงความยิ่งใหญ่ของอาณาจักรหงสาวดี

เขตใดที่มีหงส์ปรากฏหมายถึงอำนาจของหงสาวดีที่มาถึงบริเวณนั้น

กระต่าย ใช่คู่กับนกยูงโดยนัยแทนกลางคืนหรือพระจันทร์

เมื่อพบกระต่ายคู่กับนกยูงก็หมายความถึงสัญลักษณ์ของจักรวาล

คติสัตว์มงคลในงานศิลปกรรมไต

เส้นสายลายไต 11ซุ้มโขงฉลุลายที่ประดับภายในวิหารหลังเล็ก

Page 14: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 12

Page 15: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 13

ซุ้มหน้าพระเจ้า ที่มีการตกแต่งด้วยสัตว์ในความเชื่อของ

ชาวไต เช่น กระต่าย กับนกยูงที่ปรากฏอยู่บริเวณด้านซ้าย

และขวาของมุมด้านบน

Page 16: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 14

Page 17: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 15

ภาพถ่ายด้านหน้าที่แดงให้เห็นการตกแต่งชั้นหลังคาของ

วิหารหลังใหญ่และวิหารหลังเล็กโดยเทคนิค“ปานซอย”

Page 18: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 16

Page 19: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 17

มีการประดับตบแต่งบริเวณชั้นหลังคาด้วยเทคนิคการตอกฉลุ

โดยปรากฏลวดลายตามบริเวณเชิงชาย และปั้นลมรวมถึงบริเวณ

สันหลังคาที่ปรากฏการเสริมโครงสร้างสันหลังคาเป็นหลังคา

แบบซ้อนชั้น

วิหารหลังใหญ่

Page 20: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 18

Page 21: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 19

สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2513เป็นวิหารชั้นเดียวก่ออิฐถือปูน

วิหารมีขนาดกว้าง 7.10 เมตร ยาว 16.10 เมตร วิหารหลังเล็ก

มีการประดับตบแต่งบริเวณชั้นหลังคาด้วยเทคนิคการตอกฉลุเหมือน

วิหารหลังใหญ่โดยปรากฏลวดลายตามบริเวณ เชิงชายและปั้นลม

รวมถึงบริเวณสันหลังคาที่ปรากฏ การเสริมโครงสร้างสันหลังคา

เปน็หลงัคาแบบซอ้นชัน้แบบทรงพระยาธาตุคลา้ยหลงัคาของจองพารา

ซึ่งการตบแต่งทั้งหมดทำด้วยวัสดุโลหะอลูมิเนียมตอกฉลุ

รายละเอียดของวิหารหลังเล็กที่สามารถสัมผัสได้ในระดับสายตา

วิหารหลังเล็ก

Page 22: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 20

Page 23: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 21

ตั้ งอยู่ ตำบลเวี ยงพางคำ อำ เภอแม่สาย จั งหวัด เชี ยงราย

สั งกัดคณะสงฆ์มหานิกาย บริ เวณที่ตั้ ง อยู่บนเนื้อที่ 5 ไร่

40 ตารางวา ทิศเหนือจดถนนสาธารณะ ทิศใต้จรดลำห้วย

ทศิตะวนัออกจดถนนสาธารณะทศิตะวนัตกจรดภเูขาดว้ยลกัษณะพืน้ที่

ของวัดผาแตกที่ติดกับภูเขาและหน้าผาจึงเรียกขานพื้นที่บริเวณนี้ว่า

บ้านผาแตก

ภาพถ่ายจากมุมสูงวัดผาแตกที่มีภูผาอยู่ด้านหลัง

วัดผาแตก(ผาคำ )

Page 24: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 22

เ ป็ นอี ก วั ดหนึ่ ง ที่ บ งบอกถึ งลั กษณะ เด่ น ของชาติ พั นธุ์ ไ ตที่

ปรากฏอยู่ในบริเวณอำเภอแม่สาย บริเวณที่ติดต่อกับเพื่อนบ้าน

ประเทศพม่าซึ่งเป็นประเทศที่ส่งอิทธิพลในกาสร้างสรรค์งาน

ศิลปกรรมแบบไทใหญ่อันมีความงดงามตามจารีตที่ส่งต่อกันมาอย่าง

ต่อเนื่องผ่านสังคม ประเพณีและยังคงดำรงอยู่ในสายเลือดของชาวไต

ที่มีความหวงแหนและศรัทธาในศาสนาอย่างมั่นคง

วัดผาแตก

Page 25: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

เส้นสายลายไต 23

ภาพถ่ายมุมสูงบริเวณพระธาตุองค์ใหม่

สามารถมองเห็นบริเวณวัดจนถึงเทือกเขาอำเภอเชียงแสน

Page 26: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai
Page 27: Lay_Tai_Maesai_Chaing Rai

ปกหน้า : ภาพการตกแต่งชั้นหลังคาวิหารหลังเล็ก ปกหลัง : ภาพถ่ายมุมสูง วัดผาแตกจรดถึง อ.เชียงแสน