freedom education issue

28

Upload: friends-without-borders-magazine

Post on 25-Jul-2016

228 views

Category:

Documents


5 download

DESCRIPTION

Friends Without Borders Magazine No.25

TRANSCRIPT

Page 1: Freedom Education Issue
Page 2: Freedom Education Issue

2

กองบรรณาธกิารพรสขุ เกดิสวางนฤมล แดนพงพีณชันน แนะปอแตแปลภาษาส. กาญจนากนกจนัทร พฒันพชิยัพรสขุ เกดิสวางบรรณาธกิารภาษาองักฤษซาบรนีา ยอวารีเวเนสซา แลมปนกัเขยีนรบัเชญิสงิห สวุรรณกจิวส ุศรยีาภยัภู เชียงดาวณัฐกร ศรีแกวและมหามติรทกุทานศลิปกรรมวนัทนยี มณแีดงสมาชกิและเผยแพรนฤมล แดนพงพีพมิพที่สนัตภิาพการพมิพ

Editorial TeamPim KoetsawangNaruemon DanpongpeeNatchanon NaepawtaeTranslatorS. KanchanaKanokchan PattanapichaiPornsuk KoetsawangEnglish EditorsSabrina GyovaryVanessa LambContributorsSing SuwannakijWasu SriyapaiPu Chiang DaoNattakorn Srikaewand other friendsArt EditorWantanee ManeedangMember and DistributionNaruemon DanpongpeePrinterSantipab Printing

○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

**สวสัดหีนารอนนะคะ ขอบคณุทีไ่ดถามไถกนัมาเรือ่งสมคัรสมาชกินติยสาร และโพสตความคดิเหน็ตาง ๆ ลงเวบ็ไซทของเรา เรากำลงัพยายามปรบัลสิตรายการสมาชิกอยูเพราะที่ผานมามีบางคนบนวาไดรับบางไมไดบาง แตยังไงก็อยาลืมนะคะวาเราเปนนิตยสารรายสองเดือน ซึ่งจะไปถึงมือทานเดือนเวนเดือนคะ**ขาวใหญเดอืนนี ้อลับัม้เพลง "ไรพรมแดน" จะปรากฏโฉมในวนัที ่21 ม.ีค. วนัสากลแหงตอตานการเลอืกปฏบิตัทิางสผีวิเผาพนัธ ุเริม่ถามหาตามแผงซดีหีรอืสั่งซื้อกันมาได ** และพิเศษสุด สำหรับชาวเชียงใหม วันเสารที่ 29 มี.ค.นี้ ขอเชิญชวนมารวมกัน "บินขามลวดหนาม" ที่สำนักสงเสริมศิลปวัฒนธรรม มช.ถ.คลองชลประทาน (แยกกาดพยอม) นะคะ นิทรรศการ ภาพยนตร ดนตรีอยางนี้ปหนึ่งมีครั้งเดียว ดูรายละเอียดไดที่ปกหลัง หรือติดตามความคืบหนาทกุระยะไดทีเ่วบ็ www.friends-without-borders คะ ** แวว ๆขาวดทีีร่อประกาศเปนทางการในฉบบัหนา คอืการประกวดมวิสคิวดิโีอสำหรบัเพลงไรพรมแดนผสูนใจงานดโีอ เตรยีมถลกแขนเสือ้กนัไวไดเลยคะ เจอกนัฉบบัหนานะคะ

** Summer greetings! Thanks for your inquiries about magazine subscription and your comments posted on our website. We are now re-arranging ourmember system as some of you complained for not regularly receiving the magazine. However, please don't forget we are a bi-monthly magazine and wewill arrive at your postbox only once every two months. ** Big news of the month is our 'Songs Without Borders' music album, which will be released onMarch 21st, the International Day for the Elimination of Racial Discrimination. We're happy to tell you that there'll be English translations in the CD cover &booklet too. ** And special for Chiang Mai people, on Saturday March 29th, you are welcome to 'Fly Beyond the Barbwires' with us at the Center for thePromotion of Arts and Culture, CMU, Canal Rd (Kad Phyom intersection). An event like this - with art exhibition, film screening and musical performances -comes only once a year! Please see details in the back cover and posters that will be put around town soon. Looking forward to seeing you there!

ขาวฝาก ฝากขาวNSIDE NEWS

เพื่อนไรพรมแดนเปนองคกรเอกชนไทยที่กอตั้งเมื่อป 2542 ที่ทำงานสงเสริมความเขาใจในสิทธิมนุษยชนไรพรมแดนและเครือขายภาคประชาชนระหวางประชาชนไทยและผูพลัดถิ่นจากประเทศพมา งานของเรามุงพัฒนาในระยะยาวอยางยัง่ยนื กจิกรรมหลกัไดแกงานสือ่ทางเลอืกประเภทตาง ๆ, โครงการการศกึษาสทิธมินษุยชน และสงเสรมิเครอืขายประชาชนผานทางเวทเีรยีนรแูละแลกเปลีย่น, งานสงเสรมิศกัยภาพและการใหคำปรกึษาเกีย่วกบัการผลติสือ่กบัองคกรชมุชน

หากทานตองการตพีมิพหรอือางองิขอเขยีน บทความ และภาพจากนติยสารเพือ่ประโยชนตอสงัคม กรณุาสือ่สารใหเรา

ทราบลวงหนา สำหรบัภาพจากแหลงอืน่ทีใ่ชในนติยสารนี ้กรณุาตดิตอโดยตรงทีเ่จาของภาพ

Friends Without Borders is a Thai NGO, established in 1999 to promote all human rights for all andthe Thai-Burma people's network. With a small team and big groups of friends, the work startedfrom a small scale, with a hope to expand to wider and more diverse groups of people in Thaisociety. Our main activities are alternative media, human rights education and peoples' networkpromotion via workshop training and exchange forums, and capacity building and consultancy forcommunity-based organizations.

We are happy to receive comment, suggestions, and articles from all of you. Please contact,FRIENDS WITHOUT BORDERS P.O.Box 180, Chiangmai University P.O., Chiang Mai 50202 ThailandPhone & Fax: 053-336298 E-mail: [email protected] www.friends-without-borders.org

เพื่อนไรพรมแดน ตู ปณ. 180 ไปรษณียมหาวิทยาลัยเชียงใหม อ.เมือง จ.เชียงใหม 50202โทร./แฟกซ 053-336298 E-mail: [email protected]

Page 3: Freedom Education Issue

3

กอนสิ้นป ชายผูลี้ภัยกะเรนนีถูกเจาหนาที่อ.ส.ยิงเสียชีวิต และใครหลายคนก็หลงเชือ่ขาวลอืไรหลกัฐานวากลมุผลูีภ้ยัทีก่ราดเกรีย้วไดเผาทำลายธงชาตไิทยเพือ่แกแคนถงึตนป มขีาวฝายความมัน่คงเขาคมุเขมงานวฒันธรรมของชาวไทยเชือ้สายมอญรวมกบัแรงงานอพยพชาวมอญ ขาวลอบสงัหารเลขาธกิารสหภาพแหงชาตกิะเหรีย่งอยางอกุอาจในบานพักอำเภอแมสอด (อานรายละเอียดเพิ่มเติมไดจาก www.friends-without-borders.org) และขาวรฐับาลกบัสภาผแูทนราษฎรใหม ซึง่สรางความรสูกึปนปวนมวนทองใหเราอยางบอกไมถูก

ในบรรยากาศมืด ๆเชนนี้ ดิฉันไดมีโอกาสพูดคุยกับ "ครู" สามคน คนแรกเปนคนมอญไรสัญชาติจากกาญจนบุรีที่มาเปนครูสอนเด็ก ๆลูกหลานแรงงานอพยพในเขตอตุสาหกรรม ครคูนทีส่องเปนผลูีภ้ยัชาวกะเหรีย่งทีม่โีอกาสเตม็รอยทีจ่ะเดนิทางไปตัง้ถิน่ฐานตางประเทศ แตกลบัยอนเขาไปเปนครใูนโรงเรยีนเดก็พลดัถิน่เขตรฐักะเหรีย่ง สวนคนทีส่ามนัน้เปนผอูาวโุสในวงการดนตรคีลาสสกิไทย ซึง่เคยไดรบัเชญิไปสอนในสถาบนัการดนตรใีนกรงุยางกงุ ประเทศพมา

ในความแตกตางภายนอก มคีวามคลายคลงึอยเูบือ้งลกึ ครทูัง้สามลวนบอกเลาถงึความอดัอัน้ตนัใจตอสภาพถดถอยของชมุชนสงัคมตน ทัง้ทีม่ทีีม่าจากความกดดนัของความเปนคนพลดัถิน่ สงคราม หรอืดวยระบบการศกึษาทีส่อนใหคนเราคดินอยและคดิสัน้ลงเรือ่ย ๆ หากความหดหเูกอืบสิน้หวงันีเ้องกไ็ดจดุประกายวญิญาณแหงความเปนคร ูและทำใหพวกเขารสูกึวา การถายทอดความรแูละทกัษะของตนในการมอง ฟง คดิ และกระทำไปสูคนรุนหลังนั้นเปนสิ่งที่ตองทำ

เพื่อนไรพรมแดนฉบับ "การศึกษาแหงเสรีภาพ" นี้ ขอเปนกำลังใจใหแกครูและนกัเรยีนทกุคน ทัง้ในและนอกโรงเรยีน ทีม่ไิดมองการศกึษาเปนเพยีงหนาที ่หากเปนสทิธิที่จะนำเราทั้งหมดไปสูเสรีภาพและศักดิ์ศรี อยางไรก็ดี กอนจะปดตนฉบับเลมนี้ ดิฉันก็ไดยนิขาวความคดิทีจ่ะใชงบประมาณเทาใดไมทราบ ซือ้คอมพวิเตอรลานเครือ่งจากทีใ่ดไมทราบ มาแจกใหแกโรงเรยีนทัว่ประเทศเพือ่พฒันาคณุภาพการศกึษาของเดก็ไทย

เพื่อนครูของดิฉันเคยบอกวา คนเราจะสอนอะไรใหใครไมไดเลย หากเขามองผเูรยีนเปนเพยีงองคประกอบของอาชพี นกัเรยีนกจ็ะไมไดอะไรเลย หากผสูอนมไิดมคีวามปรารถนาดีอยางจริงใจ การจะกำหนดนโยบายการศึกษาที่ดีไดคงตองอาศัยความปรารถนาดอียางจรงิใจมากกวาการมองประชากรเปนเพยีงกลไกของรฐั อนัทีจ่รงิ นาจะดีอยูไมนอยที่เด็กไทยเราจะไดเห็นคอมพิวเตอรงาม ๆในโรงเรียน รวมถึงโรงเรียนชนบทที่ไมมไีฟฟา แตดฉินักอ็ดกงัวลไมไดวา เจาคอมพวิเตอรเหลานีอ้าจไดรบัมอบหมายภารกจิอันยิ่งใหญเกินกวาที่สมองกลของมันจะเขาใจได ความสามารถในการคิดคำนวณของพวกมันก็คงอยูในระดับไมตางกับตรรกะที่จะเทเงินซื้อมัน แทนที่จะไปทุมความพยายามใหกับการพัฒนาหลักสูตรและทักษะครู เพื่อติดอาวุธทางความคิดใหแกเยาวชนของเราใหรจูกัวเิคราะห ตัง้คำถาม ตดัสนิใจไดอยางชาญฉลาด และเปนธรรม

ครูทั้งสามและครูอีกจำนวนมาก ดำรงชีวิตอยูดวยความหวังและความเชื่อมั่นวาสภาพผะอืดผะอมของการเมือง เศรษฐกิจ สังคมดังที่เปนอยูจะไมไดสิ้นสุดเพียงวันนี้ตราบเทาทีพ่วกเขายงัไมยอมพายแพ และยนืหยดัปลกูฝงจติวญิญาณแหงเสรภีาพใหกบัคนรุนตอ ๆไป เชนเดียวกับที่ครูเอริน กรูเวลลเอยไวใน "กระดิกหาง" เพื่อนไรพรมแดนก็เชื่อวา เราไมสามารถจะรอไปตอสูเพื่อเสรีภาพในกระบวนการทางศาล หากการตอสูจะตองเริม่ตัง้แตการศกึษาในครอบครวั โรงเรยีน ชมุชน และสือ่มวลชน

ความปรารถนาสงูสดุของเรา ณ วนันี ้คอืการเปนสวนหนึง่ของการตอสนูัน้

ดวยความศรทัธาในศกัดิศ์รคีวามเปนมนษุยพรสขุ เกดิสวาง

Late last year, a Karenni refugee was shot dead by avolunteer guard. Some people believed the rumor wasintentionally released, with no grounds, that the angry

refugee crowd had subsequently destroyed a Thai national flagas revenge. Then, earlier this year, there were reports aboutsecurity force restrictions against a cultural celebration of theMon-Thai with Mon migrants, about the assassination of theKaren National Union's secretary-general that took place on Thaisoil, and about the new Thai government and parliament, whichcaused an incredible sick feeling in our stomachs.

With such 'dark clouds' looming overhead, I had a chanceto have conversations with three 'teachers'. The first one is astateless Mon from Kanchanaburi province who came to be ateacher for migrant children in industrial zone in Bangkok suburb.The second one is a Karen refugee who had an opportunity forresettlement in the third country but decided to return to be ateacher for displaced children inside Karen state. The last teacheris a respectable senior of the Thai classical music communitywho was invited to teach at a music institution in Rangoon, Burma.

There were similarities amongst such apparent differences.During our conversations, each of the teachers burst out infrustration over the decline they saw in the society they lived in,either due to the pressures of displacement and war or the currenteducational system that teaches people to think shorter andsuperficially. These frustrations, however, seemed to spark uptheir great teacher spirits; passing on knowledge and skills onhearing, seeing, thinking and acting to the next generation, tothem, has become a must.

Friends Without Borders 'Freedom Education' issue isdedicated to all teachers and students, in and out of schools,who take education not only as duty, but a right to lead us all tofreedom and dignity. However, before the manuscript was readyfor printing, I found another piece of news regarding a proposalto spend a great amount of the national budget to buy one millioncomputers, from somewhere, for schools around the country, inorder to strengthen the quality of education for Thai children.

A teacher friend of mine once said that one could teachstudents nothing, if he or she saw the students as only acomponent of their career; students would get nothing from thosewho lacked sincere, good wishes for them. To issue a good qualityeducation policy surely also requires sincere, good wishes forthe population, not as only a part of the country's mechanism. Itis nice that computers will be available to schoolchildren, evenin schools with no electricity, but I couldn't help worrying thatthese machines were appointed too great a mission for theirmechanical brains to be capable of. The computers' calculationcapacities may only be as fine as the logic to spend great moneyon them. Instead of making efforts to develop a kind of curriculumand skills set for teachers' that could help equip our young peoplewith analytical thinking, we see this kind of proposal.

The three teachers described here, and certainly manymore, live their lives with hope and confidence that the social,political, economic ills of today are not yet the end of the story,and they will continue planting the spirit of human freedom,allowing it to live on. Similar to Ms. Erin Gruwell's observationsin 'Wag My Tail', Friends Without Borders also believes that thefight for freedom cannot wait to start in the courtroom, but it mustbe an integral part of education in families, in schools, incommunities, and in the media.

Our great wish is to be part of that struggle.

With faith in human dignity,Pim Koetsawang

Page 4: Freedom Education Issue

4

เสยีงปนกระหน่ำดงัรอบโรงเรยีน โรงเรยีนทีน่ีอ่ยตูรงศนูยกลางระหวางทหารสองฝายทีก่ำลงัระดมยงิตอส ู นกัเรยีนตวัเลก็ ๆกรดีรองดวยความตกใจผวาวิ่งเขามากอดครู ครูกางแขนสองขางเหมือนแมไกโอบลูกเจี๊ยบไวใตปกกระชากนกัเรยีนลงหมอบดวยกนั ตวัสัน่น้ำตาไหลพราก

ประมาณหนึ่งชั่วโมงเสียงปนก็สงบลง ใครบาดเจ็บลมตายกี่คนนะครรูบีหนัมองและออกวิง่หานกัเรยีนทีซ่กุซอนอยตูามทีต่าง ๆ อยไูหน.. อยไูหนนะ...อยไูหนเนีย่ กวาจะรตูวัอกีท ีเดก็ ๆ กม็าอยลูอมรอบและบอกวา ... ไมเปนไรแลว ไมเปนไรแลวคร.ู. พวกเราทกุคนปลอดภยั ครไูมตองรองไหแลว ...

ถามใีครถามถงึเรือ่งนี ้ครดูาจะเลาใหฟงดวยเสยีงแกลมหวัเราะเสมอ...ฉนัเปนคนขีข้ลาดและขีแ้ยมากนะ.. แกบอก เหตกุารณนัน้เกดิขึน้เมือ่ไมกีป่ที่ผานมา อันที่จริง ในชวงชีวิตการเปนครูมาสิบกวาปนับตั้งแตอายุสิบแปดครดูาตองรองไหตวัสัน่แบบนีม้านบัครัง้ไมถวน แตครกูไ็มเคยเลกิสอน

ผมเจอครูดาในการอบรมครูหลายครั้ง ครูเปนคนที่ตั้งใจเรียนมากแกจะบันทึกความรูทุกอยางอยางเปนระเบียบ และนั่งทบทวนบทเรียนตอนกลางคนืเสมอ เพราะการเปนครหูมายถงึการเปนนกัเรยีนชัว่ชวีติ จะตองเรียนรู เพื่อไปถายทอดใหเด็กที่ไมมีโอกาสเห็นโลกภายนอก ครูดาชวนผมไปเที่ยวที่โรงเรียนที่อยูริมน้ำเมยในเขตประเทศพมาเหมือนกัน แตผมก็ยังไมกลาไป

ดวยความทีเ่ปนผชูายตวัเลก็ ๆและนมุนวลเหมอืนผหูญงิ ใครตอใครกอ็าจชอบลอเลยีนครดูาเปนตวัตลก แตสำหรบัผม ครดูาเขมแขง็กลาหาญกวาผูชายหลาย ๆคนรวมทั้งตัวผมเอง ไมใชเพียงเพราะครูอยูที่นั่นดวยเงินเดือน

ตดิปก

โรงเรยีนในพืน้ทีค่วามขดัแยง รฐักระเหรีย่งA school in conflict zone, Karen state

4

Page 5: Freedom Education Issue

5

ไมกีร่อยกบัขาวสาร ผกัตลอดจนกบเขยีดทีช่าวบานแบงปนให และไมใชเพยีงเพราะโรงเรียนนั้นมีนักเรียนกวาหกสิบคนตอครูไมเกินสองคน แตครูยังกำลังสานความหวงัอยางไมทอถอยอยใูนพืน้ทีแ่หงความขดัแยง ทีท่กุชวีติมแีตความหวาดกลัวและความไมแนนอน

พื้นที่ชายแดนกะเหรี่ยงติดฝงไทย บางสวนเปนเขตปกครองของกองกำลงัประชาธปิไตยกะเหรีย่งพทุธ หรอืดเีคบเีอ บางสวนกเ็ปนเขตเคเอน็ยูหรือสหภาพแหงชาติกะเหรี่ยงที่ยังตอตานเผด็จการทหารพมาอยู ดีเคบีเอแยกตวัออกจากเคเอน็ยแูละทำสญัญาหยดุยงิกบัรฐับาลทหารพมา แตกไ็มไดรับความไววางใจจากฝายทหารพมาเต็มที่นัก ในชวงเวลาที่ตึงเครียดที่สุดโรงเรียนหลายแหงแถวนั้นถูกเผาแลวเผาอีก เด็ก ๆหลายคนอพยพพลัดถิ่นซ้ำซาก พีน่องกะเหรีย่งจบัปนสกูนัเอง พีฆ่านอง นองฆาพี ่ลกูฆาพอ พอฆาลกูโดยทีค่งไมมใีครแนใจนกัวาฆากนัทำไม เพราะเรือ่งศาสนาจรงิ ๆแลวคงไมใชประเดน็ ในแตละหมบูานกไ็มไดมแีตพทุธหรอืครสิเตยีน ครดูากเ็ปนครสิเตยีนแตยังไดรับความเคารพเชื่อถือในหมูบานเขตดีเคบีเอ

ผมมองครูดานั่งทบทวนบทเรียนใตแสงเทียนแลวก็นึกอะไรไปไกล... พอแมเพาะเมล็ดพันธุเปนกลาไม ครูก็มีหนาที่พรวนดินรดน้ำใหดอกไมเบงบาน... ครดูาเคยบอกวาแกสอนหนงัสอืเพือ่อนาคตทีส่ดใสของเดก็ ดงันัน้ความเปนครูจึงไมไดมีหนาที่เพียงสอนใหอานออกเขียนได ชาวบานและเด็กในพื้นที่ความขัดแยงมีบาดแผลที่ตองเยียวยาเยอะ พวกเขาตองเตรียมพรอมที่จะเผชิญกับความโหดรายที่อาจมาไดทุกเมื่อ ... เราหันหลังใหสันติภาพมานานเหลอืเกนิ... ครดูาบอก ความขดัแยงเลก็ ๆ ในหมบูานคอืการทะเลาะกนัถาไมจัดการใหดี มันก็ขยายใหญเปนสงคราม และเมื่อสันติภาพเล็ก ๆยังไมเตบิโต สนัตภิาพใหญ ๆกย็ากทีจ่ะเกดิ

แทที่จริงแลว ผมเห็นครูดากำลังพยายามปลูกสันติภาพเล็ก ๆนั้นอยูในหองเรียนประถมสอง ครูดาสอนสิทธิเด็กดวยความตั้งใจจะใหเด็ก ๆรูจักเคารพสทิธขิองเดก็คนอืน่ และยอมรบัความแตกตางซึง่กนัและกนั เดก็กะเหรีย่งพุทธ คริสต หรือเด็กพมา ลวนเปนเด็กดวยกันทั้งนั้น บางทีผูใหญก็ไมอยากฟงเรื่องสันติภาพแลว เพราะพวกเขาเห็นความโหดรายที่เจออยูทุกวันเปนความจรงิ และสนัตภิาพเปนเพยีงเรือ่งเพอฝน แตเดก็ ๆเชือ่เหมอืนทีค่รดูาเชือ่ไดสกัวนัหนึง่ รอยยิม้ของเดก็ ๆอาจทำใหผใูหญหนัมาเชือ่เหมอืนกนักไ็ด

ผมนึกสงสัย ทำไมเราตองกันตัวเองออกจากความเปนมนุษย กันประเทศออกจากความเปนเพื่อนรวมโลก แลวก็สรางกำแพงสูงขึ้นมากั้นจนนกเสรภีาพบนิเขาออกไมได นกัเรยีนของครดูาและในอกีหลาย ๆโรงเรยีนในพื้นที่ความขัดแยงถูกกั้นกำแพงมาตั้งแตเกิด แมครูทั้งหลายจะยังหาหนทางทำลายกำแพงนี้ลงไมไดดวยตัวเอง พวกเขาก็ไมเคยมองโลกไรกำแพงเปนความฝนลม ๆแลง ๆ และตางกเ็ฝาพยายามตดิปกทีแ่ขง็แรงใหกบันกเสรภีาพผมนกึถงึครัง้หนึง่ทีแ่กลงแหยครดูาเลน ๆ วาครกูลวัลกูกระสนุปนแลวเมือ่ไหรจะเลกิสอน ซึง่แกกไ็มมคีำตอบยาว ๆใหกบัผม มเีพยีงคำวา .. คดิถงึเดก็...

นีค่งเปนเหตผุลจรงิ ๆของครดูา เปนเหตผุลทีอ่าจจะลกึซึง้จรงิใจกวาคำตอบเชงิอดุมการณสวย ๆ ทีผ่มไดยนิมาบอยครัง้.

The barrage of heavy gunfire and shells were heard from everydirection. The school was located between two fighting troops. Little kidsscreamed and ran into their teacher' arms. The teacher spread his arms tohold his students like a mother hen protecting her chicks, pulling themdown onto the floor, trembling in terror and wet with tears.

An hour later, the gunfire ceased. How many were injured and dead?The teacher hurriedly ran out to reach his pupils hiding in various corners.Where? Where? Where are they? Before long all the kids came out, standingaround him repeating, "It's okay now. It's okay. We are all safe, teacher.Please stop crying."

Whenever asked about it, Teacher Dah would relate the story withlaughter. "I am such a coward and a cry baby," he said. This scary momentdates back only a few years; however in his more than ten years as ateacher, which he has been since the age of 18 in fact, Teacher Dah hascried like this many times. But it can't prevent him from teaching.

I have met Teach Dah quite often in several teachers' trainings. Heis a very determined person; he notes everything he learned and reviews itevery night. Being a teacher means being a life-time student; a teacherhas to learn constantly in order to share knowledge with children in suchan isolated world. Teacher Dah invited me to visit his school on the Burmesebank of the Moei River, but I never had enough courage to go. TeacherDah, however fragile and feminine, to me, is much braver than many men,including myself.

Part of the Karen State close to the Thai border is under control ofthe Democratic Karen Buddhist Army (DKBA), while the other part is underthe Karen National Union (KNU), which remains the largest group fightingagainst the Burmese military regime. After splitting from the KNU, the DKBAreached a ceasefire agreement with the regime which subsequently led tothe most intense period of fighting in this area. Many schools in the borderareas were repeatedly burnt down and children were constantly displaced.With no understandable reasons, Karen people fight against one another;brothers kill brothers, children kill fathers, uncles kill nephews. Religion isin fact not the key to conflict as claimed. There is no pure Buddhist orChristian village. Teacher Dah is a Christian and he is warmly welcomedby DKBA leaders.

Watching Teacher Dah reviewing his lessons under the candlelight,my mind traveled far. As parents grow seeds into seedlings, teachers waterthem to grow and bear flowers. Teacher Dah teaches in order for the childrento have a better future and it has meant his task is more than teaching kidsto read and write. In a conflict zone like this one, there are many wounds tobe healed and lots of uncertainty to be prepared for. "We have turned ourback to peace for too long," he said. Small conflicts in a village may lead toa quarrel, and without good conflict management, it can expand into war.Where little peace has not yet grown, great peace will never be born.Although his explanation was a bit ambiguous, I understood quite well thathe was trying to grow the little seeds of peace in his classroom.

Teacher Dah's lessons on child rights focus on promoting the respectfor one another. The second grade pupils have to learn to value diversityand respect the rights of other kids; whether Buddhist, Christian, Karen orBurmese. Perhaps, grown-ups do not want to hear much about peacebecause they are exposed to the daily reality of cruelty and recognize peaceas only a dream. Children, however, are still able to hope as Teacher Dahis, that one day their smiles will possibly convince the adults.

I sometimes wonder why many of us bar ourselves from humanity,close off our countries from the rest of the world, and build giant walls toprevent all birds of freedom to fly outside. Pupils in many schools in conflictareas have been born behind this wall. Their teachers haven't been able todemolish it, yet they are trying to strengthen the wings of the freedom birds.A world with no walls is more than a foolish dream.

If asked if he will be quitting this hard job, Teacher Dah never givesany fancy answer. His only reply is a short, sincere, "No, I'll miss mystudents." A reason that seems much more real, deeper than the idealisticanswers orated by many others.

5

Strengthen their Wings

Page 6: Freedom Education Issue

6

หากเราเชื่อวา การศึกษาจะเปนสะพานกาวไปสูความหวัง นำไปสูความสำเรจ็ และชวยใหมนษุยใชชวีติไดอยางมศีกัดิศ์รแีลว ทกุสงัคมกส็มควรตองใหการสนบัสนนุการศกึษาอยางเตม็กำลงั การใหการศกึษาขัน้พืน้ฐานแกประชาชนเปนภาระหนาทีล่ำดบัตน ๆ ของรฐั อยางนอยทีส่ดุ เพยีงการอานออกเขียนไดในระดับที่ดี ก็เปนโอกาสการพัฒนาประชากรในเชิงคุณภาพตอไปไดในอนาคต

แตในความเปนจรงิ เรากลบัพบวา รฐั หรอื ผมูอีำนาจรฐัหลายกลมุไดใชการศึกษาเปนเครื่องมือในการบรรลุเปาประสงคบางอยางเทานั้นโดยเฉพาะอยางยิง่ การกลอมเกลาผคูนมใิหกระดางกระเดือ่ง กลบัตองสยบยอมตอสภาพที่รัฐกำหนดให

และ เมื่อสืบคนดู กลับพบวามีหลายประเทศที่ไมยอมสนับสนุนการศกึษาอยางเตม็ที ่กลบัทมุทรพัยากรทีม่อียไูปสรางความเขม็แขง็ทางการทหารเพียงเพื่อรักษาอำนาจของกลุมตนไวอยางนั้น

รายงานของ UNESCO บอกวา งบประมาณการศึกษาของประเทศพมาลาสุด จัดไวเปนสัดสวนเพียงรอยละ 4 ของงบประมาณชาติ ขณะที่งบซื้ออาวุธและพัฒนากองทัพ มีถึงรอยละ 40 ยิ่งในชวงปลายทศวรรษ 90รายงานของธนาคารโลกระบุวา รัฐบาลทหารพมาจัดสรรงบประมาณดานการศกึษาไวเพยีงรอยละ 1.2 เมือ่คดิเฉลีย่แลว คาใชจายในการสนบัสนนุเดก็นกัเรยีนพมาเปนเงนิแค 11 บาทตอคนตอป

ในป พ.ศ. 2545 ทางการพมาอวดวา รฐัไดทมุงบการศกึษาเกอืบ 1,300ลานบาทเพือ่ใหเดก็กวา 8 ลานคนไดมโีอกาสศกึษาระดบัประถม โดยยอมรบัวา เดก็วยัเรยีนอกีกวา 3 ลานคนจะยงัไมมโีอกาสทางการศกึษา เมือ่เปรยีบเทยีบกบัรายงานจาก UNICEF ทีว่า นกัเรยีนพมาประถมตน 100 คน จะจบ

ชัน้ประถมไดเพยีงราว 34 คนหรอืหนึง่ในสาม (และในจำนวนนี ้มสีวนนอยนดิที่ตอจนจบม.ปลาย พวกจบม.ปลายก็มีเพียงไมกี่คนที่ไดจบมหาวิทยาลัย)กห็มายความวา เดก็ทีม่โีอกาส 8 ลานคนตามคำกลาวอาง อาจเรยีนไมจบถงึ5 ลานคน บวกกบักลมุทีไ่มมโีอกาสเอาเลยอกี 3 ลาน จะไดเดก็ทีไ่มจบประถมศกึษาถงึ 8 ลานคน

นอกจากจะไมสนับสนุนทางการเงินแลว รัฐบาลทหารพมายังสั่งปดมหาวทิยาลยัหรอืสถานศกึษาขัน้สงูเมือ่ไรกไ็ด นานเทาใดกไ็ด บอยแคไหนกไ็ดดวยความคิดเพียงวา นักศึกษาอาจรวมกลุมกันทางการเมืองอันเปนการบอนทำลายความมั่นคงของตน นับแตการเรียกรองประชาธิปไตยของนักศึกษาที่ตามมาดวยการปราบปรามอยางเหี้ยมโหดในปพ.ศ. 2531 จนถึงป 2543 นัน้ นบัเปน 12 ปทีม่หาวทิยาลยัมรีะยะเวลาปดทำการมากกวาเปดปดทกีน็านตัง้แต 1 เดอืนถงึกวา 3 ป และเมือ่เปดไดใหม หลกัสตูรทีเ่คยเรยีนกนั 1 ปกต็องปรบัใหเหลอืแค 4 เดอืนจนไมรวูาไดเรยีนอะไรกนั

ลาสุด สำนักขาวมิสสิมารายงานวา (7/12/50) ทางการพมาไดออกระเบียบทุนการศึกษาตางประเทศใหม โดยผูสมัครทุนตองรับราชการกอนอยางนอย 3 ป นัน่หมายความวา กวาจะสมคัรทนุได คนสวนใหญจะอายเุกนิเกณฑทีส่ถาบนัการศกึษากำหนดไปแลว นอกจากนี ้ นกัเรยีนทนุจะตองกลบับานทันทีเมื่อเรียนจบ มิฉะนั้นครอบครัวจะตองจายเงินชดเชย 5 ลานจั๊ต(ราว 135,135 บาท) บวกกับการใชทุนคืน โดยในระหวางนั้น สมาชิกในครอบครัวนักศึกษาจะไมไดรับใหออกนอกประเทศเด็ดขาด เพื่อปองกันไมใหยายกันไปทั้งครอบครัว

เมื่อขาดการสนับสนุนจากรัฐบาล ก็เปนไปไมไดเอาเลยที่คนธรรมดาจะไดมีโอกาสทางการศึกษา ประชากรพมาถึง 75%เปนคนในภาวะยากไร

แมนเปนหนทางที่นอยนิด

ภาพโดย ทอฝน

Page 7: Freedom Education Issue

7

Despite the Dim Light

If we all think that education is a bridge towards goal, success anddignity, then every societies have to provide full supports to education. Basiceducation is among the top mandate of all states. At least, literacy is thebasic step to a qualitative population development for the world's future.

In reality, however, we can see that many states, or those in power,have used education as a tool to achieve their own goals, especially to silencepeople and keep them under their control.

Many do not provide much support to their population's education.Instead, the existing resources are thrown into militarization and the armedforces, just to protect and maintain their authority.

A UNESCO report revealed that the Burmese military regime allocatedonly 4% of its fiscal budget for education while 40% is for weaponry and thearmy. In the late 1990s, a World Bank report showed that education in Burmareceived only 1.2% of the fiscal national budget. That means that educationalsupport per student in Burma amounted to only 11 baht per year.

In 2002, the Burmese military regime boasted that the state paid almost1.3 billion baht to enable more than eight million children access to primaryeducation. Nevertheless, they admitted that another three million school-aged children wouldn't yet gain such an opportunity. A UNICEF report showedthat only 34 out of every 100 primary school students would have a chanceto finish primary school, (and among this, only a handful can further completesecondary school and ever less will have the opportunity to enter university)meaning that five out of the eight million primary school students might notbe able to complete primary school. Coupled with the three million childrenwith no opportunity, the country ends up with about eight million childrenwho do not complete their education at the primary school level.

In addition to the discussion of financial support, the regime has closeddown universities and colleges ? as often and as long as they want ? whenthey fear that student political gatherings could be a threat to their ownsecurity. Since the student-led democracy uprising in1988 until 2000,universities were more often closed than open. The closure period rangedfrom one month to up to three years. And when they universities were allowedto open again, orders came that the one-year curriculum must be reviewedand shortened to only four months.

Recently on 7 December 2007, Mizzima News reported that a newscholarship regulation was introduced; applicants must serve the governmentfor at least three years before applying. The new regulation also requires thescholar to return home from aboard immediately after their courses arecompleted, or the family will have to pay a fine of five million kyats (about135,135 baht) and must repay the shcolarship at a later date. Before that,none of the family members are allowed to travel abroad in order to preventthe entire family from migrating to other countries.

Without support from the government, it is impossible for an ordinaryperson in Burma to have good education. Approximately 75% of the populationis living in poverty. At least 60-80% of their meager earnings must be kept forfood. The shortage of primary school teachers has become severe and thosewho are teachers can hardly afford to live. Those teaching in remote schoolsfind travel to the nearest town in order to get their salary may cost them morethan what they earn.

It sounds ridiculous that with an aim to maintain their power, a groupof people can cause this severe of a disaster. At present, the Burmese literacyrate is relatively low; it used to be the highest in Asia with a very advancedsystem during the 1940s-1950s.

I look back to Thailand 30-40 years ago; even our military governmentswere unable to cause such a great harm to education. At least, the government'ssupport for compulsory education may in some ways promote literacy.However, when looking at educational control, the situation in Thailand wasn'tmuch different from that of Burma, in particular when several categories ofbooks were banned over 30 years ago. Yet, some of these books finally foundtheir way to reach progressive people. Then, after the fruit of their thoughtsripened, these people led society to a change that is the foundation of modernThai democracy (although it wasn't one many would expect).

Thus, I told myself that no matter how hard they would try, the Burmesemilitary regime won't be able to prevent every citizen from learning. It is humannature to want to find ways to learn - to make a better life. The 1988 studentuprising and last year's saffron revolution are two of the examples that havedeclared the people's ability to find their learning channels that would leadthem to better future.

So, are we ready to support them in any way for any channels?

(I'd like to recommend an article titled "Education in Burma: Floating Booksand Bathroom Tract" in Living Silence: Burma under Military Rule written byChristina Fink (Publisher: White Lotus, Bangkok, 2001). This article gives methe inspiration for writing this story.)

(ผมขอแนะนำผทูีส่นใจกระบวนการเรยีนรใูนพมาใหอานบทความ "การศกึษาในพมา: หนังสือสงตอกันและบทเรียนในหองน้ำ" แปลและเรียบเรียงโดย อัจฉรียา สายศิลปจาก "Education: Floating Books and Bathroom Tracts" ใน Living Silence:Burma under Military Rule โดย Christina Fink (Publisher: White Lotus, Bangkok,2001) ในเวบ็ไซทมหาวทิยาลยัเทีย่งคนื www.midnightuniv.org ซึง่เปนขอมลูชีน้ำการเขยีนครัง้นี)้

คาแรงขั้นต่ำตกวันไมกี่บาท เงินที่หาไดราว 60-80% หรือเกือบหมดตองจายเปนคาอาหารแตละวนั ครปูระถมขาดแคลนมากขึน้ทกุท ีทีม่อียกูเ็ลีย้งตวัเองแทบไมได ยิ่งโรงเรียนหางไกลดวยแลว การเดินทางไปรับเงินเดือนในเมืองอาจเสียคาใชจายแพงกวาเงินเดือนที่ไดรับดวยซ้ำ

เปนเรือ่งเหลอืเชือ่เกนิไปไหมวา เพยีงเพือ่อำนาจของกลมุตน จะทำใหคนกลมุหนึง่กอความหายนะไดเพยีงนี ้ ปจจบุนั ระดบัการศกึษาของประชาชนพมานบัวาต่ำมากเมือ่เปรยีบเทยีบกบัเพือ่นบาน ทัง้ ๆทีก่อนหนาราวทศวรรษที่ 40 -50 พมามีอัตราการรูหนังสือสูงที่สุดในเอเชีย และมีระบบการศึกษาล้ำหนาเปนอยางยิ่ง

ผมยอนคดิถงึสงัคมไทยในชวง 30 -40 ปทีผ่านมา ภายใตการปกครองระบอบเผด็จการทหาร ก็ยังไมมีการปดกั้นขัดขวางการศึกษาเขมขนรุนแรงขนาดนี ้อยางนอย การสนบัสนนุการศกึษาภาคบงัคบักย็งัทำใหมคีนรหูนงัสอืมากขึน้ไดระดบัหนึง่ แตเมือ่มองถงึการครอบงำทางความคดิ เราอาจไมแพกนัโดยเฉพาะในชวงกอนป 2516 ที่หนังสือมากมายหลายประเภทตกเปนของตองหามมิใหผูใดไดเรียนรู

แต เมื่อนึกขึ้นมาไดวา จนแลวจนรอด หนังสือเหลานั้นก็สามารถเล็ดรอดมาถึงมือประชาชนที่รักความกาวหนาไดอยูดี แลวพอบมเพาะกันจนสุกงอม คนเหลานี้ก็กาวไปสูความเปลี่ยนแปลง ซึ่งถือวาเปนพื้นฐานของประชาธิปไตยไทยทุกวันนี้ (แมมันจะไมไดเปนแบบที่หลายคนเห็นวา "ใช"กต็าม)

ผมจงึปลอบใจตวัเองไดวา ไมวาอยางไร รฐับาลพมากค็งมอิาจปดกัน้การเรียนรูของประชาชนไดทั้งหมด เพราะธรรมชาติของมนุษยยอมหาทางออกที่จะเรียนรูเพื่อชีวิตที่ดีกวา ดังจะเห็นไดถึงการลุกขึ้นยืนภายใตการนำของนกัศกึษาในป 2531 หรอืการนำของพระสงฆเมือ่ปลายปทีผ่านมาแมผลจะคอืการปราบปรามอยางเหีย้มโหด มนักเ็ปนการประกาศวา ประชาชนสามารถคนพบชองทางการเรียนรูเพื่ออนาคตที่ดีกวาไดเสมอ

แลวเราพรอมทีส่นบัสนนุพวกเขาในชองทางใด หรอืไม

7

Page 8: Freedom Education Issue

8

บินขามลวดหนามเพลงจากคณุคร ูบนเสนขอบทีพ่ราเลอืน

นีเ่ปนบนัทกึของเอม็ด ีหรอืเครือ่งบนัทกึเสยีงขนาดพกพาเกา ๆ มอม ๆเครือ่งหนึง่ซึง่ผมเกบ็ได และนำมาเลาใหคณุฟงตอ ไมนาเชือ่วาเอม็ดเีครือ่งนี้มนัไดเดนิทางไปไกลเกนิกวาใครหลายคนจะใฝฝนถงึ มนัเคยเปนอปุกรณทีอ่ยูขางกายนกัดนตรคีนัทรีพ่ืน้เมอืง กอนจะระเหจ็ขึน้ไปเกบ็เพลงบนดอยอยรูะยะเวลาหนึง่ จนกระทัง่มาอยกูบัเจาของคนปจจบุนั ผเูคยเหนบ็มนักบัไมโครโฟนคหูไูปบนัทกึเสยีงเพลงของผลูีภ้ยัสงครามกนัถงึกนถ้ำในคายผอูพยพเลยทเีดยีว

มองคนเดินบนถนนสายนั้นขางหนาของฉันลวดหนามคอยกั้นเราไมอาจกาวเทาขามออกไปไดเพราะอะไร.... เพยีงฉนัเปนผลูีภ้ยั*

กอนหนานี้ฉันนอนพักผอนอยูนานทีเดียว จนถึงวันหนึ่งที่ฉันไดยินเสียงหนึ่งคุยกับเจาของฉันวา เขาจะขอยืมฉันไปบันทึกเสียงจากชายขอบอกีครัง้ ฉนัรำพงึกบัตวัเองถงึชะตากรรมอนัแตกตางกนัไปของเอม็ดแีตละเครือ่งบางเครื่องคงไดอยูสุขสบายในอุงมือของคนในเมือง แตเอ็มดีแบบฉันมีชีพจรซึง่ตางไป ชพีจรอนัตองตะลอนตะลยุดง เพือ่ไปรบัเสยีงทีไ่มสามารถเลด็ลอดผานรั้วลวดหนามออกมาได

บางครั้งมองดูทองฟาที่กวางใหญใจฉนัลองลอยไป ไปแสนไกลโลกใบนี้ถากาวออกไปไดคงจะมีเรื่องราวมาเลาสูกันตั้งมากมาย*

สี่ชั่วโมงบนรถปรับอากาศ บวกสองชั่วโมงกับความคดเคี้ยวลาดชันของโคงถนนบนขอบเขา และแลวฉันก็มาถึงอำเภอแมสอด ยังหรอก นี่ยังไมใชทีห่มายของเรา แมวาในแมสอดจะมหีองบนัทกึเสยีง แตคนทำเพลงของเราก็ไมสามารถจะเดินทางมาที่นี่กันได ฉันนอนฟงเสียงพูดคุยของผูคนรอบขางบอกเลาเรื่องราวของหองขังสำหรับคนอพยพอันอยูไมไกลกันกับบรเิวณทารถนัน้ แลวกถ็กูพาปนขึน้สองแถวเกา ๆ ใหนิง่นอนฟงภาษาพมาและกะเหรีย่ง ซึง่แทรกมากบัเสยีงเครือ่งยนต เสยีงของหมบูานและทงุขาวโพดอนัเวิ้งวาง คงมีแรงงานอพยพจากฝงพมาเรนกายอยูหลายพันคนสินะ ฉันไดยินเสียงลมหายใจของพวกเขาดวย

ซอยนืรออยทูีจ่ดุหมายแรก เขาเปนผแูตงเพลง "บนิขามลวดหนาม" ที่เรากำลังจะไปบันทึกเสียงกัน ไดยินวาเขามารออยูนานแลวดวยความตื่นเตนตวัซอนัน้เปนคนปกาเกอะญอจากเชยีงใหมซึง่ไมมปีญหาใดใดกบัการเดนิทางแตเพื่อนรวมวงอีกสามคนนี่สิ พวกเขามิอาจกาวขามเสนแบงเขตแดนที่มอง

Page 9: Freedom Education Issue

9

ไมเหน็ไปเลาเรือ่งราวของตวัเองใหใครฟงได แมนดเูหมอืนใกลเพยีงเอือ้ม แตมอืกก็ลบัมอิาจเอือ้มไปได ดวยเหตนุี ้ฉนัจงึถกูกระเตงไปกบัมอเตอรไซคอยางไมรูเหนือใตอีกราวครึ่งชั่วโมง

ฉันไดยินซอคุยวา เมื่อซอไดขาวโครงการบทเพลงไรพรมแดน (ดูรายละเอยีดไดในเพือ่นไรพรมแดนฉบบักอนหนานี)้ เขากค็ดิวาจะตองพยายามสงเสียงพูดแทนเพื่อน ๆและพี่นองในคายผูลี้ภัยใหจงได พอแตงเพลงเสร็จซอก็รีบเอาเพลงไปใหเพื่อนอีกสองคนที่เปนคนพลัดถิ่นในหมูบานชายแดนแถวนัน้ไดฟง ครแูอโชเหน ครสูอนศาสนาผใูชดนตรสีรรเสรญิความดงีามเพือ่พระเปนเจา ชอบใจในเนื้อหาที่เหมือนจะบอกเลาเรื่องราวของเขาโดยเฉพาะตกลงมาเลนตำแหนงคียบอรด อีกคนคือ ครูสะรายเหยอผูเลนกีตารไฟฟาเขาคนนี้หลบหนีจากการเปนครูโรงเรียนในเขตความขัดแยงของประเทศพมามาเปนแรงงานรับจางในไรในนาและใชเวลาวางสอนดนตรีใหกับเด็ก ๆในหมบูาน ครทูัง้สองชวยกนัเรยีบเรยีงและเลนดนตรใีหซอรองคำของตวัเอง

ตอมา เมื่อเพลงนี้ไดรับคัดเลือกทั้ง ๆที่ซอใชเพียงแฮนดี้ไดรฟเล็ก ๆอดัเสยีง คณะของซอจงึจำเปนตองบนัทกึเสยีงใหไดคณุภาพดกีวาเดมิเพือ่จะไดนำไปรวมกับเพลงอื่น ๆในอัลบั้มไดอยางสมศักดิ์ศรี อันที่จริงซอวางแผนจะพาเพื่อนไปบันทึกเสียงดี ๆสักแหง แตความเปนจริงก็คือ นักดนตรีทั้งสองไมสามารถเดนิทางได ฉนัจงึตองระเหจ็มาอยทูีน่ี ่แตกด็วยความเตม็ใจ

รถหยดุลง ฉนัไดยนิน้ำไหลอยเูบา ๆ สถานทีน่ีเ้ปนโบสถไมรมิหวยใสครแูอโชเหนพาเราเขาไปในโถงโบสถ เราจะทำการบนัทกึเสยีงกนัตอหนาแทนบชูาในวหิารแหงพระเจานี ้ ฉนัอดรำพงึเบา ๆ ไมไดวา หรอืเปนดำรขิองพระเจาจะใหมวีหิารขึน้ เพือ่การณนีห้นอ

ครแูอโชเหนเริม่หดัเลนคยีบอรดมาไดเพยีงปเดยีวเทานัน้ แตดเูขาคลองแคลวทีเดียว เมื่อแปดปกอนเขาขามแมน้ำเมยมาเพื่อเขารวมพิธีทางศาสนาในหมบูานฝงไทย และกต็ดัสนิใจไมหวนคนืบานทีไ่รเสรภีาพอกี เขาอยรูบัใชพระเจาทีน่ี ่พยายามเกบ็รวบรวมเงนิถวายมาซือ้เครือ่งดนตรปีละชิน้ เพือ่ใหเดก็และเยาวชนไดเรียนรูและสรางสรรคดนตรี จนตอนนี้ฉันเห็นมีทั้งกลองชุดกีตาร และคียบอรด ขาดอยูเพียงแตเพียงเบส ไดยินเด็กนอยที่มาเปดโบสถใหเราหวดกลองอยูปงปงแลวฉันก็หายเหนื่อยทันที

เกือบสี่ชั่วโมงที่เราทำงานกันในบรรยากาศจริงจัง สลับดวยเสียงหัวเราะ นักดนตรีดูตื่นเตนกับเครื่องไมเครื่องมือและตัวฉันเอามาก ๆจนฉันขวยอาย ครสูะรายเหยอพมึพมัวาถาไดกตีารด ีๆกค็งจะดกีวานี ้ แตสำหรบัฉันผูเปนคนบันทึกเสียงนั้น ฉันอยากจะบอกครูวา ความตั้งใจบวกกับความจริงใจของครูใหผลดีกวาเครื่องดนตรีราคาแพงมากมายนัก ครูสะรายเหยอออกตวัวาเขาไมคอยมเีวลาเลนดนตรเีทาไหร เพราะตองเอาเวลาไปทำไรทำนาเลีย้งตวัและภรรยากบัลกูสญัชาตไิทย แตความรทูีไ่ดมาจากครกูะเหรีย่งคนหนึง่เมือ่ครัง้ยงัอยใูนพมา กท็ำใหเขามทีกัษะมาสานตอความฝนครัง้นีไ้ด

ฉนัถกูเกบ็ลงกลอง เพือ่เดนิทางไปทำงานตอยงัสถานทีอ่กีแหงหนึง่ เราฝาเปลวแดดกนัอกีกวาสองชัว่โมง ผานคายผลูีภ้ยัขนาดใหญ ลอมรอบดวยรัว้ลวดหนาม ฉนัไดยนิเสยีงผคูนซึง่กำลงัขนไมไผบรจิาคคนละหลายลำเพือ่นำไปซอมบาน ฝุนทรายที่หมุนควางดวยริ้วลม และเสียงกระซิบกระซาบถึงความทุกขยากและความหวังดังแววอึงอลอยูในรั้วแหงนี้

ฉนัเหน็นกตวันอย บนิขามรัว้ออกไปหายไปในลบัตาอยางจะเปนเหมอืนนก ทีบ่นิขามลวดหนามเห็นโลกที่กวางใหญบนิไป ไปแสนไกล อยางเสร*ี

9

Page 10: Freedom Education Issue

10

ครลูอพลาเปนครปูระถมโรงเรยีนหมบูานคนพลดัถิน่ ฝไมลายมอืดนตรีของเขาเปนที่ประทับใจของซอมานานแลว เมื่อเพลง "บินขามลวดหนาม"ไดรบัคดัเลอืก ซอกเ็กดิความคดิขึน้มาวา เพลงนีจ้ะสมบรูณไดกด็วยเสยีงกตีารโฟลคและเสยีงรองภาษาปกาเกอะญอของครลูอพลา ซ่ึงเมือ่ครลูอพลาไดยนิทำนองและเนือ้เพลงทีซ่อแปลใหฟง เขากย็นิดเีขารวมวงทนัท ีดวยความรสูกึที่เปนสวนตัวอยางที่สุด

เปนอกีครัง้ทีเ่ราจะบนัทกึเสยีงบนพืน้ไมในโบสถรมิหวย โบสถนีเ้ลก็กวาและไมมเีกาอีน้ัง่ ระหวางรอการซกัซอมของครลูอพลา ฉนันอนฟงเสยีงน้ำไหลเดก็ ๆกำลงัวิง่เลนเบกิบาน เสยีงผาฟน กอไฟ ทำกบัขาว - เสยีงแหงโพลเพลที่มักเกิดขึ้นในยามที่ตะวันใกลลับขอบฟาดังกอง

ครูลอพลาอาจไมคุนชินกับหูฟงอันใหญและการที่ตองเลนตามเครื่องดนตรชีิน้อืน่ทีไ่ดบนัทกึเสยีงไวแลว แตเขากท็ำไดดแีละเปนธรรมชาตอิยางทีส่ดุเสยีงรองของครลูอพลาในทอนแยกของเพลงกงัวานไกล เหมอืนเสยีงนัน้มปีกและกำลังรอนบินไปยังโลกกวาง ฉันยินดีเปนอยางยิ่ง เมื่อครูลอพลาขอวาเขาอยากจะอดัเพลงทีเ่ขาแตงไวบางไดไหม ถงึวนิาทนีี ้ฉนัภมูใิจนกัหนา ทีจ่ะไดพาดนตรีของศิลปนผูถูกกั้นไวดวยรั้วลวดหนามที่มองไมเห็น ไปใหใครตอใครไดรบัฟงและรบัร ู ครลูอพลาลงมอืกรดีสายกตีารตวัเกา รองขานถงึธรรมชาติอนัสวยงามของแผนดนิเกดิ แมฉนัไมเขาใจความหมาย แตกร็สูกึไดวามนัเปนทวงทำนองทีส่วยงามเหลอืเกนิ ฉนัสมัผสัไดถงึเสยีงหวัใจทีร่่ำรองของเขา

ดาวเริ่มสองแสงแลว พวกเขาผานเสียงผลงานทั้งหมดของวันนี้จากตวัฉนัไปสลูำโพงตวัเลก็ ๆของคอมพวิเตอรโนตบคุ ลำโพงจิว๋พนเสยีงพรา ๆออกมา แตมันสะทอนกองไปในจิตใจทุกคน ชาวบานอีกสองคนขึ้นมานั่งฟงอยเูงยีบ ๆ หนึง่ในนัน้กำลงัทกุขใจกบัการทีม่อเตอรไซคของตวัถกูเจาหนาทีย่ดึเพราะดนัไปจอดไวหนาคายผลูีภ้ยั กระนัน้ ฉนัยงัสมัผสัไดถงึความอิม่เอมในความเงียบของพวกเขา

คืนดึกที่บานของครูลอพลา ฉันนอนฟงพวกเขาลอมวงพูดคุยกันถึงเรื่องราวตาง ๆในเปลวเทียน สถานการณทางฝงพมาไมสูดีนัก มีขาวแวววาทหารพมาอาจบุกดินแดนกะเหรี่ยงหลังวันเฉลิมฉลองวันชาติ แลวพวกเขาก็

พดูถงึคนบางคนทีไ่มไดมาอย ูณ ทีน่ีด้วย ฉนัเองนกึถงึครแูอโชเหนและสะรายเหยอ คงจะดีเหลือเกินถาพวกเขาเดินทางขามเสนแบงอำเภอมาอยูกับเราทีน่ีไ้ด

ครลูอพลาขอใหเปดเพลงทัง้หมดทีจ่ะไดรวมไวในอลับัม้เพลงไรพรมแดนเพลงแลวเพลงเลา หลายตอหลายเพลง ซอพดูเสยีงดงัวาเขาภมูใิจมากทีเ่พลงของเขาจะไดเปนสวนหนึง่ของอลับัม้นี ้ เพราะทกุเพลงลวนมคีวามหมายกนิใจอยางทีห่าฟงทีอ่ืน่ไมได ครลูอพลาบอกวา แมเพลงทัง้หมดจะเปนภาษาไทยที่เขาเขาใจไดนอยมาก เขาก็รูสึกไดถึงมิตรภาพและน้ำใจของเพื่อนคนไทยที่สือ่ถงึเขา เมือ่ถงึเพลงหนึง่ทีข่ึน้ตนดวยภาษาพมาวา "มนิกาลาบา" ซึง่แปลวาสวสัด ีและลงทายวา "เจซตูนิบาเด โยเดยี" - ขอบคณุคนไทย ครลูอพลาพยกัหนาหงกึ ๆ ดนตรมีพีืน้ทีข่องตวัเอง ทีป่ราศจากเสนแบงแหงเชือ้ชาต ิเผาพนัธุภาษา โดยสิน้เชงิ

ฉนัไดยนิครลูอพลาพดูวา เขาหวงัวาวนัหนึง่จะไดรวบรวมผลงานของตัวเองกับเด็ก ๆในโรงเรียนเปนอัลบั้ม เขาอัดใสเครื่องเทปคาสเซ็ทที่ใชอัดสัมภาษณของซอไวหลายเพลง จะชวยไปทำเปนซีดีมาใหไดไหม ฉันรูวานั่นคงเปนวธิทีีไ่ดคณุภาพเสยีงไมคอยดนีกั จงึไดแตนกึหวงัใหคนทีไ่ปขอยมืตวัฉนัมาครัง้นี ้พาฉนักลบัมาอกีครัง้ กลบัมาพาเสยีงของครลูอพลา เสยีงของผลูีภ้ยัเสยีงแหงความหวงัของเดก็ ๆ บนิขามลวดหนามไปใหใครตอใครไดฟง

ชวีติคนคนหนึง่ มคีาตัง้มากมายฉันก็มีคาเหมือนกันใชไหมมีสิทธิที่จะบินมีสิทธิที่จะไปปลอยใหฉันบินไปอยางเสรี*

* เนือ้เพลง "บนิขามลวดหนาม" โดย ซอ

หมายเหต ุขอบคณุคณุสวุชิานนท รตันภมิล ทีอ่นญุาตใหเอม็ดเีครือ่งนี้ออกมาระหกระเหินบินขามลวดหนามอยูแถวชายแดนได

10

Page 11: Freedom Education Issue

11

This is a diary of an MD, an old handy recorder I found and would liketo share with you. You may not believe how far this MD has traveled. It usedto be a partner of a country musician before it moved on to record songs upon the mountain and finally landed in the hands of its current owner whoonce escorted it to record Karenni refugees' songs in the cave of a refugeecamp.

Looking at people walking up the road,A barbwire fence bars between me and those.We can't step out, can we?Why? Just because I'm a refugee.*

I'd been lying quietly for a long rest before the day I heard a voicetalking to my owner that he'd like to borrow me to record the voices from theedge of the margins. I then thought about different faiths of different MDs.Some live comfortably with city people, but I have a rough and winding pathto go. My task is to bring out the voices whose owners can't get through abarbwire fence.

Sometimes, looking at the big blue sky,My heart flies out there.If only I can get out to the outside world,There will be lots of stories for me to share*

After fours hours on an air-conditioned bus plus two hours on windingroads cutting through high mountains, finally I arrived in Mae Sot. No, this isnot yet our destination. Although there are studios in Mae Sot, our musicianscannot travel out here. I lay down listening to people talking about animmigration cell close to the bus station, before being taken up on an oldminibus. The conversation in Burmese and Karen was heard through theloud noise of an engine and the voices of tranquil villages and corn fields.There might be thousands of migrant workers from Burma hiding there. Icould hear them breathing.

Saw was waiting for me at the bus stop. He's the one who wrote thesong, "Fly beyond the Barbwires" that we came here for. Saw is a Karenfrom Chiang Mai and has no problem traveling, but the other three bandmembers have no way to cross the invisible fence to go tell their thoughtsanywhere. In a distance of a hand's reach, they cannot reach their hands out.That's the reason why I had to be taken up on a motorcycle ride for anotherhalf an hour.

I heard that once Saw heard about the 'Songs Without Borders' project,he determined that the chance had come for him to speak out with regard tohis brothers and sisters in refugee camps. He brought his newly-composedsong to his two friends, the displaced Karen from Burma, in a border village.Teacher Eh Sho Neh, the keyboard player and a religious teacher whoconnects his world to God by music, found the song impressive as it seemedto talk about life like his. Another one is Teacher S'rai Yue, an electric guitarplayer who left his life as a teacher in a conflict area in Burma to be a farmlaborer; he now teaches village kids music in free time instead. Both teachersthen played and arranged the music for Saw to sing.

Now, the song has been chosen by the selection committee despiteits poor recording quality from a tiny handy-drive. The team knew they had tore-record it to make the work good enough to match with others in the album.In fact, Saw would love to take his friends to a good studio somewhere butit's not possible for both musicians to travel. But now they don't have to worry;here I am with them, and with great delight!

The motorcycles stopped. I heard the sound of water. This place is alittle wooden church on the bank of a stream. Teacher Eh Sho Neh broughtus inside to work in front of the altar. With only a year's experience on thekeyboard, he looked pretty cool! I heard that eight years ago, Teacher crossedthe Moei River for a religious ceremony in Thai-Karen village and decidednot to return to where there was no freedom. Determined to serve God in thissmall village church, he tried to save donations to buy one instrument eachyear so that children would have opportunities to learn and appreciate music.

After almost four hours our work was done. The musicians seemed tobe so excited with me that I felt a bit embarrassed. Teacher S'rai Yue mumbledthat he wished he had a better guitar for a better sound. However, as arecorder myself, I'd like to tell him that his strong determination and sinceritygave greater result than any expensive instruments. Teacher S'rai Yueapologized that he didn't have as much time to practice because his timewas mostly spent earning a living for his family. Yet, to me, his skill he learnedfrom a teacher inside Burma was more than enough to fulfill this dream.

Finally, I was put back in a box to get ready for another journey. Underthe hot sun we were on motorbikes for another two hours, passing a giantrefugee camp that was fenced by barbwire fences. I heard the sound ofrefugees carrying donated bamboos to repair their shelters, the sound ofsand dancing in the wind, and the whisperings of suffering and hope frombehind the fence.

I saw a little bird flying over the fence and disappearingfrom my eyes.I wish I were the bird that flies beyond the barbwires,To go see the world out there,To go far, to be free, to free sky*

Law Plah is a primary teacher in a displaced village school. His musictalent has impressed Saw for a long time. Once the 'Fly beyond the Barbwires'won the selection, Saw knew that the song would complete only with TeacherLaw Plah's acoustic guitar and Karen verses. Law Plah jumped for the offerafter hearing the Karen brief translation of the song; the lyrics spoke to hisheart.

Again, we worked in a wooden church next to a small stream. Thischurch was smaller and had no chairs. While waiting for all settings, I driftedaway with the sound of the running stream, of the firewood chopping anddinner cooking. They were the sound of the sunset time.

Although Teacher Law Plah was not familiar with a big headset orwith playing along already recorded lines; he was so great and natural. Hisvoice echoed powerfully as if it had wings to fly - and it was flying to the outworld. I was delighted to hear that he would also like to record his own songs,too. I was so proud to be the one who would bring the music of an artist whowas kept behind the invisible fence to the world. Strumming his fingers onthe old guitar strings, Teacher Law Plah sang out the beauty of his homeland.I could feel his love, I could hear his heart cry.

Under the starlight, they played all the recorded work today through asmall loudspeaker of a notebook computer. The tiny loudspeaker threw outmumbling noise yet the music was clear enough to touch everyone's hearts.Two villagers came up to the house and sat listening quietly. One of the twowas in a bad shape, worrying about his motorcycle that was confiscated infront of the refugee camp. Yet, I could feel his appreciation. The song criedout to his soul.

Late at night, at Teacher Law Plah's hut, I lay down listening to theirconversation. The situation on the Burma side wasn't good. There werewhispers that the Burmese troops might attack after the Karen National Day'scelebration. They also talked about others they wished could be there withthem, including Teacher Eh Sho Neh and S'rai Yue. Teacher Law Plah thenasked to hear all the songs that would be included in the 'Without Borders'album. Listening to each one, Saw said he was so proud that his song wouldbe part of this piece as all the songs were so exceptional and meaningful.Teacher Law Plah said that although he couldn't understand theThai lyricsmuch, he could feel the sense of friendship and care that the Thai friendstried to convey. There was also one song that started with "Mingalaba", whichwas a greeting in Burmese, and ended with "Je-su-tin-ba-de Yodia" - thankyou very much, Thai people. There, Teacher Law Plahed nodded his headslowly. Music has declared its space beyond all boundaries of ethnic races,nationalities and languages.

I heard Teacher Law Plah say that he wished to make an album of hisown with his students. He recorded some by Saw's cassette recorder andasked if we could make it into CD. I knew that wouldn't bring great qualityand secretly hoped that the person who borrowed me this time would bringme back here again. I hoped I would get the honor of bringing their voices ofhopes to fly beyond the barbwire fence to the world.

The life of human is valuable.Isn't a life of mine valuable too?I have the right to fly.I have the right to do.As a freeman, let me fly high.

Note: Thanks Suwichanon Rattanpimol, who allowed this old MD to fly.

* Lyrics "Flying beyond the Barbwire Fence"

Flying beyond the BarbwiresA song from the teacher … on the blurringof boundaries

11

Page 12: Freedom Education Issue

12

สืบสานภูมิปญญาลานนา

"คนในสังคมรุนนี้ ถึงแมจะเปนคนรุนใหม ก็ยังถือวาเปนผลิตผลของคนรนุเกาอย ูคอืบางบานยงัมพีออยุแมอยุ ดงันัน้ ถามเีอกสารลานนาแลวอานไมออก ก็ไมควรขาย เอามาฝากที่โฮงเฮียนสืบสานฯนี่ก็ได เพราะเรามีศูนยศึกษาเอกสารโบราณ เราจะอาน ถาเปนคนรุนใหมอื่น ๆที่ไมมีทรัพยสมบัติเกาแกหลงเหลอืกบับานแลว ถาอยากรอูะไรทีม่นัลกึซึง้ มนัดัง้เดมิของบานเมอืงเรา กต็องมาเรยีนอานตวัเมอืง ตวัหนงัสอืลานนา..."

บายนัน้, ผมนัง่อยภูายในโฮงเฮยีนสบืสานภมูปิญญาลานนา ในพืน้ที่สงบเงียบ แวดลอมดวยไมใหญของตนฉำฉาที่เหยียดรางแผกิ่งกานสาขาปกคลมุครึม้เยน็ ...และเมือ่มองไปรอบ ๆ จะเหน็สถาปตยกรรมแบบลานนาที่ใชตกแตงสถานทีข่ึน้มาอยางงาย ๆ ชวนใหโหยหาคณุคาความดงีามของอดตีที่นับวันยิ่งดูเลือนลางจางหายไปทุกที

ใช, ผมนดัพดูคยุกบั "มาลา คำจนัทร" นกัคดินกัเขยีน ทีค่นทัว่ไปรจูกักันดีในนามนักเขียนรางวัลซีไรต กับนวนิยายเรื่อง "เจาจันทผมหอม" อันเลือ่งชือ่ ปจจบุนัเขาเปนครใูหญแหงโฮงเฮยีนสบืสานภมูปิญญาลานนา และเปนพอครขูองใครอกีหลาย ๆคนทีม่าขอเปนศษิยอยางตอเนือ่งไมขาดสาย...

มาลา คำจนัทร ชือ่จรงิวา "เจรญิ มาลาโรจน" เปนลกูพอจนัทร แมนอยคนเมืองพาน จ.เชียงราย แตปจจุบันมาลงหลักปกฐานอยู อ.สันปาตองจ.เชยีงใหม เขามคีวามสนใจในภาษาลานนา อกัขระลานนา หรอืทีเ่รยีกกนัวา"ตัว๋เมอืง" ทีม่อียใูน "ปบ" หรอืเอกสารโบราณทีท่ำดวยใบสา ใบลาน มาตัง้แตยังเล็ก

"อาจเปนเพราะตอนเปนเด็ก ชอบคลุกคลีอยูกับยาย ชอบไปวัด เปนเด็กวัด กระทั่งบวชเรียนเปนสามเณร ตุหลวงคอยสอนใหเรียนรูตั๋วเมือง และตอมายังหาเวลาวางเรียนตั๋วเมืองดวยตนเอง..."

การเรยีนรตูัว๋เมอืงในปบโบราณทำใหเขารจูกัคาว โคลงลานนา ไดรจูกัตำนานบานเมือง ความเชื่อ รวมทั้งกฎระเบียบสังคมเกาแก แตขณะนี้ก็เปนที่รับรูวา ตัวหนังสือลานนาที่อยูในปบ เอกสารโบราณ กลายเปนสิ่งหายากและนับวันใกลจะสูญหาย

"จรงิ ๆแลวตัว๋เมอืงมนัเริม่หายไปชวงไหน" ผมเอยถาม"ชวงที่มันมีพระราชบัญญัติประถมศึกษาออกมาเมื่อ 50 ปกอน

ตอนเริม่แผนพฒันาเศรษฐกจิและสงัคมแหงชาต ิ คอืกอนหนานัน้ การจดัการศึกษาภาคบังคับของรัฐไทยสวนกลางมันยังไมทั่วถึง การเรียนตั๋วเมืองในวัดในวามันก็ยังมีอยู พอเริ่มหลักสูตรการประถมศึกษาแรก 2504 มันทำลายสิ่งเหลานี้หมด เพราะบังคับเด็กเรียนในโรงเรียน เรียนจากวัดก็ไมรับรองจนเวลาผานไป 50 ป มันก็นาใจหายวา คนที่รูคามันคือคนที่อายุ 50 ขึ้นไปคือคนที่ชราแลว ออนลาอิดโรยกันหมดแลว พอตายลูกหลานไมรูคา ก็เอาปบสาใบลานไปใสในโลงเผาไปกับศพก็มี ไหลไปกับน้ำก็มี ชั่งกิโลขายก็มีแตกเ็ริม่มกีารฟนฟกูนัขึน้มาสกัประมาณ 20 ปทีผ่านมานีเ่อง กระเตือ้งขึน้ แตก็ไมเทากับจุดที่มันหายไป"

Page 13: Freedom Education Issue

13

"หมายความวา โครงสรางรัฐสวนกลางเปนตัวทำลายวัฒนธรรมภาษาของคนลานนาแบบนัน้หรอืเปลา..." ผมแหยความเหน็ ...

"ไมอยากโทษเขานะ ถาเราเปนเขา เราก็ทำอยางนั้น คือเราไมสามารถรกัษาความเปนวฒันธรรมของเราไวไดเอง กเ็ลยเปนแบบนี ้คนที่รทูีเ่ขาใจจะมองดวยความเขาใจ หาทางทีจ่ะฟนฟ ู แตคนทีไ่มเขาใจ ใจกจ็ะมองดวยความเคยีดแคนขมขืน่ แตผมกม็องสองดาน มทีัง้ดทีัง้เลว"

"ทุกวันนี้ มีความหวังอยางไรบางกับการถายทอดความรูใหกับลูกศิษย"

"กห็วงัไววาถาเราลาหรอืหมดแรง จะมคีนขึน้มาแทนเรา เหมอืนที่เราไดแทนครเูราทีท่านออนลาเฒาชราไป ถาลกูศษิยเรากจ็ะมานัง่แทนเราตรงนีไ้ด สิง่ทีเ่ปนวชิาความรขูองบานเมอืงกจ็ะไมสญูไปไหน มนัจะสบืสานกนัไปไดอย ูอนันีเ้ปนความหวงั"

"กระบวนการเรียนรูระหวางครูกับลูกศิษยสมัยกอนกับเดี๋ยวนี้มนัเปลีย่นไปมาก วนัเวลามนัเรงมนัรดัขึน้มา เราจะไปใชกระบวนการตามธรรมชาตกิไ็มได แตกอนใครอยากเรยีนวชิา กต็องไปบานคร ู เอาบาไปใชเอาแรงไปชวยทาน ครกูจ็ะพจิารณาวาคนนีเ้หมาะจะสอนอะไรให แตกอนนี้มันมองกันนานกอนจะยอมถายทอดไดแตเดี๋ยวนี้ เวลามันเรง มันเลยเปนคอรส เปนเทอม ความผกูพนัระหวางครกูบัศษิยมนัไมแนน ไมผกูพนักันเหมือนเมื่อกอน"

อยางไรกด็ ีมาลา คำจนัทร บอกวา วฒันธรรมนัน้เหมอืนสายน้ำ...ที่ลองไหลและมีชีวิต

"มันไมใชของกระดางอยูกับที่ แตมันไหลมาโดยตลอด ตั้งแตรากมาจนถึงปจจุบันไปขางหนา มันไหลเปนแนว...เอางาย ๆ อยางแมน้ำปงตัง้แตเชยีงใหมไหลเรือ่ยไปจนสดุปากน้ำโพ จ.นครสวรรค เรากเ็รยีกแมน้ำปงอย ูแตถารวมกบัแมน้ำสาขาอืน่ ๆ เรากเ็รยีกมนัวาเจาพระยา ซึง่กระแสมนัรนุแรงกวา แลวกก็ลนืหายเปนอยางอืน่ไป กเ็หมอืนกบัวฒันธรรมเมอืงเหนอืเรา กย็งัคงอย ูเพยีงแตมนัเปลีย่นแปลงเปนรปูแบบอืน่ และอาจจะมีสิ่งปนเปอนบางเทานั้นเอง"

"แตถาจะดแูมน้ำปง กต็องไปดตูนน้ำ อยาไปมองเพยีงแคใตเมอืงเชียงใหม แลวสรุปวาน้ำปงเนา และถาน้ำปงเนา คนเชียงใหมจะชวยกันอยางไร น้ำเนาจงึจะเจอืจางลง สดใสดงีามเหมอืนเมือ่กอน"

ครบั นีเ่ปนความรสูกึของ 'มาลา คำจนัทร' ครใูหญแหงโฮงเฮยีนสบืสานภูมิปญญาลานนา ที่บอกเลาใหฟงดวยความเปนครู พรอมกับตั้งคำถามทิ้งทายเอาไวใหคนเมืองเหนือยุคสมัยนี้ไดฉุกคิด.

Passing on the Wisdom

"The new generations today are the offspring of the previousgenerations. If you have Lanna scripts at home and you can't read, Pleasedon't sell them as garbage. You can leave them here for this Lanna TraditionalWisdom School. We have an ancient script study center and we will readthem. For the other new generations who have no historic stuffs left at home,if you want to know more about our Lanna roots, you are welcome here tostudy the scripts…"

That afternoon, I sat in the Lanna Traditional Wisdom School, ChiangMai. It was a peaceful place surrounded by big, old trees that spread theirbranches out providing good shade. Traditionally decorated Lannaarchitecture brought me back to the glorious old day that seem to be forgotten.

Oh, yes. I had an appointment with "Mala Kamchan", an activist and aS.E.A. Write award-winning writer who also is the principal of the LannaTraditional Wisdom School. As the son of Father Chan and Mother Noi fromPan District, Chiang Rai Province, he has been familiar with Lanna scripts,which could be found in ancient palm leaf books, since he was little.

"When I was young, I loved to hang around my grandmother. I lovedspening time in monasteries and serving the monks. Then I became a noviceand learnt Lanna script from the Abbot. After that time until now I've alwaysfound time to learn and read it on my own."

Learning Lanna script led him to discover the values of traditional Lannapoems, history, and customs. Sadly, at present, the Lanna palm leaf booksand Lanna script have become rare and almost extinct.

"When did they start to disappear?" I asked."About 50 years ago the first Primary Education Act was enacted during

the first National Economic and Social plan. Before that, the state'scompulsory education hadn't reached here [Chiang Rai] and the monastery'seducation also taught Lanna script. The first primary education curriculum in1961 undermined this system with the mandate that all children must receiveeducation from government schools only. Monastery education wasn'tcredible. Now 50 years later, it's sad to see that the only people who knowthe value of these [traditional] things are the elderly and exhausted. Whenthey pass away, their children who haven't realized the value of these ancientbooks put them away in their parents' coffins, throw them away in the river orsell them to waste collectors. The effort to bring Lanna script back to lifestarted in nearly 20 years ago. It helps a bit though things can't be asprosperous as before."

"So, you mean the state's structure has undermined Lanna culture?" Ineeded his opinion.

"Well, I don't want to blame them for this. If we were the government,we probably would have done the same. The fact is that we ourselves couldn'tpreserve our identity and that's why here we are. People with true knowledgewill look at this with understanding and will attempt to do better. But thosewithout understanding will see things with resentment. I myself look at theissue in both dark and light side"

"What do you expect for teaching traditional wisdom?""I only hope that when I am too old and too tired to continue with this

work, there will be someone to stand in my place; just like I did when myteachers became too old and too exhausted. This is so that our wisdom andknowledge will not be lost. It will pass on and live. That's my hope."

"Anyway, the learning process and relationship between teachers andstudents has changed. Life today is so rushed that we are not able let theprocess go naturally. In the past, if you wanted to learn, you had to go to theteachers' houses, staying there to provide your labour and help him or herdo whatever work they needed. Then the teachers would consider whatsuits the person best. It took a long time for a teacher to decide what to teachto one particular person. But in this modern, rushed age education must beorganized in courses. Relationships and bonding between teachers andstudents are not as tight as before."

Yet, Mala Khamchan had no fear of such change. He said that culturewas like a river; alive and endlessly flowing.

"Culture is not rigid and fixed. It has been flowing from the root topresent and will be from present to the future. Look at the Ping River. FromChiang Mai to Nakhon Sawan province it flows and we call it Ping River.When it merges with other rivers, we call it Chao Phraya River; a river ofstrong current that it eats all things up. This is similar to our Lanna culture. Itremains, but transforms and might also be a bit contaminated.

"If you want to experience the Ping, you must go to its origin where itstarts. Don't only look at the Ping after it has flowed through the whole city ofChiang Mai and assume the whole river is polluted. Another question - whenit is polluted, how will Chiang Mai people cooperate to make it nice and pureagain?"

This speaks the mind of Mala Kamchan, the headmaster of theLanna Traditional Wisdom School. A teacher himself, he told us stories, butended our lesson with a twist, questions inspired and remaining in our minds.

Page 14: Freedom Education Issue

14

เด็กนอยจากดอยดงเด็กนอยเด็กนอยเจามาจากไหนหนทางใดหนทางใดคือจุดหมายของเจาสายตาหมองหมนสายตาหมองหมนไปยังทิวสนลูลมทนหิวแสบไสอาหารอยูไหนเสื้อผาอุนไหมพอแมวาอยางไรอีกไกลยังอีกไกลเด็กนอยเจามาจากไหนเด็กนอย.

โมน โมไนย ครโูรงเรยีนสนัตคิรีวีทิยาคมดอยแมสลอง

Little children on the greenmountainsMone Mo-naiA teacher from Doi Mae Salong

Little children,Where were you from?Where,Where will you go?Sad eyes,Sad eyes destined to be like the blowing pines.Pain inside,Food, will you find?Warm, will you be?Any words from mommy and daddy?Far ahead,So much further aheadWhere were you from, little children?Little children

คายผลูีภ้ยัแมหละ ภาพโดย ซอMae La Camp Photo by Saw

Page 15: Freedom Education Issue

15

คายผลูีภ้ยัแมหละ ภาพโดย ซอMae La Camp Photo by Saw

แมสอด ภาพโดย ศิริลักษณ ศรีประสิทธิ์Mae Sot, Photo by Siriluk Sriprasit

แมสอด ภาพโดย ศิริลักษณ ศรีประสิทธิ์Mae Sot, Photo by Siriluk Sriprasit

Page 16: Freedom Education Issue

16

หองเรียนไมมีชื่อ

1.แมสายวันนี้คึกคักไปดวยผูคนและยวดยานพาหนะ ในสายตาแรกพบ ทีน่ีเ่จรญิมาก ทองฟาดเูตม็ตา ใหความสดชืน่แกหวัใจ

ผมกาวเทาผานรานรวงที่เรียงติดกันเปนพืดยาวตลอดแนวถนน ผูคนขวกัไขว เคลือ่นไหวในความหลากหลาย

สัมผัสได ถึงการอยูรวมกันของความตาง โดยไมเจาะจงวานั่นคือพฤตกิรรมถาวร หรอืเพยีงชัว่คราว สำเนยีงภาษา อาภรณหมกาย ตางฉายชดัในวัฒนธรรมเฉพาะ

ชวงระยะเวลาไมนานเกินนาที ราวกับไดเปดพลิกอานหนังสือเลมโตเลมหนึ่ง

ใช-แคเปดผาน เหน็ภาพ คำบรรยาย รวมถงึหวัขอ บทนำ แตยงัไมไดไลเรียงอานทีละวรรคตอนอยางเครงครัดชัดเจน

2.แมน้ำสายนั้นกาวย่ำบนสะพาน เริม่รสูกึไดถงึแววตาทีแ่ตกตางไป ไมวาแววตาคนูัน้

จะเปนของคนในเครือ่งแบบ พอคา หรอืกระทัง่ขอทานผมกาวขามผานสูดินแดนของอีกประเทศ พบและสบตาผูคนของ

เพื่อนบาน ความจริงแลว แมในเมืองอยางกรุงเทพฯก็ใชวาจะไมมีภาพเชนนี้ไมวาจะเปนเด็กดมกาว ขอทาน จะตางกันอยูก็ตรงที่พฤติกรรมแสดงออกอันเปดเผยถงึตวั จนดเูปนความปกต ิกระทัง่อสิระของทีน่ี ่??

ในฐานะคนผานทาง ผมมิอาจประเมินไดมากกวาตาเห็นและใจรูสึกนีค่อืหนงัสอืเลมโตทีบ่รรจเุรือ่งราวละเอยีดออน อานครัง้เดยีวคงไมได อานแลวอาจตกหลนบางเนื้อความสำคัญ นักเรียน (รู) ที่ชอบยึดหนังสือเปนครูอยางผมมีโอกาสตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนไดเสมอ

3. ทาขี้เหล็กบรรจุรานขายของมากมายในกลองหองแถวเรียงยาวทะลุถึงกันดวยซอกซอยยิบยอย-ยอยเกินกวาจะสำรวจใหครบครัน

คนหลายชาติพันธุกับการคาขาย แตภาษาไทยนาจะเรียกไดวากลายเปนภาษากลางของทีน่ี ่ เพราะคนซือ้กค็อืคนไทย คนขายกใ็ชภาษาไทยไดคลองปาก เสนหของตลาดทีน่ีค่อืการตอรอง และการเดนิขายแบบประชดิตวัซึง่จะเรยีกวาตามตือ๊กไ็ด - แนะนำผลติภณัฑของตนผานการเสนอราคาแบบลดสุด ๆชนิดหาความถูกที่ไหนมาเทียบไดยาก โดยผูรอการตัดสินใจก็ยังสามารถเคี้ยวหมากเรื่อย ๆไดอยางปกติ ถาฝายตรงขามลังเล ก็จะเสนอใหตอรองราคาที่พอใจดู

ความพอใจของการซื้อขายอาจอยูเพียงการตอรองที่สำเร็จแนนอน-มีทั้งความสำเร็จและลมเหลว ผมหมายถึงทั้งผูซื้อและผูขาย

ตางมโีอกาสถอืครองความสำเรจ็และลมเหลวไดเทา ๆกนั

แมสาย

สะพานมติรภาพไทย-พมา

เดก็เรรอนดมกาว

ตลาดทาขีเ้หลก็

Page 17: Freedom Education Issue

17

4.ผมพยายามถายภาพใหไดอยางที่ใจคิด แตกลับทำไมไดเต็มความตั้งใจ

ครบั- ผมยอมรบัวามคีวามระแวงอยไูมนอย ความระแวงทีน่ำพาหวัใจยอนกลบัสคูวามเขาใจเดมิ อนัวาดวยความไมมัน่คงทางการเมอืงของเพือ่นบาน

เตลดิ- ผมเรยีกใจตวัเองในยามนัน้ กวาจะพบวาใจอคตเิกนิไป กต็อนทีม่ายนืรอเพือ่น ๆบรเิวณดานตรวจเอกสาร

บนสะพาน มองภาพไดกวาง ทั้งถนน ตลาด ผูคน การไดสบตากับแมน้ำที่ผมไมรูจักแมแตชื่อ กลับนำความผอนคลายกลับคืน สองดานของเหรยีญ ตางมคีาเทากนั คณุคาของชวีติคนสองฝง คงไมตางกนั

กับการไมรูจัก-รูจริงกับเพื่อนมนุษยตางชาติพันธุ เหตุใดจึงนำความหวาดระแวงผานมาเยอืนในใจเราได ?

ผมไมไดหวงัใหสายน้ำเบือ้งหนาเฉลยคำตอบใด ๆ ขามกลบัมาฝงไทย ทองฟายงัสวางสดใสดงัเดมิ ขณะสองเทากาวหางดานตรวจฯผมกลบัคดิวากำลงัเดนิออกมาจากหองเรยีนใหญ - หองเรยีนไมมชีือ่ โดยมหีนงัสอืเลมโตตดิมอืกลบัมาอานเปนการบาน

"ครคูรบั แลวผมจะเอาการบานมาสง"เสียงหัวใจบอกอยางนั้น

1. At first glance, Mae Sai was a very lively place with people andvehicles on the main street. It looked modern and rich; the wide blue sky wasso bright and refreshing.

Walking along the lines of shops that continue endlessly along thestreet, I passed by crowds from different walks of life, languages and clothesthat expressed unique cultures; I felt the harmony, no matter whetherpermanent or temporary, amidst such diversity.

In less than a minute's time, it was as if I encountered a thick, richbook.

Yes. It's only a flip-through, skim-through of a book of illustrations,captions, headlines and introductions, not a thorough reading of every lineand word.

2. That river.Stepping on the bridge across the river, I started to notice different

eyes; those of the uniformed authorities, merchants and even beggars.I reached the other end of the bridge and landed on another country's

soil to meet the eyes of my neighbors. Actually, these same pictures couldbe seen in Bangkok ? glue addicted kids or beggars, but the difference wasthe very openness of their expressions. There was no hiding as if such practicewas abnormal. Or, was it freedom?

As a passer-by, I could not assess the situation more than the eyessaw and the heart felt. This is such a big book of sensitive stories; one couldnot understand from one round of quick reading; significant content wouldbe missed. Learners who only have books as their teacher, like me, mightinterpret it all wrong.

3. Tachilek was full of hundreds of small shops in lines of box-likebuildings on both sides of the street that were connected like a web - alabyrinth of which I was unable to visit all corners.

The traders here were of various ethnicities. However, Thai languageseemed to be a medium for all; buyers are mostly Thai people and sellersneed to negotiate in Thai fluently. The charm of Tachilek market was thenegotiation and sales solicitation right in front of and around the prospectivebuyers. The sellers offered amazingly low prices that cannot be compared toanywhere on earth, and calmly chewed betel nuts while relaxing and waitingfor decisions before making another offer to prospect buyers, to find theprice that would make he or she satisfied.

Satisfaction lies only in successful negotiation. Of course, there areboth successes and failures; I mean that both sellers and buyers hold equalchances of success and failure.

4. I tried to take impressive photos like those documented in my heart,but there were limitations.

Yes, I have to admit that I was paranoid. I floated back to theinformation regarding political instability of the neighboring country. Wild wasmy heart. Only when I came back to waiting for other friends at the immigrationcheckpoint was it that I realized my mind was misguided and biased.

On the bridge crossing from one country to the other, I could see greatscenes of both sides: roads, markets and people. To meet the eyes of theriver, of which I didn't know the name, brought me back to the calamity. Bothsides of a coin are of equal value; lives on the two sides of the river are too.

How is it that lack of opportunity to become friends leads to paranoiaregarding the people that we do not befriend?

I don't expect the river to give me the answer. I crossed back to standon the Thai side. The sky remained a shimmering blue. While my feet tookme away from the check point, I felt as if I was walking out of a big classroom- a classroom with no name, with a big textbook in my hand.

"Teacher, I will return to submit my homework!"That's what my heart told me.

A Classroom without a NamePhoto story by Suchat Sukprasit

แมน้ำสาย พรมแดนไทย-พมา

Page 18: Freedom Education Issue

18

ลูกหลานของกษัตริยพระอาทิตย

ลงุคำ : พวกเราดาระอัง้ไมเคยสกูบัใคร มแีตหลบหนอียางเดยีว เราไมชอบการตอสู ไมชอบความรุนแรง หลังจากอู อองซานตาย ก็เริ่มมีทหารปาเขามาขูแตไมรวูาใครเปนใคร สดุทายมารวูาเปนทหารทีไ่มชอบพมา แตมทีหารปาแลวกย็งัมทีหารพมามารงุรงั เขามารงัควาน สัง่ผนูำหมบูานใหหาคนไปเปนลกูหาบขนอาวธุปน ทบุตจีนตายกม็ ีบางคนไปแลวกไ็มไดกลบัมาภ ู: ลงุคำกเ็คยถกูบงัคบัไปเปนลกูหาบเหมอืนกนัใชไหมครบั?ลุงคำ : ครับ ผมเคยอยูในเหตุการณตอนที่ตอสูกัน แตผมหนีออกมาไดชาวบานโดนกนัหลายคน ขาวปลาอาหาร ทหารพมากเ็อาไป ของในไรในสวนเขาก็เผาทำลายหมดภ ู: ตองหน?ีลุงคำ : (พยักหนา) คนดาระอั้งทางตอนกลางและตอนเหนือของรัฐฉานตองใชเวลาเดินเทานานถึง 4-5 เดือนกวามาถึงฝงไทย กลุมบนดอยลายเดิน3 วนั 3 คนืโดยไมหยดุพกั ทหารพมาสัง่วา ถาไมออกจากดอยลายจะเขามาจดัการ กลมุใหญ ๆเดนิทางเกอืบครึง่เดอืน มทีัง้คนแกและเดก็ กต็องหยดุพกัมาตลอดทาง พวกผมมาอยูตามรอยตะเข็บชายแดนไทยแถวดอยอางขางจนไดยินขาววา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ จะเสด็จมาเยี่ยมชนเผาในโครงการหลวง พวกเราประมาณ 200 คนก็เขาเฝารอรับเสด็จ ซึ่งเราก็ไดรับอนุญาตจากทานใหเขามาอาศัยในเมืองไทยได ผมจำไดวา ในหลวงทานบอกวา อยกูอ็ย ูทานยงัพระราชทานเงนิ 5,000 บาทใหพวกเราสรางวดัพวกเราดีใจมาก ตอนนั้นพวกเราเชื่อวาเขามาอยูได ไมเปนไรแลว ก็เลยยายมาเขตไทย เปนหมบูานนอแล แตทีน่ัน่ชายแดนยงัไมสงบ มกีารสรูบระหวางกองกำลังของขุนสา กองกำลังเผาอื่น ๆ กับทหารพมา แลวที่ทำกินก็ไมพอปลกูขาว ขาวกไ็มมเีมด็ เพราะอากาศมนัเยน็เกนิไป...ภ ู: กเ็ลยยายมาอยทูีเ่ชยีงดาว ?ลุงคำ : ตอนแรกเรามารับจางเก็บชาแถวแมจอน ตอมามีคนพื้นราบบอกวาตรงนัน้เปนปาตนน้ำ กเ็ลยตดัสนิใจยาย เรามกีนั 20 หลงัคาเรอืน ผมรวบรวมเงินแตละบาน บานละ100 บาท เอามาซื้อที่ดินของคนพื้นราบที่เขาจับจองทำกนิไวประมาณ 10 ไร 2,000 บาท แลวกต็ัง้หมบูานปางแดงใน ตอนนัน้รอบๆ กม็ชีาวบานหลาย ๆ เผา กะเหรีย่ง ลซี ูคนเมอืง มาอยกูอนแลวภ ู: แตตอนหลงักถ็กูเจาหนาทีร่ฐัไทยปดลอมจบักมุ?ลงุคำ : ชาวบานถกูจบัครัง้แรกเมือ่ 26 ม.ค. 2532 ผชูาย 29 คน ถกูตัง้ขอหาเปนตางดาวหลบหนเีขาเมอืงและบกุรกุปา ถกูตดัสนิตดิคกุ 11 ปกวา แตศาลลดโทษให และตอมาไดรบัพระราชทานอภยัโทษ กเ็ลยอยใูนคกุ 3 ป 6 เดอืน

17 วัน พอออกมาก็ถูกจับอีก เมื่อ 26 มีนาคม 2541 คราวนี้ 56 คน ขอหาเหมอืนเดมิ หลานชายผมกบัพอเฒาแมเฒามาเยีย่มผมจากบานนอแล กโ็ดนจบัไปดวยไมรตูวั ผมชวยอะไรไมได ผมทกุขใจ (น้ำเสยีงสัน่เครอื)ภู : แต.. ตอนนี้ลุงคำก็ไดชวยใหชีวิตความเปนอยูของชาวบานปางแดงดีขึ้นเหมือนกันนะครับ?ลงุคำ : กด็กีวาแตกอน ไดสญัชาตไิทยกนับางแลว ลกู ๆกไ็ดสญัชาต ิ เหลอืแตผมทีไ่มได เพราะเจาหนาทีบ่อกวาไมไดเกดิในเมอืงไทย แตเรากอ็ยกูนัอยางนี้ผมบอกใหเรามกีฎมรีะเบยีบ บกุรกุทำลายปาไมได หามยงุเกีย่วกบัยาเสพตดิอยานำคนมาเพิม่ ขอใหอยกูนัอยางมคีวามสขุ ผมเอาวฒันธรรมประเพณมีาสอนลกูสอนหลาน เอาทัง้สิง่ด ีๆ และประสบการณอนัเลวรายมาสอน ผมบอกลูกหลานเสมอวา เรามาอาศัยอยูในเมืองไทย เราตองเคารพกติกาและตองรกัษาผนืดนิทีเ่ราอยนูีใ้หด ี ผมเนนใหชาวบานชวยกนัอนรุกัษธรรมชาต ิเราปลกูปาทกุป ทำแนวกนัไฟ ปลูกหญาแฝก ทำฝายชะลอน้ำใหน้ำใสไหลทัง้ป เราอยูตนน้ำ ถาไมรกัษาปาขางลางกไ็มมนี้ำกนิน้ำใช ผมคดิวาเราตองพึง่พาทัง้ภาครฐัและเอน็จโีอ เราตองมทีีป่รกึษาหารอืผม : ตอนนีป้างแดงในกลายเปนแหลงทองเทีย่วแหงใหมไปแลวนะครบั?ลุงคำ : มันก็ดี เปนอาชีพเสริม แตปญหาก็เริ่มตามมา เริ่มมีความขัดแยงเรือ่งเงนิเรือ่งทอง ทีข่ายของทีร่ะลกึเริม่มกีารตดัหนากนั เริม่วิง่ตามตือ้ขายใหฝรัง่กม็ ี อนัทีจ่รงิ วฒันธรรมประเพณขีองเรากเ็รยีบ ๆ งาย ๆ คลายคนเมอืง แตชวงหลัง ๆ วัยรุนเริ่มเลียนแบบขางนอก มีคำดา คำพูดไมดี สมัยกอนไมมีโรงเรยีน อาศยัพอแมสอนอยางเดยีว แตตอนนีเ้ราสอน เขาไมฟง เขาคดิวามีครมูโีรงเรยีนแลวฉลาดกวาพอแมอยางเราทีไ่มไดเรยีนหนงัสอื แตผมคดิวาเรามีประเพณีวัฒนธรรมเปนคำสอน เมื่อกอนไมมีกฎหมาย แตตอนนี้ คงตองอาศัยกฎเกณฑเขามาชวยรวมกับวัฒนธรรมประเพณี

..ขณะทีน่ัง่พดูคยุกนันัน้ ลงุคำหยบิ 'เพือ่นไรพรมแดน' ไปพลกิดรูปูเหตกุารณการประทวงของพระและประชาชนในพมาเมือ่กนัยายนทีผ่านมา ..

ผม : ทราบขาวรฐับาลพมาฆาพระฆาประชาชนแลวรสูกึอยางไรบาง ?ลงุคำ : ตอนแรกผมไดขาวมา แตไมนกึวาจะมกีารฆาพระ ผมเหน็ใจ เปนหวงเขา ไมวาจะเปนชาวพมา ชาวไทใหญ ชาวปะหลอง ลวนเปนพีน่องกนั ตัง้แตผมมาอยูที่นี่ ไมรูเขาตายกันไปมากเทาไหรแลว ผมเพิ่งรูนะเนี่ยวามีคนอยูในคายผลูีภ้ยัในไทยมากมายอยางนี ้พวกเขาคงมคีวามทกุข ผมเขาใจ ขนาดเรา

'คำ จองตาน' ชาวดาระอัง้ หรอื 'ปะหลอง' ในวยั 70 ป กบัประสบการณทีผ่านรอนหนาว ผานดงสงคราม ผานการพลัดพราก ผานการระเหเรรอน ทำทุกอยางเพื่อใหชีวิตอยูรอด...เกบ็แมลงทกุอยางใสปาก เดด็ใบไมกนิแทนขาวเพือ่ประทงัความหวิโหย ใชใบตองกลวยหมศพเพือ่นรวมทางทีต่ายดวยความปวยไขแทนการฝง แลวกต็องรบีเดนิทางกนัตอ...

กวายีส่บิปทีเ่ขาตองเดนิทางคนหาดนิแดนอสิรภาพและสนัตสิขุ พวกเขาตองใชทัง้ความอดทน อดกลัน้ ประนปีระนอมบวกกบัใชภมูปิญญาชนเผา จนกระทัง่ญาตพิีน่องและลกูบานไดมพีืน้ทีอ่าศยัอยมูาจนทกุวนันี.้..ในผนืแผนดนิไทยและนี่คือบางเรื่องราวชีวิตและตัวตนของเขา...

Page 19: Freedom Education Issue

19

ยังลำบากขนาดนี้ แตคนเราตองสูชีวิต ปญหายังไมหมด สำหรับคนดาระอั้งปางแดง พวกเราตองพยายามชวยทำหมบูานและสงัคมของเราใหมคีวามสขุ

.........................................

งานศกึษาเกาแกชิน้หนึง่ในพมา บนัทกึไวใน "Gazetteer of Upper Burmaand the shan states" ตัง้แตป พ.ศ. 2443 เขยีนถงึตำนานการเกดิของชนเผาดาระอัง้หรอืปะหลองไววา พวกเขาคอืลกูหลานของกษตัรยิพระอาทติย ผเูลอืกทีจ่ะอยบูนทีส่งูและหนาวเยน็ในแถบลำน้ำซนั ตอนเหนอืของรฐัฉาน ประเทศพมาชาวดาระอั้งนิยมอยูกันเปนครอบครัวใหญและเปนนักเดินทางชั้นเยี่ยม ตอมาลูกหลานจึงไดยายออกไปตั้งถิ่นฐานทางตอนใตของรัฐฉานแถบเมืองเชียงตุงและมคีวามสมัพนัธอนัดตีอคนไทใหญเสมอมา

เมือ่พดูถงึปะหลองกบัสงคราม มผีศูกึษาคนหนึง่บอกวา บรรพบรุษุของชนเผาปะหลอง ลวนเปนผไูดรบัผลกระทบจากภยัสงคราม และเปนฝายทีต่องหลบเลีย่งหนกีารรกุรานของชนเผาอืน่เรือ่ยมา

เรยีบเรยีงขอมลูจากงานวจิยัเรือ่ง 'กลยทุธในการเขาถงึทรพัยากรของชมุชนตัง้ถิน่ฐานใหม ทามกลางบรบิทของการปดลอมพืน้ทีป่า', สกณุ ีณฐัพลูวฒัน,2544

"We Dara-ang have never been in a battle against anyone. We onlyrun away from fighting. We hate violence. After U Aung San died, wild soldierswho were against the Burmese military came threatening us. Burmesesoldiers also came. They ate our chicken and pigs for free. They burnt downour crops. They ordered the village headman to recruit porters to carryweapons and guns. Some of these porters have never come back to us. Iwas also a porter. I was also in battles, but I managed to escape.

"The Dara-ang from Doi Lai walked all of three days and nights withouttaking a rest, but the big group like us with the elderly and small childrentook about two weeks as we had to stop on the way. We came to stay on theThai border, near Doi Ang Kang. There we heard that His Majesty the Kingwould visit the royal project in Doi Ang Kang so about 200 of us went there tosee him. His Majesty allowed us to live in Thailand. I remember it well. Hesaid, "If you want to stay, stay." He also gave us 5,000 baht to build amonastery. We were so happy. At that time, we believed that everythingwould be okay. So we moved in Thailand and set up Naw Lae Village. Butfighting was still going on and there were not enough land for everyone, sowe moved to Chiang Dao. I collected 100 baht from each family; 20 familiesfor 2,000 baht, and bought 10 rai (1.6 hectares) of land from the Thais. Thisis our Pang Dang village.

"But one day, we were arrested. It was January 1989. Twenty ninemen were charged with illegal entery into the country and for invading theforests. They got an 11 year sentence but the court reduced it to five years.Later they received royal amnesty. But after being released for a short while,again in March 1998, 56 of us were arrested again for the same charges. Mynephew and his parents from Naw Lae who were visiting me were alsoarrested. I wanted to help them but I didn't know how. I felt so bad. Now thecase is still in court.

"Of course, think about good side, there's something better. Now somevillagers obtained Thai citizenship. My children, too. There's only me left asthe officials said I wasn't born in Thailand. Anyway, I can live here like this. Itold my people to live by the rules and do not destroy the forests. We teachour children not to get close to drugs, and not to bring more people to ourcommunity. Just live together peacefully. I teach them our culture. I told bothgood and bad experiences. I always tell the young people that we are nowliving in Thailand, so we have to respect the rules here. We have to lookafter the land here. We conserve the forest and nature. We grow forestsevery year. We make fire walls. We build a small traditional dam to haveclean and clear water all year round. We are in the watershed. If we don'tprotect the nature, lowland people will have no water to use.

"Now that my village became a tourist attraction, it's good to earnadditional income but problems naturally follow. You see, we started to haveconflicts over money. I see souvenir shop owners fighting. Some even bugforeign tourists and it isn't nice. In fact, our culture is as simple as that of thenorthern Thais. I always tell the young people to keep the good deeds of theDara-ang. But more recently, they didn't listen. They started to learn to speakbad words, rude words from outsiders. In the past there was no school andchildren learned only from their parents. Now the young people think thatthey already have teachers at schools and they became smarter than theirparents who are illiterate. But I think we always have culture and tradition asour guideline. In the past, there was no law so people had to live by cultureand tradition. But now it seems more complicated. We may need the laws tobe used with our customary rules.

"I always worry about the people inside Burma; be they Burman, Shanor Dara-ang, we are all brothers and sisters. I don't know how many havedied since I left. I have just realized that there are a large number of refugeesin border camps. They must be suffering. Even us who have settled aresuffering. However, humans must keep on fighting for the better. There willalways be problems to solve. For the Dara-ang of Pang Dang, we have to tryfor peace and happiness in our community.

Children of the King of the Sun

"Kham Jongtan", a Dara-ang or Palong man in his 70s, has been through some hard life experiences. In the battlefield and during displacement, he did everything to keep himself and his people alive; putting insects found on the way intheir mouths, picking up any green leaves as food as a replacement for rice, covering his companions' dead bodies withbanana leaves before rushing further away.

For over 20 years, he has wandered to seek a land of freedom and peace. He and his folks had to be patient,compromise and use traditional wisdom as a tool to go on. Today his family and his folks have settled down in Thailand.

Here are parts of his life.

คำ จองตาน ชาวดาระอั้งวัย 70 ป เกิดที่บานปูหลง เชียงตุง รัฐฉานประเทศพมา เขาตองเผชญิกบัความโหดรายของสงครามตัง้แตวยัยงัไมถงึ20 ป คำพาชาวบานดาระอั้งรอนแรมอพยพมาประเทศไทยในป พ.ศ.2525 โดยไดรบัอนญุาตใหเขาอยใูนพืน้ทีโ่ครงการหลวงดอยอางขาง และโยกยายมาปกหลักที่บานปางแดง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม ปจจุบัน คำจองตาน เปนผนูำตามธรรมชาต ิทีต่องพาชมุชน 245 คน 48 หลงัคาเรอืนกาวผานความทุกขยากจากการเปนคนอพยพพลัดถิ่น และยืนอยูในโลกทีห่มนุเรว็ใหไดอยางสอดคลองเปนสขุ และสนัติ

A study published in the "Gazetteer of Upper Burman and the ShanStates" in 1900 explained the legend about the birth of the Dara-ang thatthey were the children of the King of the Sun, who chose to live in a high andcold place near Sun River, north of Shan State, Burma. The Dara-ang aregreat travelers and usually live together as a big family. Later on, their childrenmigrated to the south of Shan State and live peacefully with the Shan people.

Another academic pointed that most of the Dara-ang were victims ofwar rather than warriors.

Information from "Newly- Settled Communities Strategies in AccessingResources" by Sakunee Natpoolwat published in 1991.

Kham Jongtan, 70, Dara-ang, was born in Baan Pulong, Kengtung,Shan State of Burma. He led the Dara-ang villagers on a journey toThailand and was permitted to live in the Doi Ang Kang Royal Projectin 1982 before moving further to his current village in Chiang DaoDistrict of Chiang Mai. At present, Kham is still a natural leader to the245 people from 48 families who look to him, through their sufferingsof displacement to new hopes - standing firmly and peacefully in thisrapidly changing world.

Page 20: Freedom Education Issue

20

การศึกษาความเปนมนุษย

อันที่จริงแลว การฆาลางเผาพันธุไมใชเรื่องใหมในโลกเรา หากมองยอนประวตัศิาสตรกจ็ะพบวา โศกนาฏกรรมเชนนีเ้กดิขึน้เปนระยะ ๆ และตางกส็งผลรนุแรงตอสังคมนั้น ๆ จนตองใชเวลายาวนานหลายชั่วอายุคนกวาจะเยียวยาบาดแผลกันไดความทรงจำที่เจ็บปวดของสังคมไทยอาจไมใชการลางเผาพันธุทางชีวภาพ แตก็คือการประหตัประหารเผาพนัธทุางความคดิ ซึง่ผคูนถกูทำใหเชือ่วาฝายตรงขามนัน้ไมใชมนุษยเหมือนกันกับเรา

ผคูนในอาณาจกัรแถบคาบสมทุรบอลขานคงไมมใีครคาดคดิวาวนัหนึง่คนตางเชือ้ชาตศิาสนาจะลกุขึน้มาประหตัประหารกนัเปนสงครามกลางเมอืง ชนเผาโบราณในแถบประเทศรวันดาของอัฟริกาปจจุบันก็คงไมเคยนึกวาความขัดแยงจะขยายเปนสงครามลางเผาพันธุกันขึ้นได เราคงพอจะเขาใจความเหี้ยมโหดของสงครามขณะดำเนินอยูไดบางจากภาพขาวหรือภาพยนตร แตสงครามในใจหลังจากที่สงครามทางกายภาพจบลงนัน้อาจจะจนิตนาการไดไมงายนกัหากไมเคยประสบดวยตวัเองมากอนทีน่ากลวักค็อื ภาพหลอนและความเคยีดแคนนีก้เ็หมอืนกบัถานทีค่กุรนุ จะปะทขุึน้เปนเปลวไฟอีกเมื่อไรก็ได

แตกอนนี้ สังคมโลกมักใหความสนใจกับการบรรเทาสาธารณภัยหรือความชวยเหลือทางมนุษยธรรมเปนหลัก แตบทเรียนในประวัติศาสตรไดย้ำใหมนุษยตองกาวไปไกลกวานั้น โดยยอนกลับไปดูที่มาของภาวะที่คนเราสามารถลุกขึ้นมาฆาลางคนเผาพนัธ ุ"อืน่" ดวยความเชือ่วาพวกเขาไมใชใชมนษุยทีเ่หมอืนกนัเทากนัได นอกจากนี้ ยังมีความคิดเห็นวา ความผิดพลาดในอดีตเกิดจากวิธีคิดและการตัดสินใจที่เนนความรนุแรงของผชูาย จงึมคีวามพยายามทีจ่ะคอย ๆ ลดระดบัวฒันธรรมชายเปนใหญแบบเบ็ดเสร็จที่เสี่ยงตอการกาวพลาดไปสูวงจรของความรุนแรงไดงายดวย

ในชวงทีผ่านมา รวนัดาและกลมุประเทศจากอดตียโูกสลาเวยีไดพยายามทีจ่ะเยียวยาสังคมดวยการผลักดันวัฒนธรรมที่ปฏิเสธความรุนแรง ความเขาใจในความหลากหลายของมนษุย แนวคดิสทิธมินษุยชนและสนัตภิาพเขาในการศกึษาทัง้ในและนอกระบบ หลกัสตูรประวตัศิาสตรแตเดมินัน้จะเนนแตความรกัชนชาตติน สรรเสรญิผนูำนกัรบและประณามศตัร ูจนทำใหคนถกูฝงหวัวาชนชาตหิรอืศาสนาใดเกดิมาเพือ่เปนศตัรกูนัโดยเฉพาะ แทนทีจ่ะหนัมองขอเทจ็จรงิวาพวกเขาลวนเคยอยรูวมกนัอยางสันติมากอน ระบบการเรียนประวัติศาสตรใหมจะเนนสงเสริมความภาคภูมิใจในเอกภาพทามกลางความหลากหลาย อกีทัง้ยงัสนบัสนนุใหนกัเรยีนตางเผาพนัธศุาสนามาเรียนรวมกัน เรียนรูประวัติศาสตรกันและกัน และทำความเขาใจกับสิทธิมนุษยชนของผอูืน่ ไมใชเพยีงการปกปองสทิธขิองตน

อยางไรกต็าม กอนทีค่นรนุใหมกบัมมุมองใหมจะไดรบัโอกาสใหลกุขึน้มาสรางความเปลี่ยนแปลง โคโซโวซึ่งประชากรสวนใหญมีเชื้อสายอัลเบเนียนก็ไดประกาศเอกราชจากสาธารณรฐัเซอรเบยี ซึง่กแ็นนอนวารฐับาลเซอรเบยีและชาวเซริบในโคโซโวก็เปนเดือดเปนแคนเปนการใหญ แมเอกราชของรัฐใดยอมเปนเรื่องนาชื่นชมยินดีใครกค็งเดาไดวาการแยกประเทศนีค้งไมราบรืน่นกั การทีค่นเราจะตองอยเูคยีง "ศตัร"ูขางบานไปตลอดนั้นเปนไปไดยากยิ่ง

สำหรับไทยเรา นับวันความขัดแยงและการสรางภาพผูแตกตางใหเปนศัตรูที่ฆาไดไมบาปมีแตจะรุนแรงขึ้นทุกที เห็นทีเราจะตองบรรจุการศึกษาสันติภาพ สิทธิมนุษยชน และบทเรียนประวัติศาสตรที่ไมคับแคบไวในหลักสูตรอยางเรงดวน กอนที่ทุกคนจะถลำลึกไปในวงจรแหงความรุนแรงมากกวานี้

Human EducationGenocide is in fact not a new phenomenon of this world. If we

look into histories, we may see such tragedy occur periodically, allso severe in their impacts to societies that the damage takesgenerations to heal. The Thai people's painful memory is not anethnic cleansing, but the brutal persecution of a group that maintainedparticular political beliefs. The similarity between both types of conflictis that people were made to believe that the other side, who are alsohuman, are not the same kind of human.

Ancient peoples in the Balkan might not believe that one dayit would be possible that their descendants of different ethnicitiesand religions could kill and persecute each other in such a tragicway. Ancient tribes in present day Rwanda might not be able toimagine that tribal conflicts could finally expand into genocide. Fromnews report or movies, we can see the brutality in battlefields. Butthe internal war, within one's mind after the physical war has ended,may be difficult for one who never experienced to imagine. Traumasand hatreds from war are not only dead ashes; they are capable ofsparking into a full-scale fire, anytime.

In the past, the world's community usually paid attention onlyto humanitarian relief and aids. However, history lessons insistedus to walk further by turning to see the stage where humans can kill'others' in the belief that they are not the same and equal humans.Moreover, some saw that the past mistakes were resulted partly frommen's decisions; ones that were usually based on violent thought.Therefore efforts were also made to reduce paternalist culture whichis risky in that it can lead society in violent circles.

Although the physical war in the former Yugoslavia andRwanda might have ended, hatred between ethnic groups has notfaded. For the past few years, efforts have been made in bothRwanda and the Balkan countries in order to heal their wounds.Advocacy for non-violent culture, promotion of positive attitudestowards human diversity, peace and a human rights ideology hasbeen made via both the formal and informal education system.Educators see the urgent need to change the history curriculumwhich used to focus on chauvinism and warriors/leaders againstenemies; one that made ordinary people believe in an idea thatcertain ethnic or religious groups were naturally born enemies, intoone of ordinary people who used to live together peacefully. Thesenew history curriculums were designed to advocate the pride ofhuman diversity, the value of united diverse human groups, and tolead students to learn to know, accept and understand each other.The phrase 'Our neighbors-Our enemies' was erased from textbooks. Students from diverse ethnic and religious backgrounds wereencouraged to join in the same classes to learn one another's history,and understand human rights of others rather than just protectingtheir own rights.

However, it will take time before the new generations' perceptionsare given a chance. Kosovo, of which the majority of people areAlbanians, recently declared independence from the Republic ofSerbia, while the Serbian government and the Serbs who are aminority in Kosovo province responded furiously. One can predictthat the separation might not be smooth; independence for onecountry is of course a celebration for its citizens, but it is also impossiblefor humans to live a life next to the neighbors they consider foreverenemies.

For Thailand that conflict grows stronger with pictures paintedof those who are 'different' as enemies, it looks like we urgently needpeace and human rights education, as well as new open-mindedhistory lessons in our curriculum. Give peace education a chance,before we make ourselves victims of our own education system.

Right: School children in Rwanda at the Imbabazi Orphanage. Photo byRick LoBello www.elpasozoo.orgLeft: Children of Rwanda www.xray.mpe.mpg.de

Page 21: Freedom Education Issue

21

รนิ (เพลง "เพือ่นไรพรมแดน", "คนพลดัถิน่" และ "ฝนตกทีแ่มสลอง")"ผมทำอะไรเพื่อตัวเองมาเยอะแลว ผมอยากจะใชความสามารถทำอะไรใหเปนประโยชนกับสังคมบาง" นธิ ิหวงัธรรมเกือ้ ผสูรางสรรคทำนอง เรยีบเรยีงดนตรแีละควบคมุการผลติของรนิกลาว ปจจบุนันิธิเปนคนทำดนตรีใหงานโฆษณาประชาสัมพันธ ในขณะที่ชิงชัย มณีภัณฑ บัณฑิตนิติศาสตรผกูำลงัพยายามสอบตัว๋ทนาย มารบัหนาทีเ่ขยีนเนือ้และรองนำเปนครัง้แรกในชวีตินายไปรษณยี (เพลง "ฝนุ")นายไปรษณีย เลี้ยงตัวดวยงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพเปนหลัก ในขณะที่ทำงานเพลงของตนอยางตอเนือ่ง ดวยหนงัสอืแนวคดิสงัคมนยิมจนีของแมเลมหนึง่ทีว่า คนเราตองทำอะไรเพือ่ประโยชนของสงัคม ในป 2548 เขาลงทนุทำอลับัม้ "นายไปรษณยี" ออกมาเองดวยเงนิเกบ็และเงนิยมื และกำลงัทยอยบันทึกเสียงอัลบั้มชุดใหมอยูในขณะนี้เอ นติ'ิกลุ (เพลง "เขากค็อืคน")เอเปนนักพัฒนาที่เผยแพรทัศนะตอสังคมผานบทเพลง ทั้งดวยการไปเปดหมวกเลนตามที่ตาง ๆรวมถงึในวงชาวบาน งานสมัมนา และออกอลับัม้ใตดนิ "ผกูพนั" มาเมือ่ป 2548 ลาสดุเขารวมตวักับเพื่อนในชื่อกลุม "สื่อสรางสรรคชุมชน" ซึ่งกำลังทำอัลบั้มตอตานการคามนุษยรวมกับศิลปนอีกหลายทาน "ยิง่ไดฟงเสยีงบอกเลาของแรงงาน กย็ิง่เหน็ใจวาทำไมเขาจงึถกูกระทำเหมอืนไมใชคน..."โอม (เพลง "ลกุขึน้ยิม้)"ผมเคยไปนอนที่คายผูลี้ภัยครั้งหนึ่ง มันไมไดไกลจากกรุงเทพฯมากนะ แตชีวิตเราแตกตางกนัมาก"ปตพิงษ ผาสขุยดื นกัรองนำ 'โอม' กลาว โอมเปนชือ่ไทย ๆของวง Over Me ของสีน่สิติจฬุาฯ ซึง่บนัทกึเสยีงกนัเองในชมรมดนตรสีากลของมหาวทิยาลยั "เพลงเขาถงึงายกวาปาฐกถา ดนตรเีปนสากลกวาภาษาพดู" ปตพิงษวา "แตมนักเ็ปนแคหนทางหนึง่ เรามใีจ แตคนทกุฝายตองชวยกนั "โครงการกระดกู (เพลง "กระสนุนดัสดุทาย", "สขีองหวัใจ", "เจาของลมหายใจ")โครงการดนตรขีองศภุโมกข ศลิารกัษ คนทำหนงั ดนตร ีกราฟฟกดไีซน และเขยีนหนงัสอื ทีร่วบรวมศิลปนหลากหลายมารวมงานในแตละเพลง ศุภโมกขเปนคนชนบทภาคใตที่มีเพื่อนทั้งคริสต พุทธและมุสลิม ซึ่งเมื่อยายมาอยูภาคเหนือ ก็มีเพื่อนเปนชนเผาตาง ๆ รวมถึงผูลี้ภัยและผูพลัดถิ่นชาวกะเหรีย่ง "ผมอยากใหคนหนัมามองสขีองหวัใจตวัเอง เพือ่ทีจ่ะไดหนัไปเหน็หวัใจของคนอืน่บาง"ชวย ลมืชาต ิ(เพลง "เสยีงตามสาย")"คนมีอำนาจมันเห็นแกตัว ความขัดแยงถึงไดไมสิ้นสุด เราอยากจะบอกวา สงคราม..หยุดไดแลว"ชวยเปนมือกีตารโปรง แตงเพลง และรองนำของวงซอนเน็ตแอนดแอลกอฮอล ทุกวันนี้เขาเปนนักศึกษาอยางเขมขน เมื่อวางจากงานรานอาหาร ชวยจะศึกษาศาสตรทางดนตรีตาง ๆ อานวรรณกรรม บทกว ีและบงัคบัตวัเองใหเขยีนงานออกมาใหไดทกุวนัเสมอซอ (เพลง "บนิขามลวดหนาม")ซอเปนชาวกะเหรี่ยงเชียงใหมที่เติบโตมากับเตหนาและปเขาควายของพอ เมื่อไดมาใชชวีติคลกุคลีกบัผลูีภ้ยัจนเหมอืนเปนครอบครวัเดยีวกนั ซอเฝาคิดอยูเสมอวา จะตองหาทางบอกเลาเรื่องราวของผูคนเหลานี้ใหโลกรับรูใหได "ผมเห็นนกบินขามรั้วลวดหนามคายผูลี้ภัย แตคนถูกหามไมใหออกนกทีบ่นิออกไปคงไมไดไปไหน นอกจากจะไปหาคนทีร่กั คนทีเ่ปนเพือ่นเทานัน้"

RinI've done enough for myself. I'd like to contribute somethingto society," said Nithi Wangthamkue. Rin is led by Nithi,who creates the melody, as well as arranges and producesthe music, with Chingchai Maneepan, the first-time lyricswriting and vocalist. Nithi is a professional music producerfor advertisement and public relations work, while Chingchai,a law graduated, is trying to obtain a lawyer's license tofurther his career.

Mr. PostmanMr. Postman earns a living as a graphic designer whilemaking his own music to fulfill his desire, with influencefrom his mother's socialist ideology book whichencouraged people to do work for the benefit of society.In 2005, his first album was done by his savings and loanfrom friends. He is currently working on his new album.

Ae niti'kulAe niti'kul is a full-time development activist who reflectedhis thoughts about Thai society by performing his songsin village meetings, seminars and on the street. He later setup the 'Media Creates Community Group', which is currentlyworking on a music album to campaign against humantrafficking. "I heard the stories told by the migrants andfelt so bad; why were they treated in such inhumane way?"

OmhThe group Omh is comprised of four Chulalongkorn studentswho recorded the song simply in the university music club.'Songs are easier to access than speeches'. "I have spenta night in a refugee camp. The camp isn't far from Bangkokbut our lives are so different."

Kradook ProjectKradook Project is a music project of Supamok Silarak whois also a graphic designer, writer and filmmaker. Supamokhas grown up as a villager in Southern Thailand withBuddhist, Christian and Muslim friends and currently livesin the north where he maintains friendships across ethnicor nationality boundaries. "I'd like to ask people to lookinside their hearts to find out which color it is. After that,they may turn to look at others'."

Chuy Luemchad"Conflict has no end because the selfishness of those inpower. I want to say, hey! The war must be stopped, rightnow!" Chauy is a songwriter, lead vocalist and acousticguitar player for Sonnet & Alcohols band. Chuay is a muchdisciplined student in his own way. Everyday in free timeafter working in a restaurant, he seriously studies all skillsand sciences relating to music and reads literature andpoems for a wish to create a piece of work of his own.

SawSaw is a Thai-Karen who has grown up with Karentraditional instruments. Living among the Karen refugeesas brothers and sisters, Saw has been trying to find waysto tell the stories of these people to the world. "I saw birdsflying beyond the refugee camp's fence, but the refugeesare not permitted to go. I thought the bird wouldn't headanywhere but to its loved ones and friends."

ศิลปนไรพรมแดนArtists without Borders

ศลิปนเหลานี ้ไดประกาศพืน้ทีด่นตรไีรพรมแดน ทีจ่ะขบักลอมและลบเลอืนเสนขอบสมมตทิีม่นษุยขดีกัน้กนัและกนัไว อลับ้ัม "ไรพรมแดน" จะสงเสยีงทกัทายสงัคมไทยในวนัที ่21 ม.ีค. วนัสากลแหงการขจดัการเลือกปฏิบัติทางสีผิวเผาพันธุนี้

The seven artists have declared a space of borderless friendship in the music arena. The 'Without Borders' music album will be released on March the 21st,the International day for the Elimination of Racial Discrimination.

ตดิตามรายละเอยีดไดที่www.friends-without-borders.org

Page 22: Freedom Education Issue

22

เปลาคะ นี่ไมใชบันทึกสงครามแบบที่เรารูจักกัน แตเปนงานเขียนของเด็กโรงเรียนมัธยมวิลสันซึ่งอยูไมไกลจากลอส แองเจลีสเทาไหร พวกเขา ทั้งอัฟริกันอเมริกันผิวดำ ลาตินอเมริกันผวิน้ำตาล และอเมรกินัเอเชยีผวิเหลอืง (โดยเฉพาะอยางยิง่กลมุเชือ้สายผลูีภ้ยักมัพชูา) อยใูนชมุชนทีถ่กูกดใหอยตู่ำทีส่ดุ ถกูตราหนาวาเปนพวกที ่ "สอนไมได" และ "ไมคมุทีจ่ะสอน" เพราะยงัไงกจ็ะไมมใีครจบ ยงัไงทกุคนคงเปนไดแคอนัธพาลเทานัน้

นี่คือเรื่องจริงหลังการจลาจลในลอส แองเจลิสเมื่อป 2535 ซึ่งมีที่มาจากความกดดันของคนผิวสีตอความอยุติธรรมหยามเหยียดที่สั่งสมจนระเบิดขึ้นเมื่อศาลพิพากษาปลอยใหแก็งคตำรวจโหดทีร่มุสรมัคนขบัแทก็ซีผ่วิดำลอยนวล โศกนาฏกรรมนีท้ำใหคนทกุ ๆสผีวิตายไป 53 คนบาดเจบ็อกีกวาสองพนั หางรานถกูเผาทำลาย และไปขยายบาดแผลระหวาง "พวก" ทีม่อียแูลวใหเหวอะหวะยิ่งขึ้นอีก

โรงเรยีนมธัยมวลิสนัทีว่า เปนสวนหนึง่ของโครงการผสมกลมกลนืเพือ่ความเสมอภาคและปรองดองในสงัคม แตใครทีไ่ดเขาไปทีน่ัน่กค็งจะหนาวเหมอืนมหูลาน ทีไ่ดเหน็เดก็ ๆใชชวีติแยกกลมุระหวางผวิขาว ดำ น้ำตาล เหลอืง อยางชดัเจน ซ้ำเหลาครคูนขาวกย็งัขึง้แคนทีโ่รงเรยีนตองตกต่ำเพราะเดก็ "เหลอืขอ" พวกนีอ้ยางออกนอกหนา

มูหลานเพิ่งไปเยี่ยมโรงเรียนประถมแหงหนึ่งในเขตมหาชัยมา ที่นั่นเปนหนึ่งในโรงเรียนจำนวนนอยนดิทีย่นิดรีบัลกูหลานแรงงานอพยพใหเขาเรยีนรวมกบัเดก็ไทย ไมมคีวามรนุแรงอะไรทีม่องเหน็ดวยสายตาหรอกคะ แตมหูลานไดยนินกัเรยีนชาวมอญวยั 10 ขวบคนนงึบอกเปนภาษาไทยชดัเจนวา "แถวบานผมมเีดก็ไทยเยอะ แตเขาไมสนใจผม ผมกเ็ลยไมสนเขา มาโรงเรยีนผมไมกลาเลนกบัเดก็ไทย แมบอกวา ถาผมไปทะเลาะกบัเขา ถาเรามเีรือ่งกบัคนไทย เราจะไมมแีผนดนิจะอยู"

มูหลานแกวงหางคิดอยูนาน กวาจะเขาใจไดวา ถึงการผสมกลมกลืนอาจเกิดขึ้นตามธรรมชาตไิดเอง แตถามบีาดแผลในใจกนัอยแูลว คนชวยสมานกค็งมบีทบาทสำคญัไมนอย..

ทีโ่รงเรยีนมธัยมวลิสนั มคีรคูนหนึง่กาวเขามา "เปดทาง" ใหเดก็ ๆสรางความเปลีย่นแปลงไดดวยตวัเอง เอรนิ กรเูวลล หรอื คร ู "จ"ี เปนผหูญงิผวิขาวอายแุค 24 และสิง่ทีเ่ธอทำกเ็ปนเพยีงการมองใหเหน็ความเปนมนษุยของนกัเรยีน (เดก็ ๆไมไดตองการความเวทนาหรอกคะ) อดทนตอการตอตาน และพยายามเดนิเขาไปในจติใจทีเ่จบ็ปวดของพวกเขา ทีส่ำคญั เธอสรางบรรยากาศใหหองเรยีนที ่203 กลายเปนสถานทีป่ลอดภยัทีเ่ดก็ ๆ จะแสดงตวัตนออกมาไดโดยไมถกูพพิากษา

"ในวนัแรกทีเ่รากาวเขาโรงเรยีนมธัยม เรามเีพยีงสามสิง่ทีเ่หมอืนกนั นัน่คอืเราเกลยีดโรงเรยีน เราเกลยีดครขูองเรา และเราเกลยีดชงักนัและกนั"

นี่คือสวนเล็ก ๆในบันทึกของเด็กวัย 14-15 ปที่มูหลานไปดมหามาไดคะ วัยรุนเหลานี้มองวาตวัเองกำลงัอยใูนสนามรบ ออกจากบานแตละวนัไมโดนยงิตายกบ็ญุโขแลว สงครามเกดิขึน้ไดยงัไงกไ็มรแูละไมสนใจจะรดูวย พวกเขารแูตวาจะตองปกปองพืน้ทีข่องตวั ทกุคนเปนนกัรบ และคิดวาซักวันก็คงจะตายไปอยางนักรบ...

22

Page 23: Freedom Education Issue

23

จากนั้น เธอก็เปดประตูใหพวกเขากาวสูโลกกวาง และเรียนรูที่จะมองเห็น "ความเหมอืน" ระหวางตวัเองกบัเพือ่นมนษุย แทนทีจ่ะเพงมอง "ความตาง"

"คนขาวมกัคดิวาตวัเองจะตองไดรบัความเคารพ เพยีงเพราะเขาผวิขาว แนละ ..ฉนัไมรจูกัครหูรอก แตฉันรวูาครทูำอะไรไดบาง ตำรวจผวิขาวจบัเราแคเพราะเขาอยากทำ คนขาวทำอะไรก็ไดกับเรา แควาเขาอยากทำ และทำได!" มูหลานถึงกับสูดจมูกฟุดฟดเมื่อไดยินเดก็หญงิลาตนิอเมรกินัคนนงึพดูใสหนาครจู ีเดก็ ๆทกุสผีวิตางมองวา ชวีติของพวกเขาจะดีกวานี ้หากไมม ี"พวกอืน่"

แลวจดุเปลีย่นแปลงกเ็กดิขึน้ในวนัทีเ่ดก็ผวิน้ำตาลวาดภาพลอเลยีนรปูหนาของเดก็ผิวดำสงตอกันไปรอบหอง ครูจีชูกระดาษแผนนั้นขึ้นอยางกราดเกรี้ยว เปรียบเทียบวิธีการทำให "คนอื่น" เปนสิ่งที่ต่ำกวามนุษยแบบนี้ วาคือสิ่งที่นาซีกระทำตอชาวยิวในยุคการลางเผาพนัธตุอนสงครามโลกครัง้ทีส่อง ตอนนัน้ ในใจนกัเรยีนคงคดิหาคำพดูจะเถยีงเหมอืนกนัแตความอยากรูอยากเห็นก็แรงกวา นายคนนึงยกมือถามอยางกลัวเสียฟอรมเต็มที่วา "ครูไอการลางเผาพันธุนี่มันอะไร"

วบูคะ มหูลานหางตกเหมอืนกบัครจู ีทีเ่พิง่ไดรวูาเดก็เหลานีไ้มเคยไดเรยีนอะไรเลยทัง้หองไมมใีครเคยไดยนิเรือ่งการฆาลางเผาพนัธ ุในขณะทีท่กุคนเคยถกูยงิ มคีนทีร่กัเสยีชวีติจากความรนุแรง และสวนใหญกเ็คยตดิคกุหรอืสถานพนิจิ (รวมทัง้เดก็หญงิเชือ้สายกมัพชูาทีบ่อกวา การอยใูนคายผลูีภ้ยักเ็หมอืนคกุนัน่แหละ)

ดวยทกัษะการอานเขยีนงอนแงนเตม็ท ีพวกเขากลบัเชือ่มโยงชวีติจติใจกบัวรรณกรรมทีค่รจูเีลอืกมาใหไดแนบแนน ทกุคนตดิ "บนัทกึของแอนน แฟรงค" งอมแงม ดวยความรสูกึวาเดก็หญงิชาวยวิทีซ่อนตวัจากนาซอียใูนหองใตหลงัคาคนนี ้ เขาใจพวกเขา แมเธอจะตางเผาพนัธ ุและมชีวีติคนละมมุโลกในชวงเวลาทีต่างกนั

พวกเขาเขียนจดหมายถึง เม็ป กีส หญิงชาวดัชทผูชวยซอนแอนน แฟรงคไว และทำในสิง่ทีใ่ครกไ็มอยากจะเชือ่ นัน่คอืรวมแรงรวมใจกนัทำกจิกรรมหาทนุเปนคาเดนิทางใหฮีโรของพวกเขาคนนี้มาเยือนโรงเรียน

มูหลานแอบเอาหูเช็ดน้ำตา เมื่อเห็นหญิงชราผูนี้คอย ๆเกาะแขนเด็กชายผิวดำกระยองกระแยงเขามาในหอง วนิาทนีัน้ มหูลานเชือ่วา พวกเขารแูลววา ถาตัง้ใจจะทำอะไรจรงิ ๆ ไมมอีะไรทีเ่ปนไปไมได

และแลว เสนแบงแหงสีผิวถูกลบไปโดยสิ้นเชิง หองเรียน 203 กลายเปนบานแหงมติรภาพ และเปนทีท่ีเ่ดก็ ๆ สญัญากบัตวัเองวา พวกเขาจะไมยอมไหลลองไปกบัชะตากรรมของผูถูกกดขี่อีกตอไป

"บันทึกของนักเขียนเสรีภาพ" คือรวมบทความที่นักเรียนเหลานี้เขียนในสิ่งที่อยากเขียนโดยไมตองกลัวใครจะมาตัดสิน พวกเขาเลาถึงการตอสูกันระหวางแก็ง เรื่องพอที่ถูกจับไปโดยไรความผิด เรื่องญาติที่ถูกยิงตายตอหนา เรื่องแมที่ถูกซอมทุกวัน รวมไปจนถึงความหวงัและความฝนของตวั คำวา "นกัเขยีนเสรภีาพ" ไดรบัแรงบนัดาลใจจากขบวนการ

"นกัโดยสารเสรภีาพ" ในป 2504 ซึง่กลมุคนหลากผวินีไ้ดทาทายการกดีกนัสผีวิบนพาหนะสาธารณะดวยการเดนิทางรวมกนัเปนหนึง่เดยีว และนิง่รบัการตอตานทีร่นุแรงโดยสนัต ิหนงัสอืไดรบัการถายทอดเปนหนัง Freedom Writers โดยผูกำกับริชารดลากราเวนีส มือเขียนบทชั้นดีเจาของงานอยาง The Bride ofMadison County และ The Horse Whisperers และฮิลารีแชวงคในบท "ครจู"ี

ครจูบีอกวา "การตอสเูพือ่สทิธเิสรภีาพจะตองเริม่ตัง้แตในหองเรยีน ไมใชในศาล" ปจจบุนั เดก็ ๆ (ทีต่อนนีไ้มเดก็แลว)ทุกคนเรียนจบมหาวิทยาลัย พวกเขาและครูจีไดกอตั้งมูลนิธินกัเขยีนเสรภีาพ เพือ่เผยแพรแนวคดิทีเ่กดิขึน้จากหองเรยีนของตนไปยังโรงเรียนมัธยมอื่น ๆ ซึ่งนั่นคือการ "ทำในสิ่งที่ตองทำทำในสิง่ทีถ่กูตอง" เหมอืนกบัทีน่างเมป็ กสีเคยพดูไว

มหูลานนอนฟาดหางคดิถงึโรงเรยีน คร ูและเดก็หนาใส ๆทีม่หาชยั เดก็ชายไทใหญวยั 7 ขวบคนนงึบอกวาเขา "ชอบไปโรงเรยีนมาก ๆ " พอมหูลานถามวา "ทำไมชอบละ" เขากว็า "ชอบ..เพราะผมจะไดกลับบานถูก"

ไดฟงอยางนี้แลวก็หวังวา ทั้งผูใหญและเด็กที่นั่นจะ"ทำในสิง่ทีต่องทำ" อยางไมยอมแพตอไปคะ

กระดิกหางโหฮิ้วมูหลาน

Freedom Writers (2007)บทและกำกบัโดย รชิารด ลากราเวนสี/ นำแสดงโดยฮลิาร ีชแวงค, แพทรคิ เดมปซยี, อเิมลดา สตอนตนั,เอพรลิ แอล เฮอรนานเดซ, เจสนั ฟนน

23

Page 24: Freedom Education Issue

24

"On our first day of high school, we had only three things in common:we hated school, we hated our teacher, and we hated each other."

This is part of a teenager's diary that I sniffed and found. These 14-15year-old kids saw themselves at war. Everyday walking out from home, theyknew they might get shot. Nobody knew how the war started and nobodycared. They only knew they had to protect their people's territories. Theywere warriors and they believed one day they would die warriors.

This isn't the diary of a kind of war we knew well. It's an essay writtenby one of the Wilson High School students, not far from Los Angeles. They,the African Americans, the Latin Americans and the Asian Americans(especially those former Cambodian refugees), lived in suppressedcommunities; they were labeled as 'not worth teaching'. It was assumednone would be able to make it to senior high school -the best they could be,if not a gang member, was a gang leader.

This is a true story. The story starts just two years after the 1992 LAriots, which stemmed from long-time injustice and discrimination againstcolored communities and is most remembered by the impunity of fourpolicemen who brutally beat Rodney King, a black taxi driver. This tragedyand the resulting anger expanded the wounds between people of different'colors' with 53 deaths, over 2,000 injuries and cities burnt and destroyed.

Wilson High School is part of a voluntary integration program thataimed to promote equality and conflict resolution. But whoever walked inthere might shudder upon seeing the children so obviously separatedaccording to the color of their skin: white, black, brown and yellow. Moreover,anger regarding the school's education records being dropped because ofthese 'unteachable' kids and their poor performance, could be felt from allteachers.

I just came back from a school visit in Mahachai, close to Bangkok. Itwas one of very few schools that opened its arms for migrant children tostudy with Thai kids. No, no visible violence there. But I heard a 10-year oldMon kid say that, "Lots of Thai kids in my neighborhood. But they don't careabout me so I don't care about them. Here in school I don't dare to play withThai kids. My mum said if I had a quarrel or a fight with them, there will be noplace on earth for us to live."

Wagging my tail sadly, I became to understand that although peacefulintegration could happen naturally, where wounds have been, a middle personor a healer is probably needed…

In Wilson, one teacher walked in to 'open ways' for children to makechanges for themselves on their own. Erin Gruwell or Ms. G is a 24-year oldwhite woman. All she did was to recognize her students' human dignity, practicepatience for any resistance and attempt to walk into their painful hearts.Most importantly, she made her classroom a 'safe haven' for them to expressthemselves without fear of being judged.

Then, she opened the door that led the kids to the outside world, tolearn to see 'similarities' instead of focusing on 'differences' between humans.

"The white always think that they must receive respect just becausethey are white. Of course, I didn't know you. But I know what you are capableof doing. The white policemen arrested us just because they felt like it. Thewhite did whatever to us just because they felt like it!" I heard a Latin Americangirl shouted at Ms. G. All of them saw that their lives would be better without'the others'.

The turning point was the day a 'brown' boy sent his drawing mockinga black boy's physical appearance around. Ms. G held the paper in her hand,emotionally comparing the way one make 'the others' as something lowerthan humans in the same way the Nazis did to the Jewish people duringHolocaust. There, I guessed the students' minds were busy trying to findwords to argue, but their curiosity won. A boy asked reluctantly, 'What youjust said, the Holocause, what is that?"

Freedom Writers

My tail sank just like Ms. G's heart. These kids had learnt nothing. Noone had heard about the Holocaust, while everyone had been shot at andtheir loved ones had died out of violence. Most had been in prison or juvenilehouse, (including a Cambodian-American girl who said a refugee camp isthe same as prison)

Despite their weak reading skills, these kids found themselves attachedto the literature that Ms. G chose for them. From 'The Diary of Anne Frank',they felt that the Jewish girl who hid herself from the Nazi in a cellar understoodthem, although she was from different race and lived in another part of theworld in a different period of time. The students wrote letters to Meip Gies,the woman who helped hide Anne Frank in her cellar. Then they did what noone would believe; they worked together to organize fundraising activities toget travel expense for their hero to visit the school.

I used my long ears to wipe my tears away, when seeing this oldwoman, escorted by a black boy, walking in the classroom slowly. At thatmoment, I believed, the kids all knew that if they were determined, nothingcould be presumed impossible.

The borderline of color was erased. The classroom became a homeand a place where the students promised to themselves they would not lettheir lives follow the fate of the oppressed any longer.

The Freedom Writers Diary is a collection of these students' essays.They wrote what they wanted to with no fear of being judged. They talkedabout gang fighting, about the dad who was arrested for no crime, about thecousin who was shot in front of their eyes, about the mom who was beateneveryday and about hopes and dreams. The name was inspired from the'Freedom Riders', a movement of diverse peoples who challengedsegregation in public transportation by traveling as one, and took all violentattacks peacefully. The book was made into a film 'Freedom Writers' byRichard LaGravenese - with Hilary Swank as Ms. G.

Ms. G once said that 'the struggle for civil rights must start in theclassroom, not in a court'. I heard that all the freedom writers have nowgraduated from universities. They and Ms. G founded the Freedom WritersFoundation to share the experiences and goals from their class to other highschools. It's just 'Doing what one had to do - do the right thing' as Miep Giesonce told them.

Then, I thought about the school, teachers, and the kids in Mahachai.A 7-year-old Shan boy told me he loved going to school. I asked him, "Really?"He replied, "Yes, so that I know the way back home."

Woof! I hope that both adults and kids there will never give up 'doingwhat they have to do'.

Mulan

Freedom Writers (2007)Screenplay & directed by Richrad LaGravenese from the book'The Freedom Writers Diary: How a Teacher and 150 TeensUsed Writing to Change Themselves And the World Around Themby Erin Gruwell and the Freedom WritersCasts: Hilary Swank, Patrick Dempsey, Imelda Staunton,April L. Hernandez, Jason Finn

Page 25: Freedom Education Issue

25

LAY-YE-SEHKarenni vegetable soup

This time around I paid a visit to a young Karenni chef who has beenresiding in Thailand as a refugee. During the past several years, he hasspent time adjusting to his new life, new town, foreign culture, and themany new ingredients for cooking. It surprised me that this young man,who could speak only minimal Thai language, knew all the correct namesfor vegetables and other ingredients in Thai. He explained that sellersat the market had taught him on a daily basis, "I only pointed a finger tothe vegetable or ingredient I wanted, and they would tell me its name andteach me to pronounce it." The very first Thai words that he used to weavenew-found relationships with the Thai people came from these lessons inthe market.

The science and art of cooking can be easily found in cook books ortelevision programs. Yet for many of us, the basic cooking lessons arelearnt from observing our parents and relatives in the kitchen. This youngKarenni chef is the only man in his circle of friends who cooks. Despite thelife in the refugee camp where nothing can be compared to home, kitchenlessons learnt from his mom continue to remind him of his Karenni identityand have made him 'the man' for all the empty stomachs to call on.

Lay-Ye-Seh looks like normal clear soup but the stock is not as clearas the Chinese style. It is great to sip with spicy chili paste. For the Karenni,a meal would not be complete without chili paste; even a simple mix ofground chili, garlic and salt is a welcome mouth-watering addition.

IngredientsPumpkin, snow peas (tua luntao) and other seasonal vegetablesPork or other meat; or one may skip if you can't find anyRed onion, salt and pepper

Instructions

• Dice pumpkin. Peel whole red onion. Clean and remove pea stems.

• Bring water to a boil, add onion and pork. When it is bubbling, adddiced pumpkin and boil until the pumpkin and onion softens. Addsnow peas and wait until cooked. Add salt and pepper to taste.

เคาะประตูครัววันนี้ไปเยือนพอครัวหนุมชาวกะเรนนีที่ตองระหกระเหินหางบานมาเปนผูลี้ภัยในประเทศไทย หลายปที่ผานมา เขาตองเรียนรูที่จะปรับตัวกับบานเมือง วัฒนธรรม และสวนผสมแบบใหม แมจะพูดไทยไมไดเลยสักคำ เขากลับเรียกชื่อผักหรือเครื่องปรุงเปนภาษาไทยไดถกูตองจนฉนัแปลกใจ พอซกัไซเขากไ็ดความวา "แมคาคนไทยทีต่ลาดสอนใหทกุวนั อยากไดอนัไหนกช็ี ้แลวแมคากจ็ะบอกชือ่ แลวสอนใหเรยีก" คำไทยแรก ๆทีเ่ขาใชสรางสมัพนัธกบัคนไทย กม็าจากบทเรยีนในตลาดนีเ้อง

ศาสตรและศิลปการทำอาหารมีใหคนควาไดจากตำราหนา ๆหรือรายการโทรทศันมากมาย แตพืน้ฐานสำคญัในการหดัทำกบัขาวของเราหลายคน กค็งมาจากการการยนือยใูนครวัแลวคอยเมยีงมองแมหรอืพอครวัแมครวัในบานเหมือนกับพอครัวของเรานี่เอง พอครัวหนุมคนนี้เปนผูชายคนเดียวในกลุมเพื่อนที่ทำกับขาวได แมจะตองมาใชชีวิตในคายผูลี้ภัยที่ดูยังไงก็ไมเหมือนบาน วิชาการครัวที่ไดติดตัวมาจากแมก็ทำใหเขาไมลืมตัวตนคนกะเรนน ีและยงัเปนทีพ่ึง่ของทกุทองหวิไดดวย เล-เย-เสะ หนาตาเหมอืนตมจดื แตไมใสเหมอืนอาหารจนี คนทำบอกวาตมจดืสตูรนีก้นิแกลมน้ำพรกิอรอยนกั สำรบักะเรนนตีองมนี้ำพรกิประจำเสมอ แคตำพรกิ กระเทยีม เกลอืเขาดวยกันก็แซบแลว

เล-เย-เสะตมจืดผักรวมกะเรนนี

เครื่องปรุงฟกทอง ถัว่แขก หรอืผกัอืน่ ๆตามฤดกูาลหม ูหรอืเนือ้สตัวอืน่ ๆ ถาผลูีภ้ยัหาไมไดกไ็มใสกไ็ดหอมแดง เกลอื พรกิไทย

วธิทีำ• หัน่ฟกทองเปนชิน้สีเ่หลีย่มเลก็ ปอกเปลอืกหอมแดงทิง้ไวเปนลกูเด็ดขั้วถั่วแขกเตรียมไว

• ตัง้หมอตมน้ำจนเดอืด ใสหอมแดงลงไป ตามดวยเนือ้หมหูัน่ชิน้พอคำรอจนเดือด

• ใสฟกทองลงหมอ ตมตอจนฟกทองและหอมแดงนิม่ จากนัน้ใสถัว่แขก• รอจนสกุ แลวปรงุรสดวยเกลอืและพรกิไทย

Page 26: Freedom Education Issue

26

ในครรลองสายตา ยงัมเีวลา

ในหวงขณะนั้น ขาพเจาตระหนักขึ้นมาวา หนังสือที่ถือในมือมิไดสิ้นสุดแครปูเลมสีเ่หลีย่มกวางยาวหนา ในขณะทีอ่านเรือ่งตรงหนา สายตาของขาพเจารบัรกูารดำรงอยูของตัวอักษรและลายเสนที่ยังมิไดกลายเปนเรื่องราวของหนาถัดไป รูปทรงคลายยังไมชัดเจน แตก็มิไดไมดำรงอยู จนเมื่อหนานั้นผานครรลองสายตา ขาพเจาก็เชื่อมโยงมันเขากับมโนภาพที่มีอยูในความทรงจำจนตอเนื่องเปนเรื่องราว แลวรูปประโยคและลายลักษณอักษรที่ชัดเจนขึ้นมาในชั่วขณะหนึ่งของการอานก็สลายตัวไปอยางรวดเร็วราวกับดอกไมไฟที่รวงหลน กลับคืนสูความคลุมเครือเหมือนกอนถูกอานสิง่ทีด่ำรงอยคูอืเรือ่งราวทีถ่กัทอขึน้ในความทรงจำ และทิง้รองรอยไวในความรสูกึ

เกาะเลก็ ๆ อยางโอกนิาวาทำใหขาพเจาครึม้อกครึม้ใจอยเูสมอดวยความรสูกึวามทีองทะเลอยใูกล ๆ ในขณะทีก่อนเมฆเคลือ่นเรว็กบัความเปลีย่นแปลงขององศาแสงขาพเจารสูกึวาพระอาทติยตกทีน่ีง่ดงามกวาแหงอืน่ใด ณ เดอืนกนัยายน 2550 รมิหาดทรอปคอลในเมืองกิโนวัน ขาพเจาไดยินเสียงลอยลองขึ้นสูทองฟาของวันที่อากาศแจมใสที่สุดวันหนึ่งในรอบป เสียงที่จะกลายเปนเมฆลองลอยขามคิวชู ที่ราบคันไซไปจนถงึโตเกยีว ขาพเจากำลงัอยทูามกลางผคูนกวาหนึง่แสนหนึง่หมืน่คน ซึง่เหลานี้กำลังประทวงรัฐบาลญี่ปุนที่พยายามจะเขียนขอความเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ 2ในหนงัสอืแบบเรยีนประวตัศิาสตรขึน้ใหม โดยเลีย่งความรบัผดิชอบของกองทพัญีป่นุในการสั่งบังคับใหพลเรือนโอกินาวาฆาตัวตายเสียกอนที่จะถูกทหารอเมริกันจับเปนเชลย กอนหนานี ้แบบเรยีนบางเลมเขยีนวา "กองทพัญีป่นุเอาระเบดิมอืใหพลเรอืน และทำใหพวกเขาฆาตัวตายหมูและสังหารกันเอง" หากรัฐ โดยคณะกรรมการคัดกรองจะเรยีบเรยีงใหมเปน "การฆาตวัตายหมแูละการสงัหารกนัเองเกดิขึน้ในหมพูลเรอืน โดยใชระเบดิมอืทีก่องทพัญีป่นุมอบให" ในขณะทีห่นงัสอืแบบเรยีนบางเลมแกใหมโดยตดัคำวา"ทีก่องทพัญีป่นุมอบให" ทิง้เสยีดือ้ ๆ

ขาพเจาไมตองการ แตไมอาจปฏเิสธ สถานทีท่ีพ่ระอาทติยตกไดงดงามทีส่ดุก็สามารถเปนสถานทีท่ีเ่ศราทีส่ดุ พลเรอืนกวาหนึง่ในสีข่องโอกนิาวาเสยีชวีติในสมรภมูริบการปะทะกันทางบกแหงเดียวในญี่ปุนคราวนั้นคราชีวิตทั้งทหารและพลเรือนกวาสองแสนคน ในวนัทีฝ่นตก ขาพเจาเฝาฟงและนบัเสยีงเมด็ฝนใหครบจำนวน สดบัเสยีงลมและเสยีงตนไมใบหญาเตบิโตชา ๆ ในนยันตาสกุใสและดวงดาว ขาพเจายงัพบความเศรา ผรูอดชวีติจาก "สมรภมูโิอกนิาวา" แหง พ.ศ. 2488 ยนืยนัวากอนทีจ่ะแพสงครามกองทพัญีป่นุบงัคบัใหพลเรอืนฆาตวัตาย ในขณะทีผ่ทูีเ่กีย่วของกบัการทหารของญีป่นุก็พยายามปฏิเสธ การเขียนประวัติศาสตรมิใชเรื่องเพียงคำพูดหรือตัวอักษรที่หากถกูแกไข ตดัทิง้ หรอือาศยัการ "เลนคำ" เพยีงเลก็นอยกไ็มมคีวามสำคญัใด ๆ หนงัสอืแบบเรยีนมใิชเพยีงกระดาษทีใ่หเดก็ ๆ อาน แตเกีย่วของกบัความทรงจำและความรสูกึเกี่ยวของกับเรื่องราวที่จะถักทอขึ้นเปนตัวตน เพราะสิ่งที่อาน ไมไดสิ้นสุดในรูปเลมสีเ่หลีย่ม ในครรลองสายตา มใิชสิน้สดุเพยีงสิง่ทีเ่หน็ แตยงัมกีารซอนทบัของเวลา

ใครคนหนึ่งบอกขาพเจาระหวางการเดินทางวา เธอมิไดเดินทางเพื่อแสวงหาสิง่ใหมมากเทากบัเพือ่จะหนคีวามเศรา เราเชือ่กนัวาหากลมืความทรงจำอนัเจบ็ปวดไดกค็งจะด ีและเรากพ็ยายามทกุวถิทีาง แตในโอกนิาวา ดเูหมอืนความเจบ็ปวดเปนสิง่ทีค่วรจดจำและจดจาร มใิชเพือ่แกแคนหรอืเพือ่ความสาแกใจ แตเพือ่ย้ำเตอืนวา สิง่ที่เปนปฏิปกษตอชีวิตเชนสงครามตองไมเกิดขึ้นอีก

Before our eyes,there is time

At that moment I realized that the book I held in my hands didnot end within the margins of a square of such width, length, andthickness. While I was reading the sentence before my eyes, I wasalso aware of the text and lines of the next page. Their forms werevague, but it does not mean that they did not exist. When I reachedthem, they became focused for a moment. I added them to thecontinuous flow of the story, but the sentences were quicklyscattered. What remained was the stories weaved into my memory;their traces left in my feelings.

A small island like Okinawa makes me feel serene. Its fast-moving clouds, playing with the angles of light, always createstunning sunsets which, I thought, were more beautiful than inanywhere else. In September 2007, at Tropical Beach in GinowanTown, I heard the voices of one of the days that would becomeclouds flying across Kyushu, Kansai plain, to Tokyo. I was among110,000 protesters who came together to express disagreementwith the Japanese governments attempt at rewording the referenceto World War II in school textbooks, sidestepping the responsibilityfor the Japanese military that forced Okinawan civilians to commitsuicide before becoming a prisoner of the American soldiers.Originally, some of the textbooks contained phrases like "theJapanese army gave hand grenades to residents, making themcommit mass suicide and kill each other", but the government'sscreening committee would rearrange it to "Mass suicides andkillings took place among the residents using hand grenades givento them by the Japanese army", while some of the textbooks wouldsimply delete the clause by the Japanese army.

I do not want to admit it, but I cannot deny that a place withsuch breathtaking sunsets can be a place with such sorrow. A quarterof Okinawan civilians were killed in the only land battle that tookplace in Japan during WWII. Survivors of 1945 confirmed that beforedefeat, the Japanese army coerced civilians to kill themselves, whilemilitary-related persons continued to deny it. Writing history is notonly about words or alphabets, which, if edited, deleted, or "word-played" a little bit, may be of little or no significance. School textbooks,however, are not only for children to read but involve memories andfeelings. They relate stories that will be weaved into identities. Whatis read does not end in the book; before the eye, there is not onlywhat we see but also the layers of time.

Somebody once told me that she had traveled less becauseshe wanted to find something new than to escape sorrow. We usuallybelieve that the painful memories are best to be forgotten. But inOkinawa, it seems like pain should be remembered and inscribed,not out of vengeance, but as a reminder that something antitheticalto life, such as war, should never happen again.

ภาพการประทวงจาก http://two--plus--two.blogspot.com/2007/10/okinawans-protest-japans-plan-to-revise.html

Page 27: Freedom Education Issue

27

สวสัดคีรบั เพือ่นไรพรมแดน ตอนนีผ้มจะไดรบัเสรภีาพแลว ผมกำลงัจะไดรับนิรโทษกรรมจากในหลวงของคุณ คุณเปนคนแรกที่ผมเขียนมาบอกขาวนี้ เมื่อผมออกจากเรือนจำไปได ผมจะโทรหาคุณกอนที่จะกลับพมาหรือทำอยางอื่น ตอนนี้เพื่อน ๆที่นี่อยากจะอานนิตยสารตอ คุณจะชวยสงใหเขาไดไหมครบั พวกเขาจะมคีวามสขุมากถาไดอาน และนบัจากนี ้ไมวาผมจะอยูทีไ่หน ผมจะสนบัสนนุพวกคณุตลอดไป หากผมทำอะไรเพือ่เพือ่นไรพรมแดนได ผมคงจะเปนคนทีม่คีวามสขุทีส่ดุ/ซอนายทนุ/เรอืนจำสพุรรณบรุี

Dear Friends Without Borders, Now freedom is coming; I'll soon be awardedamnesty from your great King. You are the first one I wrote to tell that in thevery near future I will be out of prison. When I am out, I will contact you byphone before I go back to my country or do anything. Right here, I havesome friends who would like to continue reading your magazine. Could youplease send it to them? They will be very happy to read it. From now on,wherever I'll be, I will continue to support all of you. If I can do something forFriends Without Borders, I'll be the happiest person in the world./Zaw NaingTun, Suphanburi prison

หากคุณไดมีโอกาสอานหนังสือเลมนี้ อยากใหคุณทราบวา เรายินดีอยางที่สุดที่คุณไดกลับคืนสูเสรีภาพภายนอกแลว และเสียใจ-ใจหายเปนอยางยิง่ เมือ่ทราบวาคณุคงโทรศพัทมาไมเจอเรา แมนบัจากนี ้เพือ่นไรพรมแดนคงไมไดรับจดหมายของคุณที่สงมาอยางสม่ำเสมอตลอด 8 ปที่ผานมาอีกตอไป เราก็เปนสุขที่ไดรับรูวาคำร่ำลาของคุณเปนเพื่อการจากไปสูชีวิตใหมที่เตม็ไปดวยความหวงั เราเชือ่วา หากคณุเปนมติรกบัเพือ่นมนษุยตางชาตพินัธุศาสนา เพศ และความคดิ คณุกค็งจะเปนผทูีม่คีวามสขุทีส่ดุในโลก

If you have a chance to read this issue, I'd like you to know that we are verydelighted to hear about your freedom, and that we are very sorry that youmight be phoning us when we are not here. Although we may not receivemore of your letters - like the way you've been keeping in touch with us forthe past 8 years, we are happy to know that your farewell is for the new start,full with hope. Moreover, if you continue to befriend all humans of diverseraces, nationalities, religions, genders, and thoughts, I believe you will beone of the happiest people in the world.

สวสัดคีรบั ผมสนใจอานหนงัสอืเพือ่นไรพรมแดนมาก แตคณุซอกำลงัจะไดรบัการปลอยตวั และผมคงไมไดอานหนงัสอืของคณุอกี ตอไปชวยสงมาในชือ่ผมไดไหมครบั เพราะผมเชือ่วา หนงัสอืของคณุ สามารถทำใหไทย-พมามคีวามเขาใจกนัและกนัได ผมขอใหทกุทานทีท่ำหนงัสอืนีป้ระสบความสขุ และสมหวังในเจตนารมณของหนังสือนี้นะครับ/นิรุตย/เรือนจำสุพรรณบุรี

Hello, I like reading your magazine very much, but Mr. Zaw will be releasedfrom prison very soon and I'm afraid I won't be able to get your magazine.So, could you please continue sending it to my name? I believe that yourbook is able to create an understanding between us Thais and the peoplesfrom Burma. I wish all the editorial team happiness and for you to achieveyour goal set for this book./Nirut/Suphanburi prison.

ยนิดเีสมอทีจ่ะสงนติยสารใหเพือ่นใหม.. ยนิดเีปนอยางยิง่ทีไ่ดทราบวาหนงัสอืเลมนีม้คีณุคากบัคณุ หวงัวาเราจะไดยนิขาวคราวและความคดิเหน็ของทัง้เพือ่นใหม ๆ ทัง้คนไทยและคนจากพมาทีน่ัน่อกีนะคะ

Of course we will continue sending the magazine to you, our new friend. Weare more than happy to know that this magazine has value to you. Hope tohear more about our new friends, both Thai and Burmese, from there, always.

นิตยสารเพื่อนไรพรมแดนขอเชญิผอูานรวมสงบทความ บทกวีหรอืรปูภาพ เกีย่วของกบัสทิธมินษุยชนคนชายขอบ กลมุชาตพินัธ ุผลูีภ้ยั หรอืแรงงานอพยพเพือ่นไรพรมแดนขอเชญิผสูนใจภาพถายปรนิทขนาด 4 x 6 นิว้ หรอืไฟล

ภาพความละเอยีดไมต่ำกวา 180 พกิเซลล พรอมรายละเอยีดของภาพโดยไมจำกดัหวัขอ สำหรบังานเขยีน กรณุาสงตนฉบบัความยาวไมเกนิ2 หนาครึง่ A4 ฟอนท 14 ทีไ่มเคยตพีมิพทีใ่ดมากอน ตามหวัขอกวาง ๆทีเ่ปดใหตคีวามไดเอง คอื "ผสูรางอาหาร" (หมดเขต 29 ก.พ.) พรอมแจงชื่อจริงและที่อยูที่ติดตอได เจาของผลงานที่ไดรับการตีพิมพจะไดรับคาตอบแทนและของขวญัเลก็ ๆ นอย ๆ โดยบรรณาธกิารขอสงวนสทิธใินการแกไขตดัทอนงานเขยีนตามความเหมาะสม

Invitation

We invite you to share articles/poems/photos relating tohuman rights, marginalized peoples, indigenous peoples, refugeesand migrant workers. Photos with details are accepted all year.Please send a manuscript that hasn't been published and isn'tlonger than 2 A4 page (Times 12) under the theme 'Food producers'(deadline 30/04/08) to us by post or email. The writer/photographer'sreal name and contact address should be attached so that we cansend you a small gift and a little honorarium if selected. The editorreserves the right to edit the selected piece.

Page 28: Freedom Education Issue