k bank multi asset strategies dec 2010 thai_

34
11 1 Key Parameters & Forecasts at Year-end 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010E 2011E GDP, % YoY 7.1 6.3 4.6 5.2 4.9 2.5 -2.3 7.0 4.0 Consumption, % YoY 6.5 6.2 4.6 3.0 1.6 2.7 -1.1 3.7 3.3 Investment Spending, % YoY 12.1 13.2 10.5 3.9 1.3 1.2 -9.2 10.2 8.0 Govt Budget / GDP % -0.2 -0.2 0.3 -0.7 -1.5 -1.0 -5.8 -4.45 -4.4 Export, % YoY 18.2 21.6 15.2 17.0 17.3 15.9 -14.0 27.0 8.0 Import, % YoY 17.4 25.7 25.8 7.9 9.1 26.5 -25.2 35.0 11.0 Current Account (USD bn) 4.78 2.77 -7.6 2.3 14.1 1.6 20.3 14.2 10.0 CPI % YoY, average 1.8 2.8 4.5 4.6 2.3 5.5 -0.9 3.3 3.25 USD/THB 39.6 38.9 41.0 36.1 33.7 34.8 33.3 29.0 28.0 Fed Funds, % year-end 1.00 2.25 4.25 5.25 4.25 0.25 0.25 0.25 0.25 BOT repo, % year-end 1.25 2.00 4.00 5.00 3.25 2.75 1.25 2.00 2.50 Bond Yields 2yr, % year-end 1.73 2.78 4.94 5.02 3.91 1.98 2.17 2.35 3.00 5yr, % year-end 2.8 4.0 5.3 5.1 4.5 2.2 3.6 2.75 3.75 10yr, % year-end 4.9 4.9 5.5 5.4 4.9 2.7 4.3 3.25 4.50 USD/JPY 107.5 102.5 118.0 119.1 111.8 90.7 93.0 82.0 90.0 EUR/USD 1.26 1.36 1.18 1.32 1.46 1.40 1.43 1.40 1.32 SET Index 772.2 668.1 713.7 679.8 858.1 450.0 734.5 1040 1220 Source: Bloomberg, CEIC, KBank, KResearch, KSecurities Kobsidthi Silpachai, CFA –Kasikornbank [email protected] Warunee Sithithaworn – Kasikornbank [email protected] Nalin Chutchotitham – Kasikornbank [email protected] ธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) มีการประกาศมาตรการ QE2 เพื่อกระตุนเศรษฐกิจและ การจางงานในประเทศ แตตลาดแรงงานของสหรัฐฯ ที่ยังไมดีขึ้น ทําใหตลาดมองวา ทางการอาจจําเปนตองประกาศมาตรการผอนคลายเชิงปริมาณรอบตอไป แมการดําเนินมาตรการดังกลาวจะไมสามารถชวยเพิ่มการจางงาน แตดูเหมือนวา ธนาคารกลางสหรัฐฯ อาจมีทางเลือกไมมากนัก เรายังคงประมาณการคาเงินบาทที่ระดับ 28.0 ในชวงปลายป 2554 เนื่องจากดุลบัญชี เดินสะพัดที่คาดวาจะมีฐานะเกินดุล รวมทั้งผลจากมาตรการผอนคลายเชิงปริมาณทีทําใหดอลลารสหรัฐฯ มีแนวโนมออนคาลง ธนาคารกลางประเทศในเอเชียพยายามดูแลเสถียรภาพคาเงิน แตราคาสินคาโภคภัณฑ ที่ปรับตัวสูงขึ้นจากการออนคาของดอลลารสหรัฐฯ สงผลใหเงินเฟอทางดานตนทุนมี แนวโนมปรับตัวสูงขึ้น เรามองวาธปท. มีแนวโนมปรับอัตราดอกเบี้ยขึ้นสูระดับ 2.50%ในชวงเดือนมิ . . 54 ขณะที่อัตราดอกเบี้ยในตลาดลวงหนาระยะ 6 เดือนมีการปรับตัวขึ้นราว 60-70 bp ในงคแรกของปหKBank Multi Asset Strategies แนวโนมอัตราแลกเปลี่ยนและขอพึงระวังในป 2011 Strategies Macro / Multi Asset December 2010 Volume 42 WWW.KASIKORNBANKGROUP.COM “KBank Multi Asset Strategies” can now be accessed on Bloomberg: KBCM <GO> Disclaimer: This report must be read with the Disclaimer on page 35 that forms part of it

Upload: kbank-fx-dealing-room

Post on 07-Jul-2015

296 views

Category:

Economy & Finance


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

11

1

.Mean S

Key Parameters & Forecasts at Year-end 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010E 2011E GDP, % YoY 7.1 6.3 4.6 5.2 4.9 2.5 -2.3 7.0 4.0 Consumption, % YoY 6.5 6.2 4.6 3.0 1.6 2.7 -1.1 3.7 3.3 Investment Spending, % YoY 12.1 13.2 10.5 3.9 1.3 1.2 -9.2 10.2 8.0 Govt Budget / GDP % -0.2 -0.2 0.3 -0.7 -1.5 -1.0 -5.8 -4.45 -4.4 Export, % YoY 18.2 21.6 15.2 17.0 17.3 15.9 -14.0 27.0 8.0 Import, % YoY 17.4 25.7 25.8 7.9 9.1 26.5 -25.2 35.0 11.0 Current Account (USD bn) 4.78 2.77 -7.6 2.3 14.1 1.6 20.3 14.2 10.0 CPI % YoY, average 1.8 2.8 4.5 4.6 2.3 5.5 -0.9 3.3 3.25 USD/THB 39.6 38.9 41.0 36.1 33.7 34.8 33.3 29.0 28.0 Fed Funds, % year-end 1.00 2.25 4.25 5.25 4.25 0.25 0.25 0.25 0.25 BOT repo, % year-end 1.25 2.00 4.00 5.00 3.25 2.75 1.25 2.00 2.50 Bond Yields

2yr, % year-end 1.73 2.78 4.94 5.02 3.91 1.98 2.17 2.35 3.00 5yr, % year-end 2.8 4.0 5.3 5.1 4.5 2.2 3.6 2.75 3.75 10yr, % year-end 4.9 4.9 5.5 5.4 4.9 2.7 4.3 3.25 4.50

USD/JPY 107.5 102.5 118.0 119.1 111.8 90.7 93.0 82.0 90.0 EUR/USD 1.26 1.36 1.18 1.32 1.46 1.40 1.43 1.40 1.32 SET Index 772.2 668.1 713.7 679.8 858.1 450.0 734.5 1040 1220 Source: Bloomberg, CEIC, KBank, KResearch, KSecurities

Kobsidthi Silpachai, CFA –Kasikornbank [email protected] Warunee Sithithaworn – Kasikornbank [email protected] Nalin Chutchotitham – Kasikornbank [email protected]

ธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) มีการประกาศมาตรการ QE2 เพ่ือกระตุนเศรษฐกิจและ การจางงานในประเทศ แตตลาดแรงงานของสหรัฐฯ ที่ยังไมดีขึ้น ทําใหตลาดมองวาทางการอาจจําเปนตองประกาศมาตรการผอนคลายเชิงปริมาณรอบตอไป

แมการดําเนินมาตรการดังกลาวจะไมสามารถชวยเพ่ิมการจางงาน แตดูเหมือนวาธนาคารกลางสหรัฐฯ อาจมีทางเลือกไมมากนัก

เรายังคงประมาณการคาเงินบาทที่ระดับ 28.0 ในชวงปลายป 2554 เนื่องจากดุลบัญชีเดินสะพัดที่คาดวาจะมีฐานะเกินดุล รวมทั้งผลจากมาตรการผอนคลายเชิงปริมาณที่ ทําใหดอลลารสหรัฐฯ มีแนวโนมออนคาลง

ธนาคารกลางประเทศในเอเชียพยายามดูแลเสถียรภาพคาเงิน แตราคาสินคาโภคภัณฑที่ปรับตัวสูงขึ้นจากการออนคาของดอลลารสหรัฐฯ สงผลใหเงินเฟอทางดานตนทุนมี แนวโนมปรับตัวสูงขึ้น

เรามองวาธปท. มีแนวโนมปรับอัตราดอกเบี้ยขึ้นสูระดับ 2.50%ในชวงเดือนมิ.ย. 54 ขณะที่อัตราดอกเบ้ียในตลาดลวงหนาระยะ 6 เดือนมีการปรับตัวขึ้นราว 60-70 bpในชวงครึ่งแรกของปหนา

KBank Multi Asset Strategies แนวโนมอัตราแลกเปลีย่นและขอพงึระวังในป 2011

Strategies Macro / Multi Asset December 2010 Volume 42

WWW.KASIKORNBANKGROUP.COM

“KBank Multi Asset Strategies” can now be accessed on Bloomberg: KBCM <GO>

Disclaimer: This report must be read with the Disclaimer on page 35 that forms part of it

Page 2: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

22

2

KBank Thai Government Bond Rich / Cheap model

-30.00

-20.00

-10.00

0.00

10.00

20.00

30.00

LB11

3A

LB11

6A

LB11

NA

LB12

3A

LB13

3A

LB13

7A

LB14

5B

LB14

DA

LB15

5A

LB15

DA

LB16

7A

LB16

NA

LB17

5A

LB18

3B

LB19

1A

LB19

6A

LB19

8A

LB19

DA

LB21

3A

LB24

DA

LB26

7A

LB28

3A

LB29

6A

LB39

6A

3 mth avgNow

Source: Bloomberg, KBank

KBank THB NEER Index KBank USD/THB – FX Reserves / USD Majors model

KBank THB Trade Weighted Index

70

80

90

100

110

00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10

Jan 1995 = 100

+ 1 std d

-1 std dev

average

2830323436384042444648

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

KBank USD/THB model

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

FX reserves – USD/THB model DXY – USD/THB model

y = -7.6484Ln(x) + 69.957R2 = 0.8665

262830323436384042444648

25 75 125 175 225FX reserves to USD/THB mappingcurrent2011 forecast

USD/THB

FX reserves, USD bn

y = 27.699Ln(x) - 86.289R2 = 0.756

25

30

35

40

45

50

70 80 90 100 110 120 130

DXY to USD/THB mapping current

USD/THB

DXY

since 2001

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

Page 3: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

33

3

KBank BOT repo model SET forward dividend yield vs. 10yr bond yield

0.00.51.01.52.02.53.03.54.04.55.05.5

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

%

0123456789

00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10

10yr yields SET forward dividend yields

%

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

Thai inflation parameters Thai contribution to GDP growth

-15%-10%-5%0%5%

10%15%20%25%

96 97 98 99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10

CPI yoy Core CPI yoy PPI yoy

-15.0

-10.0

-5.0

0.0

5.0

10.0

15.0

1Q08 2Q08 3Q08 4Q08 1Q09 2Q09 3Q09 4Q09 1Q10 2Q10 3Q10

Priv ate consumption Gov ernment consumption Gross fix ed capital

Change in inv entories Net ex ports GDP

% y oy Contribution to growth

Source: CEIC, KBank Source: NESDB, KBank

Implied forward curve: swaps Implied forward curve: TGBs

0.501.001.502.002.503.003.504.004.50

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10Dec-10 Mar-11 Jun-11 Dec-11

%

tenor (yrs)

Implied forward rate shifts (IRS)

1.50

2.00

2.50

3.00

3.50

4.00

4.50

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15Dec-10 Mar-11 Jun-11 Dec-11

%

tenor (yrs)

Implied bond yield curve shifts

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

US 2yr yields and implied forward US 5yr yields and implied forward

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

5.0

6.0

7.0

00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 14 15

2yr yields, % implied forwards

1

2

3

4

5

6

7

8

00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 14 15

5yr yields, % implied forwards

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

Page 4: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

44

4

KBank EUR/THB model KBank JPY/THB model

34.036.038.040.042.044.046.048.050.052.054.056.0

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

EUR/THB

25.027.029.031.033.035.037.039.041.043.0

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

JPY/THB

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

KBank GBP/THB model KBank CNY/THB model

43.0

48.0

53.0

58.0

63.0

68.0

73.0

78.0

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

GBP/THB

4.04.24.44.64.85.05.25.45.65.8

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

CNY/THB

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

KBank THB/VND model KBank AUD/THB model

300350400450500550600650700750

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

THB/VND

21.0

23.0

25.0

27.0

29.0

31.0

33.0

35.0

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

AUD/THB

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

Page 5: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

55

5

This page has been left blank intentionally

Page 6: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

66

6

แนวโนมอัตราแลกเปลีย่นและสิ่งที่พึงระวังในป 2011

ธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) มีการประกาศมาตรการ QE2 เพ่ือกระตุนเศรษฐกิจและการ

จางงานในประเทศ แตตลาดแรงงานของสหรัฐฯ ที่ยังไมดีขึ้น ทําใหตลาดมองวาทางการอาจจําเปนตองประกาศมาตรการผอนคลายเชิงปริมาณรอบตอไป

แมการดําเนินมาตรการดังกลาวจะไมสามารถชวยเพิ่มการจางงานใหม แตดูเหมือนวาธนาคารกลางสหรัฐฯ อาจไมมีทางเลือกมากนัก

ผูกําหนดนโยบายในเอเชียพยายามดูแลเสถียรภาพคาเงิน แตราคาสินคาโภคภัณฑที่ปรับตัวสูงขึ้นจากการออนคาของดอลลารสหรัฐฯ สงผลใหเงินเฟอทางดานตนทุนมี แนวโนมปรับตัวสูงขึ้น

เรายังคงประมาณการคาเงินบาทที่ระดับ 28.0ในชวงปลายป 2554 เนื่องจากดุลบัญชีเดินสะพัดที่คาดวาจะมีฐานะเกินดุล รวมทั้งผลจากมาตรการผอนคลายเชิงปริมาณที่ทําใหดอลลารสหรัฐฯ มีแนวโนมออนคาลง

ความกังวลตอปญหาหนี้ในยูโรโซนและปญหาความขัดแยงบนคาบสมุทรเกาหลียังคงเปนปจจัยเส่ียงที่อาจทําใหไมเปนไปตามคาดการณ

เรามองวาธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) มีแนวโนมปรับอัตราดอกเบี้ยขึ้นสูระดับ 2.50% ในชวงเดือนมิ.ย. 54 ขณะที่อัตราดอกเบี้ยในตลาดลวงหนาระยะ 6 เดือนมีการปรับตัวขึ้นราว 60-70 bpในชวงครึ่งแรกของปหนา

แมวาในภาพรวมอัตราดอกเบี้ยจะมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น แตคาดวาพันธบัตรรัฐบาลที่จะประมูลในไตรมาส 2 ของปงบประมาณ 54 นาจะไดรับการตอบรับที่ดี

การจางงานของสหรัฐฯ กําลังฟนตัวขึ้น ?

นักเศรษฐศาสตรและตลาดมองวา ตัวเลขอัตราการวางงานเปนเครื่องชี้ทางเศรษฐกิจที่คอนขางลาชาหรือเปน “lagging indicator” ซึ่งจะแตกตางจากดัชนีชี้นําทางเศรษฐกิจหรือ “leading indicator” ซึ่งเปนตัวแปรที่สามารถบงชี้ถึงทิศทางเศรษฐกิจในชวงตอไป หากเปรียบเทียบในกรณีของการขับรถการเปดไฟเลี้ยวเปนการสงสัญญาณหรือเปน “leading indicator” ขณะที่การเลี้ยวรถจริงๆ ถือเปน “lagging indicator” ที่ตามมาภายหลังการสงสัญญาณดังกลาว

ในชวงตนเดือนพ.ย. ที่ผานมา ธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) มีการใหสัญญาณไฟในการพิมพเงินดอลลารสหรัฐฯ จํานวนมากเขาสูระบบเศรษฐกิจผานการดําเนินนโยบายผอนคลายเชิงปริมาณรอบสองหรือ QE2 อยางไรก็ดีภาวะการจางงานที่ยังไมดีขึ้น ทําใหในชวงตอมานายเบน เบอรนันเก ประธานธนาคาร

Kobsidthi Silpachai, CFA - Kasikornbank [email protected] Warunee Sithithaworn – Kasikornbank [email protected] Nalin Chutchotitham – Kasikornbank [email protected]

Page 7: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

77

7

กลางสหรัฐฯ ไดออกมาแสดงความเห็นวามีโอกาสที่เฟดอาจมีการดําเนินนโยบาย QE3 หากเศรษฐกิจ ของประเทศยังไมตอบสนองตอการดําเนินนโยบายการเงินในชวงที่ผานมา

จากตัวเลขการจางงานรายเดือนของสหรัฐฯ ในเดือนพ.ย. พบวาการจางงานนอกภาคเกษตร ของสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นเพียง 39,000 ตําแหนง ซึ่งต่ํามากหากเทียบกับที่ตลาดคาดการณวาจะมีการจางงานเพิ่มขึ้น 150,000 ตําแหนงในเดือนนี้ โดยในจํานวนนี้ ปนการจางงานใหมของภาคเอกชนเพียง 50,000 ตําแหนง (คาดการณที่ 160,000 ตําแหนง) สงผลใหตัวเลขอัตราการวางงานของสหรัฐฯ ปรับตัวสูงขึ้น อีกครั้งโดยอยูที่ 9.8% ในเดือนพ.ย. จากระดับ 9.6% ในเดือนกอนหนา

สถานการณดังกลาว ทําใหคณะกรรมการธนาคารกลางสหรัฐฯ มีการทบทวนถึงการดําเนินนโยบายการเงินที่เหมาะสมเพื่อสรางสมดุลระหวางอัตราเงินเฟอและอัตราการวางงานของประเทศ ซึ่งโดยทั่วไปการดําเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลางประเทศตางๆ สามารถดําเนินการผาน 3 ชอง ทาง ไดแก

1. การดํารงสินทรัพยสภาพคลอง (Reserve requirements) โดยการเพิ่มสัดสวนเงินสํารองจะทํา ใหปริมาณเงินในระบบลดลง ในทางตรงขามสัดสวนเงินสํารองที่ลดลงจะชวยใหปริมาณเงินในระบบเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งวิธีการนี้เปนเครื่องมือทางการเงินที่ธนาคารกลางจีน (PBOC) เลือกใช

2. การดําเนินการผานการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เชนอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นของสหรัฐฯ (Fed Funds Rate) อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย (BOT repo rate)

3. การดําเนินการผานตลาดการเงินผานการซื้อ-ขายพันธบัตร โดยการซื้อหรือขายพันธบัตรจะเปนการเพิ่มหรือลดปริมาณเงินในระบบเพื่อเปนการปรับสภาพคลองและดูแลอัตราดอกเบี้ยใหอยู ในระดับที่เหมาะสม

ทั้งนี้ จากกฎ Taylor rule ซึ่งเปนการกําหนดระดับอัตราดอกเบี้ยที่เหมาะสมในการดูแลให

อัตราเงินเฟอและผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศที่เกิดขึ้นจริงอยูในระดับใกลเคียงกับระดับศักยภาพ พบวา อัตราดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ควรติดลบราว 2.45% ซึ่งนั่นหมายถึงการที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ จะตอง มีการพิมพเงินจํานวนมากเขาสูระบบเศรษฐกิจ โดยเปนการดําเนินมาตรการผอนคลายเชิงปริมาณอยาง ไมส้ินสุด หรืออาจมีการปรับลดสัดสวนสํารองเงินฝากของธนาคารพาณิชยใหต่ําลงเพื่อบรรลุเปาหมายดังกลาว

ลาสุด นายเบน เบอรนันเก ประธานธนาคารกลางสหรัฐฯ ไดกลาวในรายการ “60 minutes” วา กิจกรรมเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ยังอยูในระดับต่ํา ซึ่งจากรูปที่ 1 จะเห็นไดวาตัวเลขการจางงานนอกภาคเกษตรของสหรัฐฯ ยังคงอยูต่ํากวาแนวโนมที่จะหนุนเศรษฐกิจของประเทศ (หากผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้น 1 พันลานดอลลารสหรัฐฯ จะทําใหมีการจางงานเพิ่มขึ้น 6,582 ตําแหนง) และจากรูปที่ 2 ซึ่งแสดงความสัมพันธระหวางผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศกับตัวเลขการจางงานนับจากป 2000

Page 8: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

88

8

เปนตนมา พบวาการที่รายไดของประเทศเพิ่มขึ้น 1% จะชวยใหการจางงานนอกภาคเกษตรของสหรัฐฯ ปรับตัวขึ้นราว 0.52% รูปที่ 1. ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศและการจางงานของสหรัฐฯ รูปที่ 2. ผลิตภัณฑมวลรวมและการจางงานนอกภาคเกษตรของสหรัฐฯ

y = 6.5824x + 59056R2 = 0.879

30,000

50,000

70,000

90,000

110,000

130,000

150,000

170,000

- 2,000 4,000 6,000 8,000 10,000 12,000 14,000 16,000

non-farm payrolls, k

US nominal GDP, USD bn

the pursuit of productivity gains could be depressing job growth

y = 0.5195x - 0.0052R2 = 0.6282

-2.0%

-1.5%

-1.0%

-0.5%

0.0%

0.5%

1.0%

-3% -2% -1% 0% 1% 2% 3%

change in non-farm payrolls

change in nominal GDP

since 2000

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

ในรูปที่ 3 แสดงถึงความสัมพันธกันในระดับสูงระหวางปริมาณเงิน M1 กับการจางงาน โดย

ในชวงป 1981-2000 หากทางการเพิ่มเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจทุก 1 พันลานดอลลารสหรัฐฯ จะทําใหมี การจางงานเพิ่มขึ้นราว 44,000 ตําแหนง แตจากรูปที่ 4 ซึ่งเปนการแสดงความสัมพันธในชวงตั้งแต ป 2000 เปนตนมา พบวาการเพิ่มปริมาณเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจกลับไมไดชวยใหมีการจางงานเพิ่มขึ้นมากนัก

รูปที่ 3. ปริมาณเงินและการจางงานนอกภาคเกษตรในชวงป 1981 ถึง 2000 รูปที่ 4. ปริมาณเงินและการจางงานนอกภาคเกษตรตั้งแตป 2000 เปนตนมา

y = 43.892x + 70872R2 = 0.8613

80,000

90,000

100,000

110,000

120,000

130,000

140,000

400 500 600 700 800 900 1000 1100 1200

non-farm payrolls, k

USD M1, bn

from 1981 to 2000

y = 0.3769x + 132298

R2 = 0.0006

120,000122,000124,000126,000128,000130,000132,000134,000136,000138,000140,000

1000 1200 1400 1600 1800 2000

non-farm payrolls, k

USD M1, bn

from 2000 onwards

latest data point

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

Page 9: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

99

9

เนื่องจากใกลถึงชวงเทศกาลคริสตมาส เรามีการยกตัวอยางการทํางานของซานตาคลอสที่อาจสะทอนใหเห็นสถานการณการจางงานไดชัดเจนขึ้น ซึ่งจากรูปที่ 5 เปนเหตุผลที่อยูเบื้องหลังภาวะการจางงานที่ซบเซาของสหรัฐฯ ในปจจุบัน โดยผูจัดการของบรรดาซานตาคลอสไดกลาวถึง กระบวนการแขงขัน ในปจจุบันที่ตองมีการ outsource การผลิตไปสูประเทศจีน การตั้งศูนยบริการในอินเดีย สงผลใหการผลิตและการจางงงานสหรัฐฯ มีขนาดที่เล็กลง รูปที่ 5. แมแตซานตายังตองเผชิญกับความลําบากเชนกนั รูปที่ 6. การขาดดุลการคาที่มากขึ้น สะทอนถึงการจางงานที่โอนไปสูจีน?

-300

-250

-200

-150

-100

-50

0

94 95 96 97 98 99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 1011.012.013.014.015.016.017.018.019.0

US trade balance with China, 12mth moving sum, USD bn (left axis)US non-farm payrolls, manufacturing, mn (right axis)

ρ = 91%

Source: Cagle.com Source: Bloomberg, CEIC, KBank

ผลิตภาพการผลิตที่เพิ่มขึ้น ชวยใหหนวยธุรกิจมีกําไรที่มากขึ้น แตกลับไมไดชวยใหเกิดการจางงานใหม ซึ่งประเด็นดังกลาวกอใหเกิดความขัดแยงระหวางสหรัฐฯ และจีน โดยรูปที่ 6 ซึ่งเปนการแสดงความสัมพันธกันในระดับสูงราว 90% ระหวางดุลการคาและการจางงานนอกภาคเกษตรของสหรัฐฯ ซึ่งพบวาการที่สหรัฐฯ มีการขาดดุลการคาใหกับจีนในระดับที่สูงขึ้น นั่นหมายถึงตัวเลขการจางงานของสหรัฐฯ ที่ลดลง และความสัมพันธดังกลาวคอนขางชัดเจนนับจากที่ประเทศจีนเขารวมเปนสมาชิกองคกรการคาโลกหรือ WTO ในเดือนธ.ค. 2001 ซึ่งตัวอยางที่เห็นไดชัด ไดแก การที่ iPhone 4 ซึ่งออกแบบจากบริษัทแอปเปลในสหรัฐฯ แตมีการประกอบหรือผลิตมาจากประเทศจีน ซึ่งในบัญชีดุลการคา หากมีการนําเขาสินคาดังกลาวเขามาจําหนายในสหรัฐฯ จะมีการบันทึกเปนยอดการนําเขาในบัญชีการคาของ สหรัฐฯ ขณะที่บันทึกเปนยอดสงออกในบัญชีการคาของจีน สงผลใหการขาดดุลการคาของสหรัฐฯ ปรับ ตัวสูงขึ้นซึ่งสถานการณดังกลาวไมเพียงสงผลตอการจางงานในประเทศเทานั้น แตยังทําใหทางการ สหรัฐฯ จําเปนตองมีการกูยืมจากประเทศจีนมากขึ้นอีกดวย

ทั้งนี้ หากยอนไปพิจารณาความสัมพันธจากรูปที่ 4 จะเห็นไดวา ทางการสหรัฐฯ มีการพิมพเงินเขาสูระบบเศรษฐกิจโดยหวังจะใหเกิดการจางงานใหม ซึ่งผลที่ตามมาคือดอลลารสหรัฐฯ แนวโนมเส่ือม คาลง และกําลังเปนความเสี่ยงของประเทศตางๆ ในเอเชียที่มีการถือครองสินทรัพยสกุลดอลลารสหรัฐฯ

Page 10: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

1010

10

จํานวนมาก และจากรูปที่ 8 สะทอนถึงทุนของธนาคารแหงประเทศไทยที่กําลังลดระดับลง ซึ่งสวนหนึ่ง เปนผลจากการออนคาของดอลลารสหรัฐฯ นั่นเอง รูปที่ 7. สหรัฐฯ พยายามหนีจากปญหาการขาดดุล รูปที่ 8. ทุนของธนาคารแหงประเทศไทย

350

450

550

650

750

850

950

1,050

03 04 05 06 07 08 09 10

actual model

THB bn

Source: Cagle.com Source: Bloomberg, CEIC, KBank

การที่ธนาคารแหงประเทศไทย มีการเขาแทรกแซงตลาดอัตราแลกเปลี่ยน โดยการเขาซื้อ ดอลลารสหรัฐฯ เพื่อชะลอการแข็งคาของเงินบาท สงผลใหสินทรัพยในรูปดอลลารสหรัฐฯ ของทางการเพิ่มสูงขึ้น แตแหลงเงินทุนกลับมาจากการกูยืมในรูปของเงินบาทจากในประเทศ แนนอนวาในภาวะที่ดอลลารสหรัฐฯ ที่มีแนวโนมออนคาลง และสวนทางกับคาเงินบาทที่ปรับแข็งคาขึ้น ทําใหการดําเนินงานของธปท. ประสบภาวะขาดทุนและสวนทุนของธปท. ลดระดับลง ซึ่งในที่สุดแลวส่ิงที่เกิดขึ้นยอมตกเปนภาระของประชาชนผูเสียภาษีของประเทศเหมือนกับสถานการณที่เคยเกิดขึ้นในชวงวิกฤตเศรษฐกิจในป 1997 รูปที่ 9. สินทรัพยของธนาคารแหงประเทศไทย (พันลานบาท) รูปที่ 10. หนี้สินของธนาคารแหงประเทศไทย (พันลานบาท)

1,405,722

4,235,878

0%

20%

40%

60%

80%

100%

1

Others Non resident securities

353,509499,818

1,346,706

2,347,465

439,220

975,098

0%

20%

40%

60%

80%

100%

1

Equity Others Loans Bonds Deposits Bank notes

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

Page 11: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

1111

11

ธนาคารกลางในเอเชียพรอมรับมือกับปญหาเงินเฟอ ?

มาตรการ QE2 ที่กําลังดําเนินอยูและความกลัววาเฟดอาจมีการออกมาตรการผอนคลายรอบใหมหากเศรษฐกิจไมฟนตัวขึ้นตามคาด ทําใหธนาคารกลางในเอเชียพยายามตั้งรับเพื่อปองกันผลกระทบจากปริมาณเงินดอลลารสหรัฐฯ ที่ทวมระบบการเงินโลก ทั้งนี้ การที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ มีการเพิ่มเงินจํานวนมากเขาสูระบบเศรษฐกิจ เปนการสะทอนมุมมองของทางการที่กลัววาเศรษฐกิจสหรัฐฯ จะเผชิญ กับภาวะเงินฝดเชนเดียวกับญี่ปุน ซึ่งมากกวาความกังวลเกี่ยวกับปญหาเงินเฟอที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อยางไรก็ดีผลจากการดําเนินมาตรการดังกลาวกับทําใหราคาสินคาโภคภัณฑปรับตัวสูงขึ้น จากรูปที่ 12 จะเห็นไดวาปริมาณเงินดอลลารสหรัฐฯ ที่เพิ่มขึ้นทุก 1 พันลานดอลลารสหรัฐฯ จะทําใหดัชนี ราคาสินคาโภคภัณฑ (Commodity Research Bureau: CRB) ปรับตัวขึ้นราว 0.328 จุด

รูปที่ 11. งบดุลของธนาคารกลางสหรัฐฯ จากการใชมาตรการ QE1 และ QE2 รูปที่ 12. ปริมาณเงิน M1 ของสหรัฐฯ และดัชนีสินคาโภคภัณฑ

-

500

1,000

1,500

2,000

2,500

3,000

3,500

02 03 04 05 06 07 08 09 101,2001,3001,4001,5001,6001,7001,8001,9002,000

Fed balance sheet QE1 QE2 M1 (right axis)

USD bn USD bn

y = 0.3285x - 292.16

R2 = 0.745

190210

230250270

290310

330350

1550 1600 1650 1700 1750 1800 1850 1900US M1, USD bn

CRB commodity index

latest data point

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

ธนาคารกลางหลายประเทศในเอเชียมีการเขาแทรกแซงตลาดเพื่อปองกันไมใหคาเงินแข็งคา เร็วเกินไปจนสงผลกระทบตอภาคสงออกของประเทศ อยางไรก็ดีราคาสินคาโภคภัณฑที่ปรับตัวสูงขึ้นแตคาเงินในประเทศกลับมีแนวโนมออนคาลง ยอมทําใหประเทศตองนําเขาสินคาที่แพงขึ้นและทําใหอัตรา เงินเฟอในฝงของตนทุนการผลิตปรับตัวสูงขึ้นดวย รูปที่ 13. ความผันผวนของสกุลเงินเอเชียเทียบดอลลารสหรัฐฯ

Currency pair current level 30 day vol (%) 60 day vol (%) 90 day vol (%) USD/CNY 6.66 3.06 2.64 2.42 USD/SGD 1.311 6.78 6.15 5.74 USD/TWD 30.13 5.72 5.92 5.08 USD/KRW 1,139 16.41 13.20 12.22 USD/PHP 43.70 8.73 7.58 7.17 USD/IDR 9,016 5.72 4.68 4.88 USD/INR 45.22 8.00 7.76 6.93 USD/HKD 7.77 0.45 0.47 0.48 USD/MYR 3.15 7.34 6.20 6.23 USD/THB 30.08 4.53 4.64 4.32 source: Bloomberg

Page 12: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

1212

12

รูปที่ 14. ดัชนีราคาสินคาโภคภัณฑและดัชนีราคาผูผลิตของจีน รูปที่ 15. ดัชนีราคาสินคาโภคภัณฑและดัชนีราคาผูผลิตของไทย

-60

-40

-20

0

20

40

60

99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10-15

-10

-5

0

5

10

15

CRB index, % YoY, left CH PPI, %YoY, right

-60

-40

-20

0

20

40

60

99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10-20-15-10-50510152025

CRB index, % YoY, left TH PPI, %YoY, right

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

ทิศทางอัตราแลกเปลี่ยนและส่ิงที่พึงระวังในป 2011

แมวาคาเงินบาทในปจจุบันจะปรับตัวในกรอบแคบๆ ใกลระดับ 29.46 ซึ่งออนคากวาหากเทียบกับที่เราประมาณการณไววาเงินบาทจะปรับแข็งคาขึ้นทดสอบระดับ 29.0 ในชวงปลายป แตเรายังคงประมาณการคาเงินบาทในป 2554 ไวในระดับเดิมที่ 28.0 เหตุผลหลักเกิดจากดุลบัญชีเดินสะพัดและดุลการชําระเงินของไทยที่คาดวาจะมีฐานะเกินดุลตอไป และแรงหนุนจากการออนคาของดอลลารสหรัฐฯ อันเปนผลจากการดําเนินนโยบายผอนคลายเชิงปริมาณของทางการสหรัฐฯ ในชวงที่ผานมา ซึ่งยังคงเปนปจจัยที่ชวยใหเงินบาทมีแนวโนมแข็งคาขึ้น

รูปที่ 16. ดุลบัญชีเดินสะพัดและอุปสงคในประเทศตอGDP รูปที่ 17. ดุลบัญชีเดินสะพัดและอุปสงคในประเทศตอGDP

-10

-5

0

5

10

15

20

00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10

8081828384858687888990

current account / GDP, % , left axis domestic demand / GDP, % , right axis, inverted

y = -0.2681x + 86.51R2 = 0.6732

8081828384858687888990

-10 -5 0 5 10 15 20current account / GDP, %

domestic demand / GDP, %

a domestic demand / GDP of 86.5% would

generate a current account / GDP of 0% latest data point

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

หากพิจารณาโครงสรางเศรษฐกิจไทย พบวาอุปสงคในประเทศ ซึ่งประกอบดวยการใชจายภาคเอกชน การใชจายภาครัฐและการลงทุนภาคเอกชน (C + G +I) พบวา สัดสวนของอุปสงคตอ GDP ของประเทศยังอยูในระดับต่ํา เพราะหากเรามีการผลิตสินคา 100 หนวย จะมีการบริโภคในประเทศเพียง 80 หนวย สวนที่เหลืออีก 20 หนวยจะเปนการสงออก ดังนั้น ในภาพรวมแลวอุปสงคในประเทศตอ GDP และดุลบัญชีเดินสะพัดของประเทศจึงเปนการสะทอนถึงสวนตางการลงทุนและการออมของประเทศ โดยในชวงที่ผานมาเศรษฐกิจไทยมีการออมในระดับที่สูงกวาการบริโภค ซึ่งสะทอนไดจากอุปสงคในประเทศที่อยูในสัดสวนเพียง 83% ของ GDP ขณะที่ดุลบัญชีเดินสะพัดมีการเกินดุลราว 9.5% ของ GDP

Page 13: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

1313

13

ทั้งนี้ หากตองการใหดุลบัญชีเดินสะพัดอยูในภาวะสมดุล นั่นหมายถึงจะตองมีการกระตุน อุปสงคในประเทศใหเพิ่มสูงขึ้นแตะระดับ 86.5% ของ GDP (จากรูปที่ 17) ซึ่งในสถานการณดังกลาว จะทําใหจํานวนผูที่ตองการซื้อดอลลารสหรัฐฯ และผูขายดอลลารสหรัฐฯ อยูในระดับใกลเคียงกัน และ ชวยลดภาระการเขาแทรกแซงตลาดอัตราแลกเปลี่ยนของธนาคารแหงประเทศไทยลง

รูปที่ 18. ดุลบัญชีเดินสะพัดสะสมของไทยและUSD/THB รูปที่ 19. ดุลบัญชีเดินสะพัดสะสมของไทยและUSD/THB

-30000

-20000

-10000

0

10000

20000

30000

40000

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10

2830323436384042444648

TH current account cumulative, Jan 91 = base, USD mn, left axisUSD/THB, right axis, inverted

y = -0.0003x + 37.314R2 = 0.7087

2830323436384042444648

-30000 -20000 -10000 0 10000 20000 30000 40000

latest data point

USD/THB

cumulative current account balance, Jan 91 = base, USD mn

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

ในกรณีของประเทศจีน การดําเนินนโยบายการเงินโดยอาศัยเครื่องมือดานอัตราดอกเบี้ยเพียง

อยางเดียวอาจไมเพียงพอที่จะสกัดผลกระทบของภาวะเงินเฟอที่เกิดจากการออนคาลงของสกุลเงินได ที่สําคัญผลจากการที่สกุลเงินในประเทศออนคาลง ไมเพียงชวยเพิ่มความไดเปรียบดานการแขงขันเทานั้น แตในสวนของผูสงออกเองยังมีความมั่งคั่งหรือไดประโยชนจากรายรับในรูปสกุลเงินทองถิ่นที่เพิ่มขึ้น

อยางไรก็ดี แมการออนคาของสกุลเงินจะชวยเพิ่มความมั่งคั่งแกหนวยธุรกิจในประเทศ แตใน อีกดานหนึ่งยอมมีผลกระทบทางดานตนทุนที่เกิดขึ้น การที่จีนเปนประเทศที่บริโภคสินคาโภคภัณฑรายใหญ ประกอบกับนักลงทุนและผูบริโภคตางคาดการณถึงราคาที่ปรับตัวสูงขึ้น (จากปริมาณดอลลาร สหรัฐฯ ที่เพิ่มขึ้น แตปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นในระดับที่ชากวา) ราคาสินคาโภคภัณฑที่เพิ่มสูงขึ้นยอมสงผลกระทบตอจีน ซึ่งเปนประเทศที่มีการนําเขาสินคาโภคภัณฑเปนสัดสวนที่สูงหากเทียบกับการนําเขาโดย รวมของประเทศ

หากยอนกลับมาที่การดําเนินนโยบายการเงิน ในสวนของการใชเครื่องมือดานอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย ทางการจีนพยายามดูแลไมใหเงินหยวนแข็งคาหรือทําใหเงินหยวนออนคาลงเทียบกับสกุลเงินอื่นๆ แตในเวลาเดียวกันกลับตองการใหเงินหยวนในประเทศแข็งคาหรือแพงขึ้น โดยการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพื่อชะลอความรอนแรงของเศรษฐกิจในประเทศ อยางไรก็ดีหากเปรียบเทียบกันแลว จะพบวาในชวง 12 เดือนที่ผานมา ทางการจีนมีความพยายามในการเพิ่มคาเงินหยวนเพื่อสกัดเงินเฟอ ในประเทศในระดับที่มากกวาการดําเนินการเพื่อกดใหเงินหยวนออนคาลงเมื่อเทียบกับสกุลเงินตางประเทศ

Page 14: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

1414

14

รูปที่ 20. การสงออกและราคาที่อยูอาศยัของจีน (% YoY) รูปที่ 21. สัดสวนการกันสํารองเงินฝากธนาคารพาณิชยของจีน

-30-20-10

01020304050

05 06 07 08 09 10-4-202468101214

exports, % YoY (left axis) property prices, % YoY (right axis)

US / Global slowdown weighes on China's export

…dragging China's property price down

as well

02468

101214161820

00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10

Major Bank Smaller Bank

%

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

ในชวงที่ผานมา นักลงทุนมีการเก็งกําไรการแข็งคาของเงินหยวนผานการเคลื่อนไหวของสกุล

เงินในเอเชีย อาทิเงินบาท ดอลลารสิงคโปร โดยนักลงทุนจะมีการคาดการณทิศทางของเงินหยวนผานสัญญาที่ไมมีการสงมอบหรือ NDF สกุลเงินหยวน ซึ่งจากรูปที่ 22 จะเห็นไดวาดุลการคาของจีนที่เพิ่มขึ้น จะทําใหเงินบาทปรับแข็งคาขึ้น โดยมีความสัมพันธกันราว 76%

รูปที่ 22. ดุลบัญชีเดินสะพัดสะสมของไทยและUSD/THB รูปที่ 23. USD/NDF 12mth NDF และUSD/THB

y = -0.0086x + 41.847R2 = 0.7639

2830323436384042444648

0 200 400 600 800 1000 1200 1400CH cumulative trade account, USD bn, Jan 00 = base

USD/THB

latest data point

y = 6.2304x - 8.9225R2 = 0.9277

2830323436384042444648

6.0 6.5 7.0 7.5 8.0 8.5 9.0

current mapping

USD/THB

USD/CNY 12mth NDF

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

ในชวงที่ผานมา เงินทุนสํารองระหวางประเทศของไทยเพิ่มสูงขึ้นเชนเดียวกับประเทศอื่นๆ ใน

ภูมิภาค และเปนเหตุผลสําคัญที่ทําใหเงินบาทปรับแข็งคาขึ้น ซึ่งจากรูปที่ 24 แสดงความสัมพันธในเชิงบวกระหวางทุนสํารองของประเทศในเอเชียและดัชนีคาเงินภูมิภาค ตัวเลขเงินทุนสํารองที่มากขึ้นสะทอนถึงความตองการสกุลเงินเอเชียที่เพิ่มสูงขึ้นเทียบกับสกุลเงินหลัก อาทิ ดอลลารสหรัฐฯ ยูโร แมปจจุบันความตองการดอลลารสหรัฐฯ จะเพิ่มขึ้นในภาวะที่นักลงทุนมีความกลัวการถดถอยของเศรษฐกิจสหรัฐฯ แต หากสถานการณดังกลาวคลี่คลายลง เรามองวาคาเงินในภูมิภาคจะปรับแข็งคาขึ้นเมื่อพิจารณาจาก ตัวเลขเงินทุนสํารองของเอเชียที่อยูในระดับสูงในปจจุบัน

.

Page 15: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

1515

15

รูปที่ 24. เงินทุนสํารองระหวางประเทศและดัชนีคาเงินเอเชีย รูปที่ 25. เงินทุนสํารองของไทยและUSD/THB

y = 0.0032x + 96.351R2 = 0.683

95

100

105

110

115

120

0 500 1000 1500 2000 2500 3000 3500 4000 4500 5000 5500 6000

latest data pointAsian currency index (Bloomberg / JP Morgan)

Asian FX reserves, USD bn

US bubble burst / recession fear effects

y = -7.6484Ln(x) + 69.957R2 = 0.8665

262830323436384042444648

25 75 125 175 225

FX reserves to USD/THB mapping current 2011 forecast

USD/THB

FX reserves, USD bn

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

รูปที่ 26. เงินทุนสํารองระหวางประเทศและดัชนีคาเงินเอเชีย รูปที่ 27. แบบจําลอง USD/THB จาก KBank

0

1000

2000

3000

4000

5000

6000

98 99 00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 1095

100

105

110

115

120

Asian FX reserves, left axis, USD bn Asian currency index vs USD, right axis

US bubble burst / recession fear effects

2830323436384042444648

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12

actual model

KBank USD/THB model

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

ปจจัยที่ทําใหสถานการณไมเปนไปตามที่คาดการณไว ?

จากรูปที่ 28 สะทอนถึงปญหาทางการคลังของประเทศในยุโรปที่กําลังเกิดขึ้นในปจจุบัน และ เปนเหตุผลสําคัญที่ทําใหดอลลารสหรัฐฯ ไมออนคาลงตามคาด โดยในชวงตนปสหภาพยุโรปมีการดําเนินการเพื่อแกไขวิกฤตหนี้ของประเทศสมาชิกและสรางความเชื่อม่ันแกเงินยูโร ทั้งการทดสอบภาวะวิกฤตของภาคธนาคาร การใหความชวยเหลือทางการเงินแกกรีซ การแกปญหาในภาคธนาคารของไอรแลนดที่เผชิญกับวิกฤตศรัทธาจากผูฝากเงินและนักลงทุน อีกทั้งยังมีเสียงเรียกรองใหทางการเขาดูแลเพื่อสรางความเชื่อม่ันใหแกธนาคารตางๆ ในยุโรป และปองกันการลุกลามของปญหา

Page 16: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

1616

16

รูปที่ 28. ประเทศสมาชิกในยูโรโซนทีประสบวิกฤตหนี้ รูปที่ 29…และสงผลกระทบลุกลามสูประเทศอื่นๆ ในภมูิภาค

Source: Cagle.com Source: Cagle.com

หากเปรียบเทียบขนาดเศรษฐกิจของประเทศ พบวา เศรษฐกิจของกรีซ ไอรแลนดและโปรตุเกส

มีขนาดที่ไมใหญนักหากเทียบกับประเทศสมาชิกอื่นๆ ในกลุม PIIGS โดยเฉพาะสเปน และอิตาลี อยางไรก็ดีการที่เยอรมันปฎิเสธที่ใหเงินชวยเหนือเพิ่มเติมสําหรับเงินกองทุนฉุกเฉินสําหรับประเทศสมาชิก ยูโรโซนที่มีวงเงินเริ่มตนที่ 7.5 แสนลานยูโร คอนขางมีนัยสําคัญเนื่องจากเยอรมันเปนประเทศหลักที่ให เงินสนับสนุนดังกลาว ขณะที่สเปนกําลังเปนประเทศที่ถูกจับตามอง เนื่องจากฐานะการคลังที่แยลง (ขณะที่อัตราการวางงานในประเทศพุงสูงราว 20%) สงผลใหตนทุนการกูยืมของทางการเพิ่มสูงขึ้น เห็นไดจากสวนตางอัตราผลตอบแทนพันธบัตรของสเปนที่พุงสูงขึ้นหากเทียบกับอัตราผลตอบแทน พันธบัตรของเยอรมัน รูปที่ 30. ขนาดเศรษฐกิจของประเทศในยุโรป รูปที่ 31. อัตราผลตอบแทนพันธบัตรของสเปนและเยอรมัน

0

500

1000

1500

2000

2500

3000

3500

GE FR IT SP NE BE AU GR DE FI PO IR Others

Eurozone GDP, 2009, USD bn

-50

0

50

100

150

200

250

300

00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 0

1

2

3

4

5

6

7

spread, left, bps Spain 10yr,% , right German 10yr,% , right

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

Page 17: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

1717

17

ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในยุโรป ทําใหธนาคารกลางในเอเชียมีการปรับสัดสวนการถือครองสกุลเงินตางๆ ในตะกราทุนสํารองของประเทศ โดยในชวงแรกเงินยูโรมีสัดสวนราว 18% ในทุนสํารองโลกและเพิ่มสูงขึ้นตามลําดับสูระดับสูงสุดที่ 27.5% เนื่องจากบทบาทของเงินยูโรในตลาดการเงินโลกที่มากขึ้น กอนที่ปรับตัวลงอีกครั้งโดยอยูที่ระดับ 26.5% ในปจจุบัน ทั้งนี้ความกังวลเกี่ยวกับปญหาในยุโรปทําใหนักลงทุนกลับเขาถือครองดอลลารสหรัฐฯ มากขึ้น และเปนเหตุผลที่ทําใหการแข็งคาของเงินบาทเปนไปอยาง จํากัด และหากสถานการณยังคงดําเนินตอไป อาจทําใหเปาหมายเงินบาทที่ 28.0 ในชวงปลายปหนาไมเปนตามคาด

รูปที่ 32. สกุลเงินตางๆ ในทุนสํารองโลก รูปที่ 33. สัดสวนเงนิดอลลารสหรัฐฯ และเงินยูโรในทุนสํารองโลก

USD62.1%

EUR26.5%

JPY3.3%

CHF0.1%

GBP4.2%

Other3.8%

60

62

64

66

68

70

72

74

1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 20101617181920212223242526272829

% holding in USD (left axis) % holding in EUR (right axis)

World's breakdown of reserve currency

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

รูปที่ 34. EUR/USD และสัดสวนเงินยูโรในทุนสํารองโลก รูปที่ 35. EUR/USD, USD/THB

y = 0.0513x + 0.0011R2 = 0.7798

0.700.800.901.001.101.201.301.401.501.601.70

15 17.5 20 22.5 25 27.5 30% share in central bank reserves

EUR/USD

latest data point

y = -20.055x + 62.805R2 = 0.7718

25

30

35

40

45

50

0.80 0.90 1.00 1.10 1.20 1.30 1.40 1.50 1.60 1.70EUR/USD

USD/THB

latest data point

Source: Bloomberg, CEIC, KBank Source: Bloomberg, CEIC, KBank

ความเสี่ยงอีกประการที่ตลาดการเงินใหความสําคัญ นั่นคือประเด็นความขัดแยงระหวางเกาหลีเหนือและเกาหลีใต หลังจากเกาหลีเหนือมีการจมเรือดําน้ําของเกาหลีใต และสถานการณมีความตึงเครียดขึ้นอีกครั้งในเดือนพ.ย. หลังจากเกาหลีเหนือมีการการยิงกระสุนปนใหญเขาไปในเกาหลีใต สถานการณ ดูเหมือนจะมีความยืดเยื้อเนื่องจากแตละประเทศมีพันธมิตรหนุนหลัง โดยเกาหลีเหนือมีจีนเปนผูสนับสนุน ขณะที่ทางฟากเกาหลีใตมีสหรัฐฯ เปนพันธมิตรหลัก

Page 18: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

1818

18

สถานการณที่เกิดขึ้น อาจเปนบททดสอบความสัมพันธของขั้วอํานาจระหวางสหรัฐฯ และจีน ทั้งในประเด็นทางการคา เศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร อยางไรก็ดี ในสวนของตลาดสินเชื่อไมไดใหน้ําหนักมากนักกับความขัดแยงที่เกิดขึ้น เห็นไดจากคาประกันความเสี่ยงในการผิดนัดชําระหนี้ หรือ CDS ของเกาหลีใตซึ่งไมไดปรับตัวสูงขึ้นมากนัก แตหากความขัดแยงขยายผลจนนําไปสูการเกิดสงครามที่ รุนแรงขึ้น เรามองวาสถานการณดังกลาวจะเปนประโยชนใหแกเงินดอลลารสหรัฐฯ ในฐานะสินทรัพยที่ปลอดภัยและอาจเปนอีกปจจัยที่ทําใหการเคลื่อนไหวของเงินบาทไมเปนไปตามที่คาดการณไว รูปที่ 36. การคุกคามของเกาหลีเหนือ รูปที่ 37. คาประกันการผิดนัดชําระหนี้ของเกาหลีใตและไทย

0100200300400500600700800

04 05 06 07 08 09 10

South Korea Thailand

Sovereign credit default swap (5-year)bps

Source: Cagle.com Source: Bloomberg, CEIC, KBank

แปลความสญัญาณดอกเบี้ยแบงคชาติ

ธปท.ปรับขึ้นอัตราดอกเบ้ียซื้อคืนพันธบัตรระยะ1 วันเปนรอยละ 2.00 จากรอยละ1.75 สรางความประหลาดใจใหกับตลาด

ธปท. มองเศรษฐกิจปหนาขยายตัวไดดี และสงสัญญาณวาอัตราดอกเบี้ยมีแนวโนมขึ้นไดอีก โดยอัตราดอกเบ้ียที่แทจริงยังติดลบ

โครงสรางอัตราดอกเบ้ียสะทอนการคาดการณของตลาดวาอัตราดอกเบ้ียลอยตัวระยะ 6 เดือนมีแนวโนมปรับขึ้นอีกรอยละ 0.60-0.70

แมวาความเสี่ยงดานบวกของอัตราดอกเบ้ียจะมีมากกวา เราคาดวาพันธบัตรรัฐบาลที่จะประมูลในไตรมาส 2 ของปงบประมาณ 54 นาจะไดรับการตอบรับที่ดี

อัตราดอกเบ้ียนโยบายมีแนวโนมเพิ่มขึ้นไปสูรอยละ 2.50 ภายในปลายเดือนมิ.ย.

Page 19: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

1919

19

ธปท.ปรับขึ้นอัตราดอกเบ้ียเซอรไพรสตลาด

ธปท.ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเปนครั้งที่สามในปนี้เมื่อวันที่ 1 ธ.ค. ทําใหอัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตรระยะ1 วันเพิ่มขึ้นจากรอยละ1.75 เปนรอยละ 2.00 ซึ่งสรางความประหลาดใจใหกับตลาด นอกจากนี้ การสงสัญญาณแนวโนมนโยบายการเงินดูจะชัดเจนมากขึ้น จากแถลงขาวผลการประชุมกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในรอบนี้ และเราคิดวาสาระสําคัญมีสามประเด็นดวยกัน

ประการที่หนึ่ง การฟนตัวของเศรษฐกิจโลกยังมีความไมแนนอน แตอยางไรก็ดี รัฐบาลสหรัฐฯ และอียูมีแนวทางการดําเนินนโยบายที่ชัดเจนมากกวาเดิม สวนเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจตางๆยังสะทอนแนวโนมการฟนตัวที่ตอเนื่อง ประเด็นที่สอง เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจไทยอยูในแนวโนมการขยายตัวที่ดี โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชจายภาคเอกชนที่นาจะเปนแรงคับเคลื่อนสําคัญของเศรษฐกิจในปหนา และจะชวยชดเชยการชะลอตัวของการสงออกได ประเด็นสุดทาย ระดับของอัตราดอกเบี้ยในปจจุบันยังสามารถสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิจได และการที่อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงยังอยูในชวงติดลบ (สําหรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราดอกเบี้ยเงินฝากระยะ12 เดือน) เปนสัญญาณวาธปท.มีแนวโนมปรับอัตราดอกเบี้ยกลับเขาสูภาวะปกติตอไป ทั้งนี้ โครงสรางอัตราดอกเบี้ยขณะนี้สะทอนการคาดการณของตลาด วาอัตราดอกเบี้ยลอยตัวระยะ 6 เดือนมีแนวโนมปรับขึ้นอีกรอยละ 0.60-0.70 ในชวง 6 เดือนขางหนา และหลังจากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ตลาดปรับอัตราดอกเบี้ย IRS (interest rate swap) ระยะ 2 ป (ซึ่งในอดีตเคลื่อนไหวสอดคลองกับอัตราดอกเบี้ยนโยบาย) ขึ้นอีกรอยละ 0.25 – 0.30 ภายในเวลา 1- 2 วัน รูปที่ 38. อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง รูปที่ 39. ตลาดปรับมุมมองแนวโนมอัตราดอกเบี้ยภายหลัง 1 ธ.ค.

-6-4-202

468

10

01 02 03 04 05 06 07 08 09 10

%

real 12m deposit rate Real policy rate real MLR

-100

-50

0

50

100

150

200

Jan-08 Jul-08 Jan-09 Jul-09 Jan-10 Jul-101.0

2.0

3.0

4.0

5.0

Expected change in 6m THBFIX IRS 2Y (right axis) Policy rate (right axis)

%bp

Source: Bloomberg, KBank Source: Bloomberg, KBank

ตลาดกําลังปรับคาดการณแนวโนมดอกเบ้ีย

อัตราผลตอบแทนสําหรับพันธบัตรรัฐบาลระยะสั้นปรับตัวสูงขึ้นอยางรวดเร็ว หลังจากที่ แถลง

ขาวผลการประชุมกนง. สงสัญญาณวาอาจมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอีกในการประชุมครั้งตอไป

Page 20: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

2020

20

ณ วันที่ 12 มกราคม 2554 ในขณะเดียวกัน อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลระยะยาวตอบสนองนโยบายธปท.ไดในจํากัดกวา เนื่องจากมีแรงหนุนจากนักลงทุนระยะยาวและการเรงตัวของอัตราเงินเฟอ ยังไมชัดเจนมาก ดังนั้น สวนตางระหวางอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 2 ป และ 10 ปจึงปรับลงไปสู 107 bp จาก 121bp ณ ส้ินเดือนพฤศจิกายน ตารางที่ 1. การเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลรายเดือน

end of period 1YR ∆ QoQ, bps 2YR ∆ QoQ, bps 5YR ∆ QoQ, bps 10YR ∆ QoQ, bps 2-5s 2-10s May-10 1.52 8 ▼ 2.15 2 ▲ 3.06 6 ▼ 3.49 18 ▼ 91 ▼ 134 ▼ Jun-10 1.56 4 ▲ 2.13 2 ▼ 2.99 7 ▼ 3.33 16 ▼ 86 ▼ 120 ▼ Jul-10 1.91 35 ▲ 2.45 32 ▲ 3.08 9 ▲ 3.44 11 ▲ 63 ▼ 99 ▼ Aug-10 1.99 8 ▲ 2.42 3 ▼ 2.69 39 ▼ 3.01 43 ▼ 27 ▼ 59 ▼ Sep-10 2.01 2 ▲ 2.35 7 ▼ 2.56 13 ▼ 3.12 11 ▲ 21 ▼ 77 ▲ Oct-10 1.98 3 ▼ 2.31 4 ▼ 2.83 27 ▲ 3.18 6 ▲ 52 ▲ 87 ▲ Nov-10 2.11 13 ▲ 2.38 7 ▲ 2.98 15 ▲ 3.59 41 ▲ 60 ▲ 121 ▲

08-Dec-10 2.20 9 ▲ 2.59 21 ▲ 3.22 24 ▲ 3.66 7 ▲ 63 ▲ 107 ▼

Source: Bloomberg, KBank

ความเส่ียงการปรับตัวสูงขึ้นของอัตราดอกเบี้ย

ในชวงตอไป เรามองวาปจจัยเสี่ยงที่จะสงผลใหอัตราดอกเบี้ยปรับตัวสูงขึ้นมีคอนขางมาก หากพิจารณาการเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรตั้งแตตนป 53 จะพบวาเงินทุนไหลเขาปริมาณมากเปนปจจัยเรงที่ทําใหอัตราผลตอบแทนปรับลดลงอยางรวดเร็วในชวงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน เมื่อเปนเชนนี้ ยอมจะมีความเสี่ยงที่อัตราผลตอบแทนจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วไดหาก กระแสเงินทุนไหลเขาใน ปหนามีปริมาณที่แตกตางจากในปนี้มาก หรือหากมีการไหลออกของเงินทุนมาก อนึ่ง อัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 5 ป และ 10 ปขณะนี้ไดปรับตัวขึ้นไปสูระดับเดียวกันกับในชวงเดือนพฤษภาคมที่ผานมา

ปจจัยที่สองไดแกแนวโนมอัตราเงินเฟอ อนึ่ง อัตราเงินเฟอขณะนี้ อยูในระดับที่ไมสูงมากนักแตหากเราพิจารณาดัชนีราคาผูบริโภคและดัชนีราคาผูผลิต จะพบวาดัชนีทั้งสองยังปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ตามมุมมองของเราอัตราผลตอบแทนพันธบัตรในระดับปจจุบันยังไมไดรวมคาชดเชยจากเงินเฟออยางสมบูรณ (ซึ่งเงินเฟอเปรียบเสมือนคาเสื่อมของกําลังซื้อที่แทจริง) และยังไมไดรวมปจจัยเสี่ยงสําหรับแนวโนมที่อัตราเงินเฟอทั่วไปจะปรับสูงขึ้น สังเกตงายๆวาอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 1-2 ป ยังอยูในระดับต่ํากวาอัตราเงินเฟอเฉลี่ยในปนี้ที่ รอยละ 3.0 นอกจากนี้ สวนตางระหวางอัตราผลตอบแทน พันธบัตรระยะสั้นและยาวที่มีไมมากสะทอนวานักลงทุนไมไดเรียกรองคาชดเชยจากเงินเฟอและสภาพคลอง (liquidity premium) มากนัก สวนตางระหวางอัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะสั้นและยาว 2x5 และ 2x10 ยังคอนขางต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับคาเฉลี่ยระยะยาวประมาณ 10 ปที่ผานมา

Page 21: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

2121

21

รูปที่ 40. การเปลี่ยนแปลงการถือครองพันธบัตรเงินบาทของตางชาติ รูปที่ 41. อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล

-20.0

-10.0

0.0

10.0

20.0

30.0

40.0

Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec

Change in foreign holding

Billion baht

As of Dec 03

1.5

2.0

2.5

3.0

3.5

4.0

4.5

Jan-10 Mar-10 May-10 Jul-10 Sep-10 Nov-10

%

2y 5y 10y

Source: Thai BMA (monthly increase is approximate since this is a weekly data), KBank Source: Bloomberg, KBank

อยางไรก็ดี เรามองวาเครื่องชี้เศรษฐกิจไทยตางสะทอนวา อัตราเงินเฟอมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น และการลงทุนในประเทศยังสามารถขยายตัวไดดี อีกทั้งปจจัยพื้นฐานยังหนุนใหการลงทุนในตลาดหุนมีแนวโนมปรับตัวดีขึ้นในปหนา ซึ่งเปนอีกปจจัยทําใหนักลงทุนหันไปลงทุนในตลาดหุนมากขึ้นโดยลดการลงทุนในตลาดพันธบัตรนอยลง ดังนั้น เสนอัตราผลตอบแทนในชวงครึ่งปหลังของป 2554 นาจะมีโอกาสปรับตัวชันขึ้นจากปจจุบัน โดยมีแนวโนมปรับชันขึ้นอยางชัดเจนหลังการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายส้ินสุดลง รูปที่ 42. ดัชนีราคาผูบริโภคและดัชนีราคาผูผลิต รูปที่ 43. สวนตางอัตราผลตอบแทน 2x5 และ 2x10 เทียบคาเฉลีย่ระยะยาว

859095

100105110115120125130

Jan-05 Jan-06 Jan-07 Jan-08 Jan-09 Jan-10

CPI PPI Core CPI

Jan 07 = 100, rebased index

-500

50100150200250300350400

00 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10

bps

2-5 bond spread 2-10 bond spread

2-5 average

2-10 average

Source: CEIC, KBank Source: Bloomberg, KBank

ทบทวนแผนการประมูลพันธบัตรอีกครั้ง

ไตรมาสแรกของปงบประมาณ 2554 กําลังจะส้ินสุดลง ซึ่งหมายความวา ถึงคราวที่นักลงทุน ตองมาทบทวนผลการประมูลพันธบัตรรัฐบาลในไตรมาสนี้อีกครั้ง ประเด็นแรก Bid-coverage ratio (BCR) สะทอนวาความตองการพันธบัตรรัฐบาลยังคงมีอยู และในขณะเดียวกัน สวนตางระหวางอัตราผลตอบแทน ของราคาเสนอซื้อพันธบัตรสูงสุดและต่ําสุดอยูในชวงแคบๆ เวนแตการประมูลเพียงสองครั้ง (LB17OA และ LB236A) นอกจากนี้ผลประมูลพันธบัตรระยะยาวเชน อายุ 11 ป 15 ป และ 30 ป มี BCR ที่สูง สะทอนวาอุปสงคจากนักลงทุนระยะยาวเชน บริษัท ประกันฯ ยังมีอยูมาก ดังนั้น เราคาดวาการประมูลพันธบัตร

Page 22: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

2222

22

รัฐบาลในไตรมาสที่สอง (ไตรมาสแรกของปปฏิทิน 2554) นาจะมีการตอบรับจากนักลงทุนที่ดี และสําหรับสวนที่เหลือของป ภาวะการลงทุนในตลาดหุนจะเปนอีกปจจัยสําคัญที่ตองพิจารณา โดยนักลงทุนมีแนวโนมปรับแผนการลงทุนไปเนนสินทรัพยเส่ียงมากขึ้น ตารางที่ 2. ผลการประมูลพันธบัตรรัฐบาลชวง ตุลาคม – ธันวาคม 2553

Yield(%)

BCR Issue Term Auction Amt (million baht) Maturity Auction Comp.

Bid Non

Comp. Bid High Low Range

(bp) Avg.

LB236A 12.84 Yrs 8,000 16-Jun-23 06-Oct-10 8,000 0.00 3.220 3.127 9.3 3.181100 1.79 LB15DA 5.32 Yrs 13,000 11-Dec-15 27-Oct-10 13,000 0.00 2.825 2.750 7.5 2.791300 1.74 LB416A 30.65 Yrs 3,000 14-Jun-41 27-Oct-10 3,000 0.00 3.780 3.710 7.0 3.750900 1.86 LB17OA 7.09 Yrs 12,000 10-Oct-17 10-Nov-10 12,000 0.00 3.290 3.185 10.5 3.239600 1.23 LB316A 20.62 Yrs 6,000 20-Jun-31 10-Nov-10 2,900 0.00 3.750 3.700 5.0 3.723900 0.93 LB21DA 11.08 Yrs 10,000 17-Dec-21 17-Nov-10 10,000 0.00 3.785 3.749 3.6 3.766200 2.59 LB25DA 15.05 Yrs 6,000 12-Dec-25 24-Nov-10 6,000 0.00 3.820 3.770 5.0 3.798500 2.63 LB14NA 4.00 Yrs 7,000 26-Nov-14 24-Nov-10 7,000 0.00 1.990 1.900 9.0 1.956430 2.53 LB236A 12.84 Yrs 8,000 16-Jun-23 08-Dec-10 8,000 0.00 3.970 3.795 17.5 3.905900 1.13 LB15DA 5.32 Yrs 14,000 11-Dec-15 15-Dec-10 - - - - - - - LB416A 30.65 Yrs 3,000 14-Jun-41 15-Dec-10 - - - - - - -

Total 90,000 Source: Thai BMA

เราคาดวาพันธบัตรรัฐบาลที่จะออกประมูลทั้งหมดในไตรมาสหนานาจะอยูที่ 1.2 แสนลานบาท

(โดยประมาณการจากเอกสารของสบน.เดิม) โดยสวนใหญเปน benchmark bonds อายุระหวาง 5-20 ป เมื่อพิจารณาถึงการไถถอนพันธบัตรที่จะครบกําหนดในไตรมาสเดียวกัน ซึ่งมีมูลคาหนาตั๋วรวมประมาณ 7 หมื่นลานบาท เราคาดวาจะมีสภาพคลองในมือนักลงทุนเพียงพอที่จะสนับสนุนใหผลการประมูลพันธบัตรออกมาดี รูปที่ 44.. พันธบัตรรัฐบาลที่ครบกําหนดไถถอน ปงบประมาณ 54

Maturing Government loan bonds

40

89

03

70

88

0

20

40

60

80

100

Q4/2010 Q1/2011 Q2/2011 Q3/2011 Q4/2011 Q1/2012

bn baht

Principal

Source: Bloomberg, KBank

Page 23: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

2323

23

มุมมองภาวะตลาดในระยะสั้น

โดยสรุป เรายังคงการคาดวาอัตราดอกเบี้ยนโยบายมีแนวโนมเพิ่มขึ้นไปสูรอยละ 2.50 ภายในเดือนมิถุนายน ซึ่งปจจุบัน ตลาดมีการคาดการณถึงการเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ยในระดับนี้อยูแลว โดยเปนการคาดการณสําหรับ 6 เดือนขางหนา แตเราคาดวาธปท.จะปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นเร็วกวาที่ตลาดคาด หรือในการประชุมสองนัดถัดไป (12 มกราคม และ 9 มีนาคม) โดยปรับขึ้นครั้งละ 25bp สําหรับเปาหมายนโยบายการเงินหรือ อัตราเงินเฟอพื้นฐาน ธปท.ยังคงประมาณการเดิมวา มีแนวโนมสูงเกิน กรอบเปาหมายที่รอยละ 3.00 ในไตรมาสที่ 2 และ 3 ทั้งนี้การสงผานนโยบายการเงินโดยอาศัยกลไก อัตราดอกเบี้ยอาจตองใชเวลามากในภาวะที่เศรษฐกิจยังมีสภาพคลองสูงและการกอหนี้ภาคเอกชนต่ํา (low leverage) การปรับอัตราดอกเบี้ยแตเนิ่นๆจึงนาจะมีประสิทธิภาพมากกวา

ในสองไตรมาสแรกของป 2554 เราคาดวาเสนอัตราผลตอบแทนจะปรับราบลงเล็กนอย โดย อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นจะปรับตัวเร็วจากการปรับขึ้นของอัตราดอกเบี้ยนโยบายเมื่อเทียบกับอัตราผลตอบแทนระยะยาว อนึ่ง การประมูลและการไถถอนพันธบัตรรัฐบาลในชวงเดียวกันจะสนับสนุน แนวโนมนี้เชนกัน อยางไรก็ตามเสนอัตราผลตอบแทนนาจะชันยิ่งขึ้นในชวงครึ่งหลังของปโดยอาศัยแรงขับเคลื่อนของการชดเชยดานเงินเฟอและการปรับแผนการลงทุนในสินทรัพยเส่ียงมากขึ้น เชนการลงทุน ในตลาดหลักทรัพย

ตารางที่ 3. ประมาณการแผนการประมูลพันธบัตรรัฐบาลชวง ปงบประมาณ 2554 หนวย : พันลานบาท

tenor Oct Nov Dec Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Q1 Q2 Q3 Q4 Total PDMO initial Budget 5Y 13 - 14 - 20 - 13 - 14 - 20 - 27 20 27 20 94 100 7Y - 12 - 9 - 9 - 12 - 9 - 9 12 18 12 18 60 65 10Y - 10 - 13 - 10 - 13 - 10 - 13 10 23 13 23 69 70 12Y 8 - 8 - 6 - 6 - 6 - 6 - 16 6 12 6 40 40 15Y - 6 - 8 - 6 - 8 - 6 - 8 6 14 8 14 42 45 20Y - 6 - 6 - 6 - 10 - 6 - 6 6 12 10 12 40 45 30Y 3 - 3 - 5 - 3 - 3 - 5 - 6 5 6 5 22 20 50Y - - - - 1.5 - - 1.5 - - 1.5 - 0 1.5 1.5 1.5 4.5 4.5

4Y FRN - 7 - 10 - 10 - 7 - 10 - 10 7 20 7 20 54 55 CPI linked - - - - 3 - - 3 - - 3 - 0 3 3 3 9 9

Total 24 41 25 46 35.5 41 22 54.5 23 41 35.5 46 90 122.5 99.5 122.5 434.5 453.5 Source: PMDO, KBank

Page 24: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

2424

24

สรุปภาวะเศรษฐกิจไทย

เครื่องชี้เศรษฐกิจสําคัญในเดือนแรกของไตรมาส 4/2553 สะทอนภาพการชะลอตัวลงของ

กิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งในและตางประเทศ

การสงออกชะลอลงจากเดือนกอน และขยายตัวต่ํากวารอยละ 20 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปกอน เปนครั้งแรกในรอบ 11 เดือน

ความเชื่อมั่นภาคเอกชนถดถอยลง สอดคลองกับการชะลอตัวลงของการลงทุนและการบริโภคภาคเอกชน

อัตราเงินเฟอทั่วไปเดือนพฤศจิกายน 2553 ขยับขึ้นเล็กนอยจากเดือนกอนหนา สะทอนผลกระทบของปญหาน้ําทวม

เมื่อประกอบทิศทางที่ออนแอของเครื่องชี้เศรษฐกิจไทยเดือนตุลาคม เขากับหลากหลายปจจัยเส่ียงในชวงไตรมาส 4/2553 ทําใหศูนยวิจัยกสิกรไทยประเมินวา เศรษฐกิจไทยอาจยังคงหดตัวลงจากไตรมาสกอนหนา โดยมีอัตราการขยายตัวเมื่อเทียบกับชวงเดียวกัน ปกอนต่ํากวารอยละ 2.0 อยางไรก็ดี เศรษฐกิจไทยในภาพรวมป 2553 นาที่จะขยายตัวไดสูงถึงประมาณรอยละ 7.0

ศูนยวิจัยกสิกรไทยยังคงกรอบประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจสําหรับป 2554 ไวที่รอยละ 3.5-4.5 ทามกลางปจจัยเส่ียงและสถานการณของเศรษฐกิจโลกที่อาจมีความซับซอนมากขึ้น ขณะที่ แนวโนมการขยับขึ้นของอัตราเงินเฟอในประเทศ ก็อาจทําให แนวทางการคุมเขมนโยบายการเงินของธปท. ดําเนินอยางตอเนื่องไปในชวง 3-6 เดือนขางหนา

Thanyalak Vacharachaisurapol - KResearch [email protected] Kevalin Wangpichayasuk - KResearch [email protected] Kangana Chockpisansin - KResearch [email protected]

Thanyalak Vacharachaisurapol - KResearch [email protected] Kevalin Wangpichayasuk - KResearch [email protected] Kangana Chockpisansin - KResearch [email protected]

Page 25: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

2525

25

ตารางที่ 1. สรุปเครื่องชี้เศรษฐกิจที่สําคัญของไทย Units: YoY %, or indicated otherwise 2009 2010

YTD 2Q10 3Q10 Sep Oct Nov Composite Private Consumption Index -2.5 6.3 7.6 4.9 3.1 2.3

• Sales Volume of Benzine and Gasohol 5.7 -2.6 -3.7 0.8 1.2 -1.2 • Value-added Tax at 1995 prices -10.2 16.7 20.1 13.0 7.3 4.6 • Imports of Consumer Goods at 1995 prices -6.2 24.4 34.9 16.3 9.2 11.3 • Passenger Car Sales 4.2 61.3 75.9 58.6 45.8 43.2 • Motorcycle Sales -13.0 25.0 30.5 21.1 9.3 2.0

Private Investment Index (PII) -12.0 18.0 21.8 20.1 20.1 17.4 • Sales Volume of Domestic Cement -2.4 5.3 12.2 0.8 3.7 -7.2 • Sales Volume of Commercial Cars -19.2 41.1 37.3 39.5 35.6 28.9 • Imports of Capital Goods at 1995 prices -15.9 26.7 35.2 27.1 21.7 11.6 • Value of BOI Applications 66.2 4.2 37.6 -17.9 -66.4 86.6

Manufacturing Production Index -7.2 17.5 17.6 9.8 8.1 6.2 • Industrial Capacity Utilization 56.2 63.4 62.6 64.3 64.4 64.1

Agriculture Production Index -0.3 -3.2 -0.5 -3.0 -0.2 -5.8 • Agriculture Price Index -10.5 26.0 25.3 30.2 26.9 29.1

Exports (in $) -14.0 29.7 41.8 23.1 21.8 16.6 • Unit Value 0.3 9.5 10.0 8.0 7.4 7.5 • Volume -14.3 18.6 29.0 14.0 13.4 8.5

Imports (in $) -25.2 40.7 44.8 28.8 15.7 13.0 • Unit Value -2.5 8.4 9.0 6.5 5.8 6.5 • Volume -23.4 30.3 33.0 21.0 9.4 6.1

Trade Balance ($ millions) 19,388 12,523 4,645 3,303 3,243 2,442 Current Account ($ millions) 21,866 12,306 1,698 2,047 2,767 2,909 Broad Money 8.1 11.2 7.0 9.9 9.9 11.2 Headline CPI -0.9 3.4 3.3 3.3 3.0 2.8 2.8 $/THB (Reference Rate) 34.335 31.873 32.385 31.634 30.834 29.970 29.886 Source: BOT, MOC and the Office of Agricultural Economics

การสงออกชะลอลงตามที่คาด และขยายตัวต่ํากวารอยละ 20 YoY เปนครั้งแรกในรอบ 11 เดือน ในเดือนตุลาคม 2553 การสงออกชะลอลงจากเดือนกอน (MoM) โดยบันทึกมูลคา 17.0 พันลาน

ดอลลารฯ เทียบกับ 18.0 พันลานดอลลารฯ ในเดือนกันยายน 2553 และเมื่อผนวกกับผลของฐานเปรียบเทียบ การสงออกจึงขยายตัวเพียงรอยละ 16.6 จากเดือนเดียวกันปกอน (YoY) เทียบกับการขยายตัวรอยละ 21.8 ในเดือนกันยายน 2553 ขณะที่ หากไมรวมการสงออกทองคําซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดือนกอน การสงออกที่ไมรวมทองคําขยายตัวรอยละ 14.9 (YoY) ชะลอลงชัดเจนจากการขยายตัวรอยละ 25.6 ในเดือนกันยายน 2553 รูปที่ 1. การสงออกเดือนต.ค.53 ชะลอลงจากเดือนกอนและเดือนเดยีวกันปกอน รูปท่ี 2. การชะลอตวัเกิดขึ้นในเกือบทุกสินคาสงออกหลัก

0

5,000

10,000

15,000

20,000

Apr-09 Jul-09 Oct-09 Jan-10 Apr-10 Jul-10 Oct-10

Expo

rt Va

lue (U

SD M

illion

)

-40%

-20%

0%

20%

40%

60%

% Y

oY

Exports Exports (excluding gold)% YoY for Exports % YoY for Exports exclud. Gold

0

500

1,000

1,500

2,000

Oct-09 Dec-09 Feb-10 Apr-10 Jun-10 Aug-10 Oct-10

US

D M

illio

n

Gold Vehicles & Parts Computer & PartsPetroleum Products Electrical Appliances RiceIC and Parts Base Metal Products

Source: BOT, MOC, KResearch Source: BOT, CEIC, KResearch

Page 26: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

2626

26

การชะลอลงจากเดือนกอนของการสงออกในเดือนตุลาคม 2553 นําโดย แผงวงจรไฟฟาและ

ช้ินสวน (ขยายตัวรอยละ 0.04 YoY แยลงจากการขยายตัวรอยละ 20.7 ในเดือนกันยายน 2553) คอมพิวเตอรและชิ้นสวน (แมจะขยายตัวรอยละ 4.4 YoY เทียบกับที่หดตัวรอยละ 1.7 ในเดือนกันยายน แตก็เปนผลจากฐานเปรียบเทียบ) ยานพาหนะและชิ้นสวน (ขยายตัวรอยละ 33.0 YoY ชะลอลงจาก การขยายตัวรอยละ 46.4 ในเดือนกอน) นอกจากนี้ สินคาที่บันทึกมูลคาการสงออกลดลงจากเดือนกอนยังไดแก โลหะมูลฐาน เครื่องใชไฟฟา เคมีภัณฑ และน้ําตาล

หลังจากฟนตัวในเดือนกอน การสงออกไปตลาดหลัก ยกเวนจีน ชะลอตัวลงในเดือนตุลาคม 2553 เมื่อเทียบกับเดือนกอน โดยการสงออกไปสหรัฐฯ (ขยายตัวรอยละ 4.9 YoY เทียบกับการขยายตัวรอยละ 17.0 ในเดือนกันยายน) อาเซียน (ขยายตัวรอยละ 14.6 YoY ลดลงจากการขยายตัวรอยละ 33.7 ในเดือนกอน) ญี่ปุน (ขยายตัวรอยละ 18.1 YoY เทียบกับการขยายตัวรอยละ 30.0 ในเดือนกันยายน) สหภาพยุโรป (ขยายตัวรอยละ 9.6 YoY เทียบกับการขยายตัวรอยละ 21.2 ในเดือนกอน) และตะวันออกกลาง (แมจะขยายตัวรอยละ 7.9 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากการขยายตัวรอยละ 2.1 ในเดือนกันยายน แตก็เปนผลจากฐานเปรียบเทียบ) ขณะที่ การสงออกไปจีนเพิ่มขึ้นเล็กนอยจากเดือนกอน แมผลของฐาน จะทําใหการขยายตัวชะลอลงเชนกันมาที่รอยละ 26.9 YoY เทียบกับการขยายตัวรอยละ 29.3 ในเดือนกันยายน รูปที่ 3. การสงออกไปตลาดหลักลวนชะลอตัวจากเดือนกอน รูปที่ 4. การนําเขาชะลอตัวลง ตามการสงออกและการใชจายภายในประเทศ

0

10

20

30

40

50

U.S. China Japan EU (27) ASEAN (9) India Middle East

% Y

OY

2Q10 3Q10 Sep-10 Oct-10

-40-20

0204060

80100

Oct-09 Dec-09 Feb-10 Apr-10 Jun-10 Aug-10 Oct-10

% Y

oY

Consumer Goods Raw & Intermediate GoodsCapital Goods

Source: BOT, MOC, KResearch Source: BOT, KResearch

จากโมเมนตัมที่ชะลอลงของการสงออกและการใชจายภายในประเทศ สงผลใหการนําเขาใน

เดือนตุลาคม 2553 มีมูลคาลดลงมาที่ 14.6 พันลานดอลลารฯ เทียบกับ 14.7 พันลานดอลลารฯ ในเดือนกันยายน 2553 และเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปกอน การนําเขาขยายตัวรอยละ 13.0 YoY ชะลอตัวลงเชนกันจากการขยายตัวรอยละ 15.7 ในเดือนกอน ทั้งนี้ หากไมรวมการนําเขาทองคํา การชะลอตัวจากเดือนกอนของการนําเขาเกิดขึ้นกระจายไปในทุกหมวดหลัก ไดแก สินคาทุน (ขยายตัวรอยละ 13.8 YoY ชะลอลงจากการขยายตัวรอยละ 24.9 ในเดือนกันยายน) วัตถุดิบและสินคาขั้นกลาง (ขยายตัวรอยละ 18.1 YoY เทียบกับการขยายตัวรอยละ 26.3 ในเดือนกันยายน) และสินคาอุปโภคบริโภค (แมจะขยาย ตัวรอยละ 15.1 YoY เรงขึ้นจากการขยายตัวรอยละ 12.9 ในเดือนกอน แตก็เปนผลจากฐานเปรียบเทียบ)

Page 27: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

2727

27

เนื่องจากมูลคาการสงออกลดลงจากเดือนกอนมากกวามูลคาการนําเขา ดุลการคาในเดือนตุลาคม 2553 จึงบันทึกยอดเกินดุลลดลงมาที่ 2.4 พันลานดอลลารฯ จากการเกินดุล 3.2 พันลานดอลลารฯ ในเดือนกันยายน 2553 อยางไรก็ดี ดุลบัญชีเดินสะพัดยังสามารถรักษาการเกินดุลที่เพิ่มขึ้นไดตอเนื่องเปนเดือนที่ 3 ติดตอกัน โดยบันทึกยอดเกินดุลสูงสุดในรอบ 20 เดือนที่ 2.91 พันลานดอลลารฯ เทียบกับการเกินดุล 2.77 พันลานดอลลารฯ ในเดือนกันยายน อันเปนผลจากดุลบริการ รายได และเงินโอน ที่พลิกจากการขาดดุล 476 ลานดอลลารฯ ในเดือนกอน มามียอดเกินดุล 467 ลานดอลลารฯ ตามรายรับจากการทองเที่ยวที่เพิ่มขึ้นและการสงกลับกําไรออกนอกประเทศที่ลดลง รูปที่ 5. ภาคการทองเที่ยวฟนตัวตอเนือ่ง รูปที่ 6. แมไดรับผลกระทบจากอุทกภัย แตอัตราการเขาพักโรงแรมที่เพิ่มขึ้น

ยังบงชี้ถึงแนวโนมเชิงบวกในระยะใกล

-20

-10

0

10

20

30

40

50

Oct-09 Jan-10 Apr-10 Jul-10 Oct-10

Fore

ign

Tour

ist A

rriv

als

(% Y

oY)

33

38

43

48

53

58

63

68

Hot

el O

ccup

ancy

Rat

e (%

)

Foreign Tourist Arrivals (lhs) Hotel Occupancy Rate (rhs)

0

10

20

30

40

Central(Include.BKK)

South North NE All

%

1Q10 2Q10 3Q10 Oct-10 Source: TAT, BOT, KResearch Source: TAT, BOT, KResearch

ภาคการทองเที่ยวฟนตัวตอเนื่อง

ในเดือนตุลาคม 2553 จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติเพิ่มขึ้นมาที่ 1.3 ลานคน จาก 1.2 ลานคน

ในเดือนกันยายน 2553 แมวาผลของฐานเปรียบเทียบจะทําใหจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติขยายตัวรอยละ 8.6 YoY ชะลอลงจากการขยายตัวรอยละ 14.5 ในเดือนกอนก็ตาม โดยตองยอมรับวา ภาคการทองเที่ยวไดรับผลกระทบจากภาวะอุทกภัยที่เกิดขึ้นตั้งแตกลางเดือนตุลาคม แตผลกระทบดังกลาวอยูในขอบเขตที่บริหารจัดการได เห็นไดจากอัตราการเขาพักโรงแรมในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่คอนขางทรงตัว (เพิ่มขึ้นรอยละ 47.0 YoY ในเดือนตุลาคม เทียบกับการเพิ่มขึ้น 46.9 ในเดือนกันยายน) เทียบกับพื้นที่ภาคอื่นๆ ที่สามารถขยายตัวราวรอยละ 2-7 จากเดือนกอน

ทั้งนี้ แมวาผลกระทบจากภาวะอุทกภัยอาจจะยิ่งมีความชัดเจนมากขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 2553 แตยอดการจองหองพักลวงหนา 3 เดือนที่แข็งแกรงนาจะชวยลดทอนผลกระทบดังกลาวไปไดบางสวน

Page 28: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

2828

28

การผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวต่ําสุดในรอบ 12 เดือน

สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม รายงานดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนตุลาคม 2553 ที่ชะลอลงทั้งจากเดือนกอนและเดือนเดียวกันปกอน ตามที่คาด โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัวรอยละ 6.2 YoY (เทียบกับการขยายตัวรอยละ 8.1 ในเดือนกันยายน 2553) ต่ําสุดในรอบ 12 เดือน อันเปนผลจากโมเมนตัมการสงออกที่ชะลอลง ซึ่งสงผลใหการผลิตสินคาที่สัดสวนการสงออกมากกวารอยละ 60 ของการผลิตรวม ขยายตัวในอัตราที่ชาลง (ขยายตัวรอยละ 4.6 YoY เทียบกับการขยายตัวรอยละ 8.8 ในเดือนกอน) ตรงขามกับการผลิตสินคาที่สัดสวนการสงออกอยูระหวางรอยละ 30-60 ของการผลิตรวม และการผลิตสินคาที่สัดสวนการสงออกนอยกวารอยละ 30 ของการผลิตรวม ที่ยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

ในทิศทางที่สอดคลองกับดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม อัตราการใชกําลังการผลิตของ สศอ.ในเดือนตุลาคม 2553 ลดลงเล็กนอยมาที่รอยละ 64.1 จากรอยละ 64.4 ในเดือนกันยายน 2553 รูปที่ 7. การผลิตภาคอุตสาหกรรมชะลอลง สอดคลองกับการชะลอตัวลงของการสงออก

รูปที่ 8. ความเชื่อมัน่ภาคเอกชนถดถอยลง

40

60

80

Apr-09 Jul-09 Oct-09 Jan-10 Apr-10 Jul-10 Oct-10

CPU

(%)

-20.0

-10.0

0.0

10.0

20.0

30.0

40.0

MP

I (%

YoY

)

CPU MPI

25.030.035.040.045.050.055.060.0

Apr-09 Jul-09 Oct-09 Jan-10 Apr-10 Jul-10 Oct-10

BSI

60.0

70.0

80.0

90.0

100.0

110.0

120.0CCI & TISI

BSI BSI (Expected for the next 3 mths) CCI TISI

Source: OIE, KResearch Source: BOT, University of the Thai Chamber of Commerce, KResearch

ความเชื่อม่ันภาคเอกชนถดถอยลง

ในเดือนตุลาคม 2553 ความเชื่อม่ันของภาคเอกชนปรับตัวแยลงพรอมเพรียงกัน โดยดัชนีความเช่ือมั่นของผูบริโภค (CCI) ลดลงจากระดับสูงสุดในรอบ 45 เดือนที่ 81.5 ในเดือนกันยายน 2553 มาที่ระดับ 80.2 ซึ่งเปนการลดลงครั้งแรกในรอบ 6 เดือน ขณะที่ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (BSI) ลดลงจาก 50.6 ในเดือนกันยายน มาที่ 50.0 ซึ่งเปนระดับที่อยูตรงกลางระหวางการปรับตัวดีขึ้นและการปรับตัวแยลง สวนดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) ลดลงเปนเดือนที่ 3 ติดตอกันมาที่ 98.7 ต่ํากวาระดับ 100 ซึ่งบงชี้ถึงความเชื่อม่ันที่ถดถอยลงของภาคอุตสาหกรรม ทั้งนี้ ความเชื่อม่ันของภาคเอกชนที่แยลงดังกลาว เปนผลมาจากความกังวลที่มีเพิ่มขึ้นตอความเสี่ยงทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะผลกระทบจากภาวะอุทกภัย การแข็งคาของเงินบาท สัญญาณการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกที่ชัดเจนมากขึ้น การเพิ่มขึ้นของตนทุนการผลิต ตลอดจนความเสี่ยงทางการเมืองในประเทศ

Page 29: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

2929

29

การลงทุนและการบริโภคภาคเอกชนชะลอตัวลง

ในเดือนตุลาคม 2553 ทั้งการลงทุนและการบริโภคภาคเอกชนชะลอตัวลงอีก โดยดัชนีการลงทุนภาคเอกชน (PII) ที่ปรับฤดูกาล หดตัวจากเดือนกอนอีกรอยละ 0.9 แยลงจากการหดตัวรอยละ 0.1 ในเดือนกันยายน 2553 อันเปนผลจากการหดตัวลงในเครื่องชี้หลัก ไมวาจะเปนปริมาณจําหนายซีเมนตในประเทศ ปริมาณจําหนายรถยนตเชิงพาณิชย และการนําเขาสินคาทุน ณ ราคาคงที่ รูปที่ 9. ดัชนีการลงทุนภาคเอกชนหดตัวลงอีกในเดือนตุลาคม รูปที่ 10. ดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนหดตัวตอเนื่องจากเดือนกอน

Source: BOT, KResearch Source: BOT, KResearch

ขณะที่ ดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน (PCI) ที่ปรับฤดูกาล หดตัวจากเดือนกอนอีก

รอยละ 1.2 แยลงจากการหดตัวรอยละ 0.4 ในเดือนกันยายน ตามการหดตัวในเครื่องชี้หลัก อาทิ การจัดเก็บภาษีมูลคาเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และปริมาณจําหนายรถยนตนั่ง ที่สวนหนึ่งไดรับผลกระทบจากความติดขัดชั่วคราวของกิจกรรมในประเทศหลังเกิดอุทกภัยในชวงครึ่งหลังของเดือนตุลาคม

หากเทียบกับเดือนเดียวกันปกอน ดัชนีการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวชะลอลงมาที่รอยละ 17.4 YoY จากการขยายตัวรอยละ 20.1 ในเดือนกันยายน ขณะที่ดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวชะลอลงเชนกันมาที่รอยละ 2.3 YoY จากการขยายตัวรอยละ 3.1 ในเดือนกันยายน

Page 30: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

3030

30

อัตราเงินเฟอในเดือนพฤศจิกายน 2553 ขยับขึ้นจากเดือนกอนสะทอนผลกระทบจากน้ําทวม

ในเดือนพฤศจิกายน 2553 ดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไป เพิ่มขึ้นจากเดือนกอนหนา (MoM) รอยละ 0.21 ตามการปรับเพิ่มขึ้นของราคาในหมวดอาหารบางประเภทที่ไดรับผลกระทบจากภาวะอุทกภัย อยางไรก็ดี ราคาสินคาในหมวดที่ไมใชอาหาร ปรับลดลงเล็กนอยรอยละ 0.09 (MoM) ในเดือนพฤศจิกายน เนื่องจากการปรับเพิ่มขึ้นของราคาน้ํามันขายปลีกในประเทศถูกหักลางลงดวยการปรับตัวลงของคาเชาบาน ซึ่งมีน้ําหนักประมาณรอยละ 15.19 ในตะกราเงินเฟอ

อยางไรก็ดี ผลจากปจจัยเรื่องฐานเปรียบเทียบ ทําใหอัตราเงินเฟอทั่วไปเดือนพฤศจิกายนทรงตัวอยูที่รอยละ 2.8 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน (YoY) ซึ่งก็สอดคลองกับตัวเลขคาดการณของศูนยวิจัยกสิกรไทยและนักวิเคราะหสวนใหญ

เมื่อหักราคาอาหารสดและพลังงานออกไป อัตราเงินเฟอพื้นฐานขยับขึ้นจากเดือนกอนหนาเพียงรอยละ 0.02 (เทียบกับที่ขยับขึ้นรอยละ 0.11 ในเดือนกอนหนา) และทรงตัวอยูที่รอยละ 1.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน ในเดือนพฤศจิกายน

สําหรับดัชนีราคาผูผลิตในเดือนพฤศจิกายนนั้น เพิ่มขึ้นรอยละ 0.7 จากเดือนกอนหนา นําโดย ราคาสินคาในหมวดอุตสาหกรรมและผลิตภัณฑที่เกี่ยวของกับพลังงาน อยางไรก็ดี เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันปกอน อัตราเงินเฟอฝงผูผลิตปรับตัวลงมาที่รอยละ 5.9 (YoY) ในเดือนพฤศจิกายน จากรอยละ 6.3 ในเดือนตุลาคม

เศรษฐกิจไทยหดตัวลง (QoQ) ในไตรมาส 3/2553

ขอมูลจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติลาสุด ระบุวา เศรษฐกิจไทยขยายตัวตอเนื่องในชวงไตรมาส 3/2553 ประมาณรอยละ 6.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน

รูปที่ 11. ดัชนีการลงทุนภาคเอกชนและดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวชะลอลงจากเดือนเดียวกันปกอน

รูปที่ 12. อัตราเงินเฟอขยับขึ้นเล็กนอยในเดือนพฤศจิกายน 2553 จากภาวะอุทกภัย

-20-15-10-505

10152025

1Q09 2Q09 3Q09 4Q09 1Q10 2Q10 Jul-10 Aug-10 Sep-10 Oct-10

% Y

oY of

PII a

nd P

CI

Private Consumption Index (PCI) Private Investment Index (PII)

-15

-10

-5

0

5

10

15

Jul-09 Nov-09 Mar-10 Jul-10 Nov-10

% Y

oY

PPI Headline CPI Core CPI

Source: MOC, KResearch Source: MOC, KResearch

Page 31: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

3131

31

(YoY) ทั้งนี้ แมอัตราการเติบโตดังกลาวจะชะลอลงจากที่ขยายตัวรอยละ 9.2 (YoY) ในไตรมาส 2/2553 แตก็เปนตัวเลขที่สูงกวาตัวเลขคาดการณของนักวิเคราะหสวนใหญ รูปที่ 13. เศรษฐกจิไทยขยายตวัในอัตราที่ชะลอลงในไตรมาส 3/2553 ตารางที่ 2. GDP ของไทยและสวนประกอบ

-1.9

2.1 2.13.6

-0.6 -0.2

3.85.9

12.09.2

6.7

-7.0-5.2

-2.8

-10.0

-5.0

0.0

5.0

10.0

15.0

1Q52 2Q52 3Q52 4Q52 1Q53 2Q53 3Q53

% QoQ, S.A. % YoY

Subprime & EU debt crisis, plus H1N1 Influenza

epidemics

Subprime & EU debt crisis, plus H1N1 Influenza

epidemics

Domestic political tension

Domestic political tension

Slowing global econ & Baht’ssharp appreciation

Slowing global econ & Baht’ssharp appreciation

(% QoQ, S.A.) 3Q09 4Q09 1Q10 2Q10 3Q10 GDP 2.1 3.8 3.6 -0.6 -0.2

Private Consumption 0.9 2.5 0.3 2.6 -0.6 Government Consumption 3.4 6.1 -0.4 -0.6 -3.3 Investment 2.8 -2.5 6.7 4.9 -0.4 Exports of Goods and Services 6.1 7.5 5.6 1.6 -3.2 Imports of Goods and Services 3.6 11.8 5.6 2.0 0.4

Source: NESDB, KResearch Source: NESDB, KResearch

เมื่อพิจารณาเทียบกับไตรมาสกอนหนา (QoQ) เศรษฐกิจไทยหดตัวลงเปนไตรมาสที่สอง

ติดตอกัน ซึ่งสอดคลองกับนิยามของ “ภาวะถดถอยทางเทคนิค” เนื่องจากภาคการสงออกของไทยในไตรมาสที่ 3/2553 ไดรับแรงกดดันจากภาวะเศรษฐกิจโลกและการแข็งคาของเงินบาท อยางไรก็ดี ภาพ การหดตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในชวงไตรมาส 2/2553 นั้น อาจมองไดวา เกิดจากผลของเหตุการณ รุนแรงทางการเมือง ซึ่งเปนปจจัยที่สงผลกระทบเฉพาะไตรมาสดังกลาวเทานั้น เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 4/2553 อาจยังหดตัวลงเมื่อเทียบกับไตรมาส 3/2553 ทามกลางปจจัยเส่ียงหลายดาน จากการที่เศรษฐกิจไทยยังคงเผชิญกับปจจัยเสี่ยงรอบดาน อาทิ โมเมนตัมการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก การแข็งคาของเงินบาท และภาวะอุทกภัยเมื่อยางเขาสูชวงไตรมาสสุดทายของป 2553 ทําใหศูนยวิจัยกสิกรไทยประเมินวา เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 4/2553 นาจะหดตัวลงจากไตรมาสกอนหนาประมาณรอยละ 1.0 (QoQ) และขยายตัวไมเกินรอยละ 2.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน (YoY) ชะลอลงตอเนื่องจากที่ขยายตัวรอยละ 6.7 (YoY) ในไตรมาส 3/2553 ซึ่งก็เทากับวา มูลคากิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทย จะหดตัวลงเปนไตรมาสที่สามติดตอกัน เศรษฐกิจไทยในป 2554 อาจเผชิญความซับซอนจากสถานการณเศรษฐกิจโลก และแนวโนมการขยับขึ้นของอัตราเงินเฟอในประเทศ

ศูนยวิจัยกสิกรไทยยังคงกรอบประมาณการสําหรับอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจไทยในป 2554 ไวที่รอยละ 3.5-4.5 โดยชะลอลงจากที่คาดวาจะขยายตัวราวรอยละ 7.0 ในป 2553 ทั้งนี้ เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโลกในชวง 12 เดือนขางหนา อาจมีความซับซอนมากขึ้นทั้งในสวนของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ยุโรป และจีน โดยผลสัมฤทธิ์ของมาตรการผอนคลายเชิงปริมาณของธนาคารกลางสหรัฐฯ (QE 2) ยังคงตองรอ

Page 32: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

3232

32

การพิสูจน ขณะที่ ความเสี่ยงตอภาวะฟองสบูและแรงกดดันเงินเฟอในจีน ก็นาจะทําใหทางการจีนจําตองดําเนินมาตรการทางการเงินที่คุมเขมมากขึ้น สวนความกังวลตอวิกฤตดานการคลังในยุโรปก็ยังคงไมลดระดับลงอยางมีนัยสําคัญ โดยยังคงมีการประเมินวา ปญหาอาจลุกลามออกไปยังประเทศอื่นๆ ที่มีฐานะการคลังที่คอนขางออนแอ ซึ่งก็ทําใหประเทศเหลานั้น อาจตองยื่นขอรับความชวยเหลือทางการเงินเชนเดียวกันกับกรีซและไอรแลนด

ทั้งนี้ สถานการณที่ซับซอนใน 3 ภูมิภาคดังกลาวขางตน ยอมสงผลกระทบตอเนื่องมาสรางความผันผวนใหกับตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน และตลาดทุนอยางหลีกเลี่ยงไดยาก ขณะที่ ภาวะการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก และแนวโนมการแข็งคาของเงินบาท ก็นาที่จะทําใหอัตราการเติบโตของการสงออก ในรูปเงินบาทมีคาติดลบในชวงครึ่งแรกของป 2554 ซึ่งยอมทําใหแรงหนุนจากอุปสงคในประเทศ โดยเฉพาะการลงทุนของภาครัฐและภาคเอกชน (อาทิ การขยายกําลังการผลิตในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส ยานยนต อาหาร ปโตรเคมี เหล็ก และพลังงานทดแทน) จะมีบทบาทมากขึ้นตอเศรษฐกิจไทยในชวงปขางหนา ตารางที่ 3. ประมาณการเศรษฐกิจไทยโดยศูนยวิจัยกสิกรไทย

Units: %YoY or otherwise indicated 2009 2010 2011

GDP -2.3 7.0 3.5-4.5Brent Crude (USD/Barrel) 61.6 78.5 82.5-90.0

Private Consumption -1.1 3.7 3.0-3.5Investment -9.2 10.2 7.5-9.0

Budget Deficit (% of GDP) -5.8 -3.2 -3.8 to -5.0Exports -14.0 27.0 6.0-10.0Imports -25.2 35.0 9.0-13.0

Trade Balance (USD Billion) 19.4 14.0 7.3-10.2Current Account Balance (USD Billion) 20.3 14.2 8.3-11.7

Headline CPI -0.9 3.3 2.5-4.0Core CPI 0.3 0.9 1.8-3.0

No. of Unemployed Persons (Billion) 571 420.0 390-420Unemployment Rate (% of Labor Force) 1.5 1.1 1.0-1.1

Source: KResearch

อยางไรก็ดี คาดวา การบริโภคภาคเอกชนนาที่จะขยายตัวในกรอบที่ชะลอลงมาเล็กนอย เนื่องจากปราศจากแรงหนุนของมาตรการกระตุนอสังหาริมทรัพย ขณะที่ การกําหนดอัตราสวนเงินใหสินเชื่อตอมูลคาหลักประกันในสวนของที่อยูอาศัย และการปรับเพิ่มของแรงกดดันเงินเฟอก็เปนปจจัยที่กดดันการบริโภคดวยเชนกัน

สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจที่มีความไมแนนอนดังกลาว อาจเปนเงื่อนไขที่ทําใหธปท.ตองชั่งน้ําหนักระหวางโมเมนตัมการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ และความเสี่ยงในชวงขาขึ้นของเงินเฟอในประเทศ อยางไรก็ดี คาดวา ธปท.นาจะคงจุดยืนนโยบายการเงินเปนเชิงคุมเขมอยางตอเนื่องในชวง 3-6 เดือนขางหนา

Page 33: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

3333

33

แนวโนมในเดือนถัดไป สําหรับแนวโนมของตัวเลขเศรษฐกิจในเดือนถัดไป คาดวา การสงออกในเดือนพฤศจิกายน 2553 อาจหดตัวจากเดือนกอนหนาจากผลของปจจัยทางฤดูกาลและความออนแอของอุปสงคจากตางประเทศ แมวาปจจัยเรื่องฐานเปรียบเทียบอาจทําใหอัตราการขยายตัวของการสงออกเมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันปกอนเพิ่มสูงขึ้นกวารอยละ 16.6 ในเดือนตุลาคมก็ตาม ทั้งนี้ โมเมนตัมของภาคการสงออกที่ยังอยูในภาวะชะลอตัวอาจสงผลตอเนื่องมายังการผลิตภาคอุตสาหกรรม ขณะที่ ความเชื่อม่ันภาคเอกชนนาที่จะไดรับแรงกดดันจากปจจัยเสี่ยงที่ยังคงตอเนื่องมาจากเดือนกอหนา และภาวะอุทกภัยที่ขยายตัวไปในหลายพื้นที่มากขึ้น สวนทิศทางของอัตราเงินเฟอเดือนธันวาคม 2553 นั้น คาดวา อาจขยับขึ้นจาก เดือนกอนหนา (MoM) และเมื่อรวมผลของฐานเปรียบเทียบ ก็นาจะทําใหอัตราเงินเฟอทั่วไปมีโอกาสสูง กวารอยละ 3.0 ในเดือนธันวาคม เทียบกับรอยละ 2.8 ในเดือนพฤศจิกายน ขณะที่ อัตราเงินเฟอพื้นฐานเดือนธันวาคมก็อาจมีคาสูงกวาอัตรารอยละ 1.1 ในเดือนพฤศจิกายนดวยเชนกัน

Page 34: K bank multi asset strategies dec 2010  thai_

3434

34

Disclaimer For private circulation only. The foregoing is for informational purposes only and not to be considered as an offer to buy or sell, or a solicitation of an offer to buy or sell any security. Although the information herein was obtained from sources we believe to be reliable, we do not guarantee its accuracy nor do we assume responsibility for any error or mistake contained herein. Further information on the securities referred to herein may be obtained upon request.