kasetsart university€¦ · web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ...

17
คคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค คคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค ค Quality and Chemical Composition of atratum grass (paspalumatratum) Ensiled with various levels of Leucaena Leucocephala คคคคคค คคคคคคคค 1* แแแ แแแแแแแแแแแ แแแแแแแแ 1 Jarunee Noola-aong 1* , and Abdulrohim Poh-etae 1 1 133 แ. แแแแแแ 3 แแแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ แ. แแแแแ แ.แแแแแ แ. แแแแ แแแแแแแแแแแแ 95000 1 133 Thetsaban 3 Road, Animal Science, Science Technology and Agricultural, Yala Rajabhat University. Tambol Sateng, Amphoe Mueang, Yala Province, 95000 * แแแแแแ แแแแแแแแ : [email protected] คคคคคคคค แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ แ แแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแแ 5 แแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแ 20 แแแแ แแแแแแแแแแแแ 1 แแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแ 100 แแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแ 2, 3, 4 แแแ 5 แแแแแแ แแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ 5, 10, 15 แแแ 20 แแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแ 15 แแแ 20 แแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแ 20 แแแ 25 แแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ แแ แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ แ แแแแแแแแแแแ แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ (p<0.01) คคคคคคคคค: แแแแแแ, แแแแแแแแแแแแแแแแแ, แแแแแแแแแแแแแ แแแแ

Upload: others

Post on 04-Aug-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

คณุภาพและองค์ประกอบทางเคมขีองหญ้าอะตราตั้มหมกัรว่มกับกระถินในอัตราสว่นต่าง ๆ

Quality and Chemical Composition of atratum grass (paspalumatratum) Ensiled

with various levels of Leucaena Leucocephala

จารุณี หนูละออง1* และ อับดุลรอฮิม เปาะอีแต1 Jarunee Noola-aong1*, and Abdulrohim Poh-etae1

1 133 ถ. เทศบาล 3 สาขาสตัวศาสตร ์คณะวทิยาศาสตรเ์ทคโนโลยแีละการเกษตร มหาวทิยาลัยราชภัฏยะลา ต. สะเตง อ.เมอืง จ. ยะลา รหสัไปรษณีย ์95000

1 133 Thetsaban 3 Road, Animal Science, Science Technology and Agricultural, Yala Rajabhat University. Tambol Sateng, Amphoe Mueang, Yala Province, 95000

* จารุณี หนูละออง : [email protected]บทคัดยอ่

การศึกษาคณุภาพและองค์ประกอบทางเคมขีองหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถินในอัตราสว่นต่าง ๆ โดยศึกษาในถงุพลาสติก เพิม่เพิม่คณุภาพของหญ้าหมกั วางแผนการทดลองแบบสุม่ตลอดประกอบด้วย 5 ทรทีเมนต์ ทรทีเมนต์ละ 20 ซ้ำ้า ทรตีเมนต์ท่ี 1 ได้แก่ หญ้าอะตราตัม้หมกั 100 เปอรเ์ซน็ต์ และทรตีเมนต์ที่ 2, 3, 4 และ 5 ได้แก่ หญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถิน 5, 10, 15 และ 20 เปอรเ์ซน็ต์ ตามล้ำาดับ ศึกษาลักษณะทางคณุภาพและองค์ประกอบทางเคมขีองหญ้าหญ้า อะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถินระดับ 15 และ 20 เปอรเ์ซน็ต์ มคีะแนนเท่ากับ 20 และ 25 คะแนน มลัีกษณะทางกายภาพดี ขณะที่องค์ประกอบทางเคมขีองค่าวตัถแุหง้ โปรตีนรวม ปรมิาณผนังเซลล์ทัง้หมด และปรมิาณเยื่อใยเซลลโูลสของหญ้า อะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถินในอัตราสว่นต่าง ๆ ในแต่ละทรตีเมนต์มคีวามแตกต่างกันทางสถิติ (p<0.01) คำาสำาคัญ: คณุภาพ, องค์ประกอบทางเคม,ี หญ้าอะตราตัม้หมกั

ABSTRACTThe study was to quality and chemical composition of

atratum grass (paspalumatratum) ensiled with various levels of Leucaena Leucocephala in plastic bag for improve silage quality. The experimental was designed in completely randomized design using 5 treatments in 20 replications each treatment. The treatment 1 was fermented atratum grass 100

Page 2: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

% and treatment 2, 3 4 and 5 were fermented atratum grasss with addition 5, 10, 15 and 20 % of Leucaena leucocephala respectively. The physical characteristics and chemical composition of silage were determined. The atratum grasss with addition 15 and 20 % of Leucaena leucocephala were 20 and 25 point and best physical characteristics. The chemical composition of DM, CP, NDF and ADF for each treatment were significantly differential (p<0.01).Key words: Quality, Chemical composition, Atratum grass ensiled

คำานำา

คณุภาพของพชือาหารสตัวห์รอือาหารหยาบของเกษตรกรสว่นใหญ่มกัประสบปัญหาท่ีส้ำาคัญต่อการเล้ียงสตัวเ์คี้ยวเอ้ือง เน่ืองจากปรมิาณและคณุภาพของอาหารหยาบท่ีมคีวามแปรปรวนสงู อีกทัง้ปัญหาการขาดแคลนอาหารหยาบคณุภาพดีในชว่งฤดแูล้ง (สมจติร, 2549) ซึ่งสง่ผลต่อการเล้ียงสตัว ์เน่ืองจากฤดฝูนจะมพีชือาหารสตัวใ์นปรมิาณมากต่อการเล้ียงสตัว ์ขณะท่ีในฤดแูล้งมไีมเ่พยีงพอกับการเล้ียงสตัว ์การท่ีจะท้ำาใหเ้กษตรกรเล้ียงสตัวป์ระสบความส้ำาเรจ็จะต้องพยายามจดัการใหม้พีชือาหารสตัวเ์พยีงพอกับความต้องการของสตัวต์ลอดปี ซึ่งท้ำาได้โดยการเก็บถนอมรกัษาหญ้าไวใ้นรูปหญ้าแหง้ หรอืหญ้าหมกั พชือาหารสตัวท่ี์ท้ำาได้ คือ เชน่ หญ้าชนิดต่าง ๆ กระถิน และต้นขา้วโพด ท่ีเก็บเกี่ยวในขณะที่มคีวามชื้นพอเหมาะน้ำามาหมกัเก็บถนอมไวใ้นสภาพสญูญากาศ เมื่อพชือาหารสตัวส์ด เหล่านี้ได้เปล่ียนสภาพเป็นหญ้าหมกัแล้วจะสามารถอยูไ่ด้เป็นเวลานานโดยคณุค่าทางอาหารไมเ่ปล่ียนแปลง ในพื้นที่จงัหวดัยะลา และจงัหวดัปัตตานี บนถนนสาย 418 มกีารปลกูหญ้า อะตราตัม้เพื่อใหเ้กษตรกรน้ำามาเล้ียงสตัว ์ซึ่งหญ้าอะตราตัม้ หรอืเรยีกทัว่ไปวา่ อุบลพาสพาลัม มชีื่อวทิยาศาสตร ์Paspalum atratum เป็นหญ้าพื้นเมอืงของประเทศบราซลิ และน้ำาเขา้มาในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2537 เป็นหญ้าทีม ี ล้ำาต้นตัง้เป็นกอสงูประมาณ 1 เมตร และขณะมชีอ่ดอกจะสงูมากกวา่ 2 เมตร ใบมขีนาดใหญ่แบบใบกวา้งประมาณ 3 – 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ 50 เซนติเมตร ขอบใบมคีวามคม ลักษณะชอ่ดอกเป็นแบบ raceme เมล็ดมขีนาดเล็กสนี้ำ้าตาลแดงผิวเป็นมนั จากการศึกษาในเบื้องต้นพบวา่หญ้าอะตราตัม้สามารถเจรญิเติบโตได้ดีในพื้นที่ชื้น

Page 3: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

แฉะ และถ้าปลกูในดินที่มคีวามอุดมสมบูรณ์จะใหผ้ลผลิตสงูถึง 3 – 4 ตันต่อไร ่ (สายณัห,์ 2548) ซึ่งหญ้าหญ้าอะตราตัม้มคี่าโปรตีนในสว่นใบเท่ากับ 7.5 เปอรเ์ซน็ต์ ค่า ADF และ NDF เท่ากับ 37.0 และ 64.8 เปอรเ์ซน็ต์ (Hare et., al , 2009) ซึ่งในชว่งฤดฝูนมปีรมิาณหญ้าท่ีมากเกษตรกรเก็บเกี่ยวไมทั่นท้ำาใหห้ญ้ามอีายุท่ีแก่ ไมเ่หมาะสมกับการน้ำามาเล้ียงสตัว ์ดังนัน้หากมกีารปรบัปรุงหญ้าดังกล่าวโดยการหมกัรว่มกับกระถินจะเป็นการถนอมหญ้าไวใ้ชใ้นชว่งฤดแูล้ง เนื่องจาก ในกระถินมีโปรตีนสงูถึง 29.2 เปอรเ์ซน็ต์ เฉพาะสว่นใบมโีปรตีน 22.03 เปอรเ์ซน็ต์ (Truong Giang et., al , 2016) ขณะท่ี Angthong et., al , (2007) รายงานวา่ ในกระถินสดมปีรมิาณวตัถแุหง้ โปรตีน เยื่อใยผนังเซลล์ และลิกโนเซลลโูลส เท่ากับ 30.49, 23.50, 39.14 และ 23.70 เปอรเ์ซน็ต์ ซึ่งการหมกัจงึเป็นวธิกีารหนึ่งในการเพิม่ประโยชน์ ดังนัน้การวจิยัครัง้นี้จงึด้ำาเนินไปเพื่อแสดงใหเ้หน็ถึงคณุภาพของหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถินในอัตราสว่นต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการใช้ประโยชน์จากหญ้าอะตราตัม้และกระถินต่อไป

อุปกรณ์และวธิกีาร

การศึกษาคณุภาพและองค์ประกอบทางเคมขีองหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถินในอัตราสว่นต่าง ๆ โดยท้ำาการศึกษา 5 ทรทีเมนต์ 20 ซ้ำ้า ได้แก่ (T1) หญ้าอะตราตัม้หมกั 100 เปอรเ์ซน็ต์ (T2) หญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถิน 5 เปอรเ์ซน็ต์ (T3) หญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถิน 10 เปอรเ์ซน็ต์ (T4) หญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถิน 15 เปอรเ์ซน็ต์ และ (T5) หญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถิน 20 เปอรเ์ซน็ต์ โดยใชห้ญ้าอะตราตัม้และกระถิน โดยใชส้ว่นของใบกระถินสดพรอ้มกิ่งเขยีวท่ีไมม่กีิ่งแขง็ สนี้ำ้าตาลน้ำาหญ้าและกระถินมาสบัด้วยเครื่องสบัท่ีมกี้ำาลัง 5.5 แรงมา้ โดยพชืท่ีได้จะมขีนาด 2-3 เซนติเมตร ท้ำาการชัง่น้ำาหญ้าอะตราตัม้และกระถิน และเติมกากน้ำ้าตาล 4 เปอรเ์ซน็ต์ในทกุทรทีเมนต์ ท้ำาการหมกัในถัง และถงุหมกัชนิดหนาพเิศษ และดดูอากาศออก มดัปากถงุใหแ้น่นเก็บไวใ้นท่ีรม่ จนครบ 21 วนั เก็บตัวอยา่งหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถินแต่ละสตูรท่ีอายุการหมกั 21 วนั เพื่อประเมนิลักษณะทางกายภาพของหญ้าอะตราตัม้หมกั ตามเกณฑ์พชืหมกัตามมาตรฐานของกองอาหารสตัว ์(กรมปศุสตัว,์ 2547) และน้ำาตัวอยา่งตัวอยา่งมาอบแหง้ท่ี 65˚ C แล้วบดผ่านตะแกรงขนาด 5 และ 1 มลิลิลิตร เพื่อและท้ำาการวเิคราะห์หาคณุค่าทางโภชนะ (Proximate analysis) ท่ีเป็นค่าวตัถแุหง้ (Dry Matter) อินทรยีวตัถ ุ(OM) โปรตีนรวม (Crude protein: CP) (AOAC, 1995) ผนังเซลล์ (Neutral Detergent Fiber: NDF) และ ลิกโนเซลลโูลส (ADF) ตามวธิีของ Goering and Van Soest (1970) และศึกษาค่าความเป็นกรด-ด่างของ

Page 4: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

หญ้าหมกัทกุระยะของการทดลองด้วย pH-meter ด้วยวธิขีอง Bolsen, Curtis, Lin & Dickerson (1990) น้ำาขอ้มูลที่ได้จากการวเิคราะหไ์ปท้ำาการศึกษาความแตกต่างทางสถิติด้วยวธิวีเิคราะหค์วามแปรปรวน (Analysis Of Variance : ANOVA) และหากพบวา่มอิีทธพิลของ Treatment ก็ท้ำาการเปรยีบเทียบความแตกต่างระหวา่งค่าเฉล่ียด้วยวธิ ีDuncan‚ s New Multiple Range Test : DMRT โดยใชโ้ปรแกรมส้ำาเรจ็รูป

ผลการทดลองและวจิารณ์

คณุภาพของหญ้าอะตราตั้มการศึกษาคณุภาพของหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถินในอัตราสว่นต่าง ๆ

ทางด้านส ีพบวา่ การหมกัหญ้า อะตราตัม้ อยา่งเดียวมลัีกษณะทางกายภาพ ด้านสเีขยีวอมเหลือง หรอืเขยีวเขม้ ซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 2 คะแนน ขณะท่ีหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถิน 5 เปอรเ์ซน็ต์ จะมนี้ำ้าตาลเขม้ หรอืด้ำา ซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 0 คะแนน หญ้าอะตราตัม้รว่มกับกระถิน 10 เปอรเ์ซน็ต์ พบวา่ จะมสีเีขยีวอมเหลือง หรอืเขยีวเขม้ ซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 2 คะแนน เมื่อหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถิน 15 เปอรเ์ซน็ต์ พบวา่ จะมเีขยีวอมเหลือง หรอืเขยีวเขม้ ซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 2 คะแนน และหญ้า อะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถิน 20 เปอรเ์ซน็ต์ พบวา่ จะมีสเีหลืองอมเขยีว หรอืสกีากี ซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 3 คะแนน (Figure 1) (Table 1) ซึ่งใกล้เคียงกับผลการทดลองของ วชัราภรณ์ (2550) ท่ีรายงานวา่หญ้าแพงโกล่าหมกัรว่มกับกระถิน 20 เปอรเ์ซน็ต์ จะมลัีกษณะทางกายภาพด้านส ีเป็นสเีหลืองอมเขยีว หรอืสกีากี และใกล้เคียงกับกับการทดลองของ บุญสง่ และคณะ (2555) พบวา่คณุภาพการหมกัท่ีเก็บรกัษาหลังการหมกันาน 1 เดือน มลัีกษณะทางกายภาพด้านส ีคือจะมสีเีหลืองอมเขยีว หรอืสกีากีเชน่กัน

ด้านกล่ิน พบวา่ การหมกัหญ้าอะตราตัม้ อยา่งเดียวมลัีกษณะทางกายภาพ ด้านกล่ินมกีล่ินฉนุมาก และเหมน็เล็กน้อย ซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 4 คะแนน ขณะท่ีหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถิน 5 เปอรเ์ซน็ต์ พบวา่ จะมกีลิ่นเหมน็เน่า หรอืมกีลิ่นราซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 0 คะแนน ขณะท่ีหญ้าอะตราตัม้รว่มกับกระถิน 10 เปอรเ์ซน็ต์ พบวา่ จะมกีล่ินฉนุมาก และเหมน็เล็กน้อย ซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 4 คะแนน ขณะท่ีหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถิน 15 เปอรเ์ซน็ต์ พบวา่ จะมไีมห่อมคล้ายกลิ่นผลไมด้อง มีกล่ินฉนุเล็กน้อย ซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 8 คะแนน และหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถิน 20 เปอรเ์ซน็ต์ พบวา่ จะมกีลิ่นหอมคล้ายกล่ินผลไมด้อง หรอืน้ำ้าสม้สายชู ซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 12 คะแนน (Table 1) ซึ่งใกล้เคียงกับผลการทดลองของ วชัราภรณ์ (2550) ท่ีรายงานวา่หญ้าแพงโกล่าหมกัรว่มกับกระถิน 20 เปอรเ์ซน็ต์ จะมี

Page 5: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

ลักษณะทางกายภาพด้านกลิ่นพบวา่ จะมกีล่ินหอมคล้ายกล่ินผลไมด้อง และเมื่อเปรยีบเทียบกับการทดลองของ บุญสง่ และคณะ (2555) พบวา่คณุภาพการหมกัท่ีเก็บรกัษาหลังการหมกันาน 1 เดือน มลัีกษณะทางกายภาพด้านกลิ่น คือจะมกีล่ินหอมคล้ายกล่ินผลไมด้อง

ทางด้านเนื้อหญ้าหมกั พบวา่ เนื้อหญ้าหมกัของหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถิน ท่ีระดับ 0, 5, 10, 15 และ 20 เปอรเ์ซน็ต์ มลัีกษณะทางกายภาพด้านเนื้อหญ้าหมกั คือมลัีกษณะเนื้อแน่น มสีว่นใบและล้ำาต้นที่ยงัคงสภาพเดิม โดยรวมทัง้ 5 ทรทีเมนต์จะเหมอืนกัน ซึ่งมคี่าเท่ากับ 4 คะแนน (Table 1) ซึ่งสอดคล้องกับการทดลองของ นิรนัดร (2558) ทีรายงานวา่ลักษณะทางกายภาพของหญ้าซกิแนลเล้ือยหมกัรว่มกับกระถิน ท่ีระดับ 0, 5, 10, 15 และ 20 เปอรเ์ซน็ต์ มลัีกษณะทางกายภาพด้านเน้ือหญ้าหมกั คือมลัีกษณะเนื้อแน่น มสีว่นใบและล้ำาต้นที่ยงัคงสภาพเดิม โดยรวมทัง้ 5 ทรทีเมนต์จะเหมอืนกัน ซึ่งมคี่าเท่ากับ 4 คะแนน จะมลัีกษณะคณุภาพดีมาก

ความเป็นกรด-ด่างบง่บอกถึงคณุภาพของพชืหมกัได้ ทางด้าน pH หรอืความเป็นกรด-ด่างของหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถินในอัตราสว่นต่าง ๆ ท่ีระดับ 0, 5, 10, 15 และ 20 เปอรเ์ซน็ต์ เพื่อวดัระดับความเป็นกรด-ด่างในหญ้าหมกั เป็นปัจจยัส้ำาคัญท่ีบง่ชีถึ้งคณุภาพของหญ้าหมกั ถ้าพชือาหารสตัวห์มกัมคี่าความเป็นกรด-ด่างท่ีต้ำ่ากวา่ 4.2 จะท้ำาใหเ้กิดการยบัยัง้การท้ำางานของจุลินทรยีท์กุชนิด ซึ่งเป็นการท้ำาใหเ้กิดความคงสภาพของพชืหมกั ผลการทดลองพบวา่หญ้าหมกัอยา่งเดียวม ีpH สงูเท่ากับ 4.63 สว่นหญ้าอะตราตัม้ท่ีหมกัรว่มกับกระถินท่ีระดับ 5, 10, 15 และ 20 เปอรเ์ซน็ต์ จะมคี่าความเป็นกรด-ด่างเฉล่ียเท่ากับ 4.93, 4.14, 4.08 และ 4.07 ตามล้ำาดับ สอดคล้องกับการทดลองของ นิรนัดร (2558) ทีรายงานวา่ ระดับความเป็นกรด-ด่างในพชืหมกัเป็นปัจจยัท่ีส้ำาคัญท่ีบง่ชีถึ้งคณุภาพของพชืหมกั ถ้าพชือาหารสตัวห์มกัมคี่าความเป็นกรด-ด่างท่ีต้ำ่ากวา่ 4.2 จะท้ำาใหเ้กิดการยบัยัง้การท้ำางานของจุลินทรยีท์กุชนิด ซึ่งเป็นการท้ำาใหเ้กิดความคงสภาพของพชืหมกั ผลการทดลองพบวา่หญ้าซกิแนลเล้ือยหมกัอยา่งเดียวม ีpH สงูเท่ากับ 4.54 สว่นหญ้าซกิแนลเล้ือยท่ีหมกัรว่มกับกระถินท่ีระดับ 5,10,15 และ 20 เปอรเ์ซน็ต์ จะมคี่าความเป็นกรด-ด่างเฉล่ียเท่ากับ 3.81, 3.92, 4.04 และ 4.28 ตามล้ำาดับ ซึ่งมีความแตกต่างกันอยา่งมนีัยส้ำาคัญทางสถิติ (P<0.05) หญ้าซกิแนลเล้ือยหมกัอยา่งเดียวมคี่าความเป็นกรด-ด่างสงูกวา่หญ้าซกิแนลเล้ือยหมกัรว่มกับกระถิน พชืหมกัท่ีดีควรมคี่าความเป็นกรด-ด่าง อยูร่ะหวา่ง 3.5-4.2 และเมื่อเปรยีบเทียบกับการทดลองของสมศักดิ์ และคณะ (2547) ได้ศึกษาเรื่อง หญ้าเนเปียรห์มกัรว่มกับกระถิน พบวา่หญ้าหมกัท่ีได้มคีณุภาพดีมคี่าความเป็นกรด-ด่างเท่ากับ 4.2 ซึ่งพชื

Page 6: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

หมกัท่ีดีควรมคี่าความเป็นกรด-ด่างอยูร่ะหวา่ง 3.5-4.2 (เกียรติศักดิ์ และคณะ, 2548) อยา่งไรก็ตาม หญ้าอะตราตัม้หมกัในทกุทรทีเมนต์ที่ 3, 4 และ 5 จดัอยูใ่นพชืหมกัที่มคีณุภาพดีเมื่อพจิารณาเฉพาะค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH 4.14-4.07)

ลักษณะทางกายของหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกระถิน พบวา่การหมกัหญ้าอะตราตัม้อยา่งเดียวมลัีกษณะทางกายภาพอยูใ่นเกณฑ์ปานกลาง ซึ่งมคีะแนนเท่ากับ 14 คะแนน ขณะท่ีหญ้าอะตราตัม้รว่มกับกระถิน 5 เปอรเ์ซน็ต์ พบวา่ มลัีกษณะทางกายภาพอยูใ่นเกณฑ์ ปานกลาง ซึ่งมคีะแนนเท่ากับ 6 คะแนน เมื่อหญ้าอะตราตัม้รว่มกับกระถิน 10 เปอรเ์ซน็ต์ พบวา่ มลัีกษณะทางกายภาพอยูใ่นเกณฑ์ดี ซึ่งมคีะแนนเท่ากับ 16 คะแนน และหญ้าอะตราตัม้รว่มกับกระถิน 15, 20 เปอรเ์ซน็ต์ พบวา่ มีลักษณะทางกายภาพอยูใ่นเกณฑ์ดีมาก ซึ่งมคีะแนนเท่ากับ 20, 25 คะแนน (Table 1) ซึ่งลักษณะของพชืหมกัที่ดีควรมสีเีขยีวแกมเหลือง หรอืสนี้ำ้าตาลอ่อน ถ้าปรากฏเป็นสนี้ำ้าตาลไหมห้รอืสดี้ำา แสดงวา่เกิดความรอ้นมากในขณะหมกั ท้ำาใหส้ารอินทรยี์สลายตัว เป็นการสญูเสยีโภชนะหรอืธาตอุาหาร (วทิยา และคณะ, 2547) และควรมีกล่ินหอมของกรด ไมเ่น่าเหมน็ กลิ่นไมฉ่นุ พชืหมกัท่ีมกีลิ่นฉนุสตัวไ์มช่อบกิน ถ้ามีกล่ินแอมโมเนียหรอืกล่ินกรดบวิทีรกิแสดงวา่พชืหมกันัน้สญูเสยีคณุค่าทางอาหาร และมกีารเจรญิของแบคทีเรยีกลุ่ม Clostridia ซึ่งไมต้่องการในกระบวนการหมกั ท้ำาใหก้รดแลคติก น้ำ้าตาล และโปรตีนในพชืหมกัถกูยอ่ยสลาย จงึท้ำาใหเ้กิดกล่ินเหมน็

องค์ประกอบทางเคมขีองหญ้าอะตราตั้มหมกัรว่มกับกระถินการเพิม่กระถินมแีนวโน้มใหว้ตัถแุหง้ของหญ้าหมกัลดลง หญ้าอะตราตัม้หมกั

ผสมกากน้ำ้าตาลอยา่งเดียวมวีตัถแุหง้ 33.65 เปอรเ์ซน็ต์ เมื่อผสมกระถินลงไป 5, 10, 15 และ 20 เปอรเ์ซน็ต์น้ำ้าหนักสด จะมวีตัถแุหง้ในทรทีเมนต์ท่ี 2, 3 4 และ 5 เท่ากับ 30.90, 29.51, 27.90, และ 27.00 เปอรเ์ซน็ต์ ตามล้ำาดับ (Table 2) ซึ่งมคีวามแตกต่างกันอยา่งมนีัยส้ำาคัญทางสถิติ การลดลงของวตัถแุหง้ของหญ้าอะตราตัม้หมกั เนื่องจากหญ้าอะตราตัม้สดท่ีน้ำามาหมกัเป็นหญ้าท่ีมอีายุมากกวา่ 90 วนั ซึ่งอายุและระยะการเจรญิเติบโตของหญ้าเมื่อมอีายุมากขึ้น ระดับโปรตีนจะลดลง แต่ปรมิาณเยื่อใยจะสงูขึ้น ขณะที่ค่าการยอ่ยได้ของวตัถแุหง้จะลดลง เมื่อเขา้สูร่ะยะการเจรญิพนัธุ ์หญ้าอาหารสตัวเ์จรญิทางล้ำาต้นมากกวา่ทางใบ ท้ำาใหอั้ตราสว่นระหวา่งใบต่อล้ำาต้นลดลง จงึเป็นสาเหตทุ้ำาใหร้ะดับโปรตีนรวมและค่าการยอ่ยได้ลดลงอยา่งรวดเรว็ ซึ่งจะสง่ผลใหป้รมิาณการกินได้ของสตัวล์ดลง เชน่เดียวกับคณุภาพหญ้าอาหารสตัวจ์ะลดลงไปตามระยะการเจรญิเติบโตของพชื ซึ่งลดลงทกุๆ สองถึงสามวนั ประมาณ 0.5 เปอรเ์ซน็ต์ (Cecilia et al., 2007) นอกจากนี้ สดัสว่นของกระถินท่ีเพิม่ขึ้นและหญ้าอะตราตัม้ท่ีลดลง จงึสง่ผลใหว้ตัถแุหง้ของหญ้าอะตราตัม้หมกัลดลง ความชื้นของหญ้าหมกัท่ีดีควรอยูร่ะหวา่ง 60-70 เปอรเ์ซน็ต์ หรอืมวีตัถุ

Page 7: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

แหง้ 30-40 เปอรเ์ซน็ต์ (Collins and Owens, 2003) ซึ่งหญ้าอะตราตัม้หมกัทัง้ 4 ทรทีเมนต์ มปีรมิาณของวตัถแุหง้อยูใ่นเกณฑ์ของหญ้าหมกัท่ีดี (27.00-33.65 เปอรเ์ซน็ต์)

การเพิม่ระดับของกระถินในการหมกัมผีลใหป้รมิาณเถ้าในหญ้าอะตราตัม้หมกัสงูขึ้นอยา่งมนีัยส้ำาคัญทางสถิติ (P<0.05) การเสรมิกระถินที่ระดับ 5, 10, 15 และ 20 เปอรเ์ซน็ต์จะท้ำาใหม้ปีรมิาณเถ้าสงูกวา่การไมเ่สรมิกระถิน ปรมิาณเถ้าของหญ้าอะตราตัม้หมกัทัง้ 5 ทรทีเมนต์ 5, 10, 15 และ 20 จะมคี่าเท่ากับ 7.46, 8.12, 9.13, 9.70 และ 9.90 เปอรเ์ซน็ต์ ตามล้ำาดับ ปรมิาณเถ้าท่ีเพิม่ขึ้นในหญ้าอะตราตัม้หมกัท่ีมกีารเสรมิกระถิน เกิดจากปรมิาณเถ้าของใบกระถิน อีกทัง้อาจเกิดจากปรมิาณเถ้าในกากน้ำ้าตาล ซึ่ง กากน้ำ้าตาลจะมปีรมิาณเถ้าสงูถึง 8-12 เปอรเ์ซน็ต์ (Taskin et al., 2016) จงึท้ำาใหห้ญ้าอะตราตัม้หมกัที่ไมเ่สรมิกระถินมปีรมิาณเถ้า 7.46 เปอรเ์ซน็ต์ แต่เมื่อเพิม่กระถินท้ำาใหป้รมิาณเถ้าเพิม่ขึ้นตามล้ำาดับ

ปรมิาณโปรตีนในหญ้าหญ้าอะตราตัม้หมกัท่ีไมเ่สรมิกระถิน และเสรมิกระถินท่ีระดับ 0, 5, 10, 15 และ 20 เปอรเ์ซน็ต์ มคีวามแตกต่างกันอยา่งมนีัยส้ำาคัญยิง่ทางสถิติ (P<0.01) ปรมิาณโปรตีนในหญ้าอะตราตัม้หมกัจะเพิม่ขึ้นตามปรมิาณของกระถิน เนื่องจากใบกระถินมปีรมิาณโปรตีน ประมาณ 23.3- 24 เปอรเ์ซน็ต์ (Heuzé and Tran, 2013; Angthong et., al , 2007) สงูกวา่หญ้าหญ้าอะตราตัม้ ดังนัน้ เมื่อน้ำามาหมกัรว่มกันโปรตีนในหญ้าหญ้าอะตราตัม้หมกัจงึสงูขึ้นตามสดัสว่นของกระถิน ปรมิาณโปรตีนของหญ้าอะตราตัม้หมกัทัง้ 5 ทรทีเมนต์ มคี่าเฉล่ียเท่ากับ 8.21, 9.40, 9.75, 11.24 และ 11.57 เปอรเ์ซน็ต์ ตามล้ำาดับ (Table 2) ซึ่งการใชถ้ัว่อาหารสตัวห์มกัรว่มกับหญ้าสามารถเพิม่เปอรเ์ซน็ต์โปรตีนของหญ้าหมกัได้

ปรมิาณผนังเซลล์ทัง้หมด (cell wall neutral detergent fiber: NDF) ประกอบไปด้วยเซลลโูลส เฮมเิซลลโูลส ลิกนิน ซลิิก้า คิวติน และโปรตีนท่ีติดอยูก่ับผนังเซลล์ (อังคณา และ ดวงสมร, 2532) โภชนะสว่นนี้สตัวก์ระเพาะรวมใช้ประโยชน์ได้ค่อนขา้งมากโดยผ่านกระบวนการของจุลินทรยีใ์นกระเพาะรูเมน แต่มขีอ้จ้ำากัดในการยอ่ยโดยน้ำ้ายอ่ยหรอืเอนไซมจ์ากตัวสตัว ์ ดังนัน้หญ้าหมกัท่ีดีจงึควรมีปรมิาณ NDF ต้ำ่า (สมจติร, 2549) จากการทดลอง หญ้าอะตราตัม้หมกัท่ีเพิม่ระดับของกระถินในการหมกั สง่ผลใหป้รมิาณผนังเซลล์ทัง้หมดในแต่ละทรทีเมนต์มคีวามแตกต่างกันอยา่งมนัียส้ำาคัญยิง่ทางสถิติ (P<0.01) โดยมคี่าเฉล่ียของหญ้าหมกัทัง้ 5 ทรทีเมนต์ เท่ากับ 68.49, 67.19, 66.03, 64.18 และ 61.57 เปอรเ์ซน็ต์วตัถแุหง้ ตามล้ำาดับ ผลการทดลองครัง้นี้ พบวา่หญ้าอะตราตัม้ที่หมกัโดยไมเ่สรมิกระถินมคี่า NDF สงูกวา่หญ้าอะตราตัม้ท่ีหมกัโดยการเสรมิใบกระถิน ทัง้นี้เกิดจาก

Page 8: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

หญ้าหมกัท่ีหมกัโดยใชใ้บกระถิน ม ีpH ต้ำ่าลงในระดับท่ีจะรกัษาสภาพของหญ้าหมกัไวไ้ด้รวดเรว็ ท้ำาใหห้ญ้าอะตราตัม้หมกัดังกล่าวมปีรมิาณ NDF ต้ำ่า

ปรมิาณเยื่อใยลิกโนเซลลโูลส (Acid detergent fiber: ADF) ประกอบไปด้วย เซลลโูลส ลิกนิน เคราติน ซลิิก้า และสารประกอบไนโตรเจนท่ีมลิีกนินแทรกอยู ่(อังคณา และ ดวงสมร, 2532) ADF ถกูยอ่ยได้ยากโดยจุลินทรยีใ์นกระเพาะรูเมนของสตัว ์ดังนัน้เมื่ออาหารหยาบมปีรมิาณ ADF สงูขึ้นจงึหมายถึงอาหารหยาบนัน้มคีณุภาพต้ำ่าลง ผลการทดลองครัง้นี้ หญ้าอะตราตัม้หมกัท่ีเพิม่ระดับของกระถินในการหมกั สง่ผลใหป้รมิาณเยื่อใยลิกโนเซลลโูลสในแต่ละทรทีเมนต์มคีวามแตกต่างกันอยา่งมนัียส้ำาคัญยิง่ทางสถิติ (P<0.01) โดยมคี่าเฉล่ียทัง้ 5 ทรทีเมนต์ เท่ากับ 43.90, 42.00, 41.90, 40.75 และ 41.41 เปอรเ์ซน็ต์วตัถแุหง้ ตามล้ำาดับ ซึ่งมเีหตผุลเชน่เดียวกับปรมิาณ NDF ดังท่ีได้กล่าวมาแล้ว คือ พชืท่ีหมกัโดยใชส้ารเสรมิม ีpH ต้ำ่าลงในระดับท่ีจะรกัษาสภาพของหญ้าหมกัไวไ้ด้ดีกวา่พชืท่ีหมกัโดยวธิปีรกติ

Table 1 The qualities of atratum grass preserved with several level of Leucaena leucocephala

Ensiling Color odor texture pH

Overall

score

overall characteristic

100 % of

atratum grass

Yellowish

green or dark green (score

2)

Mush pungent and a little

stinking (score 4)

compacted, leaves and

trunks were remain as ever (score 4)

4.63(score 4)

14 moderately

atratum grass + 5 % Leucaena

leucocephala

Dark brown

or

Rotten or moldy stinking (score 0)

compacted, leaves and

trunks were remain as ever

4.93(score 2)

6 moderately

Page 9: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

black(score

0)

(score 4)

atratum grass + 10 %

Leucaena leucocephala

Yellowish

green or dark green (score

2)

mush pungent and a little

stinking (score

4)

compacted, leaves and

trunks were remain as ever (score 4)

4.14(score 6)

16 well

atratum grass + 15 %

Leucaena leucocephala

Yellowish

green or dark green (score

2)

no fragrant, a little pungent(score 8)

compacted, leaves and

trunks were remain as ever (score 4)

4.08(score 6)

20 excellent

atratum grass + 20 %

Leucaena leucocephala

Greenish

yellow or

cinnamon

(score 3)

fragrant like preserve fruit

or vinegar(score

12)

compacted, leaves and

trunks were remain as ever (score 4)

4.07(score 6)

25 excellent

Score: 20-25 = very good, 15-19 = good, 6-14 = fair, 0-4 = bad

Page 10: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

atratum grass ensiled 100 atratum grass + leucaena 5 %

atratum grass + leucaena 10 % atratum grass + leucaena 15 %

atratum grass + leucaena 20 %

Figure 1 The qualities of atratum grass preserved with several level of Leucaena leucocephala

Page 11: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

Table 2 Chemical Composition of atratum grass (paspalumatratum) Ensiled with various levels of Leucaena Leucocephala

Atratum grass ensiled

pH DM Ash CP NDF

ADF

atratum grass ensiled 100 %

4.63B

33.65A

7.46c

8.21C

68.49A

43.90a

atratum grass + leucaena 5 %

4.93A

30.90B

8.12cd

9.40B

67.19B

42.00b

atratum grass + leucaena 10 %

4.14C

29.51BC

9.13ab

9.75B

66.03B

41.90b

atratum grass + leucaena 15 %

4.08D

27.90CD

9.70a

11.24A

64.18C

40.75b

atratum grass + leucaena 20 %

4.07D

27.00D

9.90a

11.57A

61.57D

41.41b

SEM 0.015

0.508

0.355

0.256

0.329

0.473

P-Value P<0.01

P<0.01

P<0.05

P<0.01

P<0.01

P<0.05

A, B, C, D = Means in the same row of same comparison parameter factor with different superscript differ significantly (P<0.01)a,b,c,d = Means in the same row of same comparison parameter factor with different superscript differ significantly (P<0.05)SEM = Standard error of the mean

สรุป

จากการศึกษาคณุภาพและองค์ประกอบทางเคมขีองหญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถินในอัตราสว่นต่าง ๆ ท่ีระดับ 0, 5, 10, 15 และ 20 เปอรเ์ซน็ต์ ผลปรากฏวา่ หญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถินท่ีมรีะดับ 15 – 20 เปอรเ์ซน็ต์ ซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 20 และ 25 คะแนน จะมลัีกษณะทางกายภาพ ดีมาก รองลงมา หญ้า อะตราตัม้รว่มกับกระถินที่ระดับ 10 เปอรเ์ซน็ต์ ซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 16 คะแนน จะมีลักษณะทางกายภาพ ดี หญ้าอะตราตัม้หมกัรว่มกับกระถินท่ีระดับ 5 เปอรเ์ซน็ต์ ซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 6 คะแนน จะมลัีกษณะทางกายภาพ ปานกลาง และหญ้าอะตราตัม้

Page 12: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

หมกัอยา่งเดียว ท่ีระดับ 100 เปอรเ์ซน็ต์ ซึ่งมคีะแนน เท่ากับ 14 คะแนน จะมีลักษณะทางกายภาพปานกลาง ขณะท่ีองค์ประกอบทางเคมพีบวา่การเพิม่กระถินมีแนวโน้มใหว้ตัถแุหง้ของหญ้าหมกัลดลง และการเพิม่ปรมิาณของกระถินสง่ผลให้หญ้าอะตราตัม้หมกัมคี่าโปรตีนท่ีเพิม่ขึ้น และยงัสง่ผลใหป้รมิาณผนังเซลล์ทัง้หมดและปรมิาณเยื่อใยลิกโนเซลลโูลสมคีวามแตกต่างกัน

กิตติกรรมประกาศผู้วจิยัใครข่อขอบคณุมหาวทิยาลัยราชภัฏยะลาท่ีสนับสนุนงบประมาณการวจิยั

ประจ้ำาปี พ. ศ. 2559

เอกสารอ้างอิง

กรมปศุสตัว.์ 2547. มาตรฐานพชือาหารสตัวห์มกั. กรุงเทพฯ: กองอาหารสตัว ์กรมปศุสตัว ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.เกียรติศักดิ์ กล้ำ่าเอม, เกียรติสรุกัษ์ โภคสวสัดิ์, วริชั สขุสราญ และ ฉายแสง ไผ่แก้ว.

2548. เอกสารค้ำาแนะน้ำาหญ้าหมกั. พมิพค์รัง้ท่ี 3. กรมปศุสตัว ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.

นิรนัดร หนักแดง. 2558. ผลของการหมกัหญ้าซกิแนลเล้ือยรว่มกับกระถินต่อคณุภาพของพชืหมกั. วารสารมหาวทิยาลัยนราธวิาสราชนครนิทร,์ 7(2), 119-127.

บุญสง่ เลิศรตันพงศ์, วทิยา สมุามาลย,์ วโิรจน์ ฤทธิฤ์าชยั และราไพร นามสลีี. 2555. รายงานวจิยั เรื่องการศึกษาคณุภาพของพชืหมกัในถงุพลาสติกท่ีอายุการเก็บรกัษาต่างๆ รายงานผลงานวจิยัส้ำานักพฒันาอาหารสตัว์. กรมปศุสตัว์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. Available source: http://www.thailis.or.th. [2559 มนีาคม 4]

วชัราภรณ์ ศรพีลน้อย. 2550. การปรบัปรุงหญ้าแพงโกล่าคณุภาพต้ำ่าด้วยการหมกัรว่มกับกระถินใน อัตราสว่นต่าง ๆ ต่อการเจรญิเติบโตของแพะ. วทิยานิพนธ์ปรญิญาวทิยาศาสตรมหาบณัฑิต มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร.์

วทิยา สมุามาลย์, สมจติร อินทรมณี และ มาซาม ิครูาโมชิ. 2547. คู่มอืการเก็บส้ำารองพชือาหารสตัว์. โครงการพฒันาผลิตเมล็ดพนัธุพ์ชือาหารสตัวใ์นภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย ภายใต้ความรว่มมอืระหวา่งกรมปศุสตัว ์

Page 13: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

(DLD) และองค์การความรว่มมอืระหวา่งประเทศญ่ีปุ่น (JICA). กรมปศุสตัว์, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.

สมจติร ถนอมวงศ์วฒันะ. 2549. การศึกษาคณุภาพของไซเลจต่อโครดีนม. วทิยานิพนธป์รญิญาวทิยาศาสตรดษุฎีบณัฑิต มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร.์

สมศักดิ์ เภาทอง, ชลิดา สา่แดงเดช และมณฑป นพคณุ. 2547. การทดสอบการใชใ้บกระถินสด และกากน้ำ้าตาลในการท่าหญ้าเนเปียรห์มกั. ขา่วสารพชือาหารสตัว ์9(3): 6-9. [Online] Available:http://www.thailis.or.th. [2558 มนีาคม 16]

สายณัห ์ทัดศร.ี 2548. พชือาหารสตัวแ์ละหญ้พื้นเมอืงในประเทศไทย. ภาควชิาพชืไรน่า คณะเกษตร มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร์

อังคณา หาญบรรจง และ ดวงสมร สนิเจมิศิร.ิ 2532. การวเิคราะหแ์ละประเมนิคณุภาพอาหารสตัว์. ภาควชิาสตัวบาล. มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร,์ กรุงเทพฯ.

Angthong W., Cheva-Isarakul B., Promma S. and Cheva-Isarkul, B. 2007. Beta-carotene, Mimosineand Quality of Leucaena Silage Kept at Different Duration. Kasetsart Journal: Natural Science, 4, 282 - 287.

AOAC. 1995. Official Method of Analysis, 16th ed. Animal Feeds: Association of Official Analytical Chemists, VA, USA.

Bolsen K.K., Curtis, J.L, Lin, C.J. and J.L., Dickerson. 1990. Silage inoculants and indigenous micro flora with emphasis on alfafa. pp. 431-443. In Biotechnology in the in feed industry proceeding of Alteoh’s sixth annual symposium. Kentucky: Altech Technology Publication.

Cecilia, L.F., S.L. Amigot., M. Gaggiotti., L.A. Romero, and J.C. Basilico. 2007. Forage Quality: Techniques for Testing. Fresh produce. 1:121-131.

Collins, M. and V.N. Owens. 2003. Preservation of forage as hay and silage, pp. 443-471. In R.F. Barnes, C.J. Nelson, M. Conllins and K.J. Moore, eds. Forages: an Introduction to Grassland Agriculture Volume I. 6th ed. Iowa State Press, A Blackwell Publishing Company, USA.

Georing, H.K. and P.J., Van Soest. 1970. Forage fiber analysis. USDA, Agricultural Research Sevice. Agricultural Handbook No.379. Washington DC.

Hare, M. D., P. Tatasapong and S. Phengphet. 2009. Herbage yield and quality of Brachiaria cultivars, Paspalum

Page 14: Kasetsart University€¦ · Web view1* และ อ บด ลรอฮ ม เปาะอ แต1 Jarunee Noola-aong 1*, and Abdulrohim Poh-etae1 1 133 ถ. เทศบาล

atratum and Panicum maximum in north-east Thailand. Tropical Grasslands (2009) Volume 43, 65–72

Heuzé V., G. Tran. 2013. Leucaena (Leucaena leucocephala). Feedipedia.org. A programme by INRA, CIRAD, AFZ and FAO. Available source: http://www.feedipedia.org/node/282Last updated on March 17, 2016

Taskin. M., S. Ortucu, Nuri Aydogan. M and N., Pinar Arslan. 2016. Lipid production from sugar beet molasses under non-aseptic culture conditions using the oleaginous yeast Rhodotorula glutinis TR29. Renewable Energy 99(198-204)

Truong Giang, N. T., Metha Wanapat, Kampanat Phesatcha and Sungchhang Kang. 2016. Level of Leucaena leucocephala silage feeding on intake, rumen fermentation, and nutrient digestibility in dairy steers. Trop Anim Health Prod 48: 1057–1064