Transcript
Page 1: The Behavior of Solid Waste Management in Donyai Villeage ...nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015070.pdf · พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชน

พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง เทศบาลต าบลตระการพืชผล อ าเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธาน ี

The Behavior of Solid Waste Management in Donyai Villeage and don Thap Chang Villeage. Trakan Phuetphon Municipality Trakan Phuetphon Districk

Ubon Ratchathani Province

อมร ตังน1ู อรรถพร ชนะพาห1์* นันทพร สุทธปิระภา2

1ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 2อาจารย์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัอบุลราชธานี อ าเภอเมือง จงัหวดัอบุลราชธานี 34000

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ความเข้าใจ พฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยในโครงการ Zero Waste และเพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะมูลฝอย ระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง ซึ่งกลุ่มตัวอย่างมี จ านวน 310 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ผลการศึกษาพบว่า การรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับโครงการ Zero Waste ภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับปานกลาง ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะของประชาชน ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับสูง พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในโครงการ Zero Waste ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี ส่วนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยในโครงการ Zero Waste ระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง พบว่า ประชาชนมีพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยแตกต่างกัน โดยชุมชนบ้านดอนใหญ่มีพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยสูงกว่าชุมชนบ้านดอนทับช้าง ทุกด้าน

บทน า

เทศบาลต าบลตระการพืชผล ตั้งอยู่ในอ าเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานีมีหน่วยงานที่ให้บริการและจัดการขยะมูลฝอยเพียงแห่งเดียว คือเทศบาลต าบลตระการพืชผล ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในเทศบาล มีปริมาณ 20 ตันต่อวัน โดยเทศบาลเก็บขนขยะใช้รถบรรทุก จ านวน 5 คัน เทศบาลต าบลตระการพืชผล ยังไม่มีศูนย์การก าจัดขยะมูลฝอยในลักษณะรวมศูนย์แนวทางในการแก้ไขปัญหาเรื่องขยะควรมีการรณรงค์ให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจ หรือหาแนวทางในการลดปริมาณขยะโดยการใช้หลักการแยกชนิดของขยะก่อนทิ้งหรือให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องการจัดการขยะและมูลค่าที่ใช้ใน การจัดการขยะโดยผ่านหน่วยงานของรัฐ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาพฤติกรรมของประชาชนในการจัดการขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste )

วัตถุประสงค์

1. เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอย 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย 3.เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะมูลฝอยระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชน บ้านดอนทับช้าง 4. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมจัดการขยะมูลฝอยระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

ผลการวิจัย

0.19

0.058

0.927

0.112 0.094 0.166

0.077

0.928

0.11 0.093

บ้านดอนใหญ่ บ้านดอนทับช้าง

ด้านการคัดแยกขยะ

ด้านความรู้เกี่ยวกับโครงการ Zero Waste

ด้านการลดปริมาณขยะ ด้านการน าขยะกลับใช้ซ้ า ด้านการแปรสภาพและการหมุนเวียนน ากลับมาใช้ใหม ่

0.774

0.200

0.333

0.771

0.192 0.258

บ้านดอนใหญ่ บ้านดอนทับช้าง

พฤติกรรมด้านการลดปริมาณขยะ พฤติกรรมด้านการน าขยะกลับใช้ซ้ า

พฤติกรรมด้านการแปรสภาพและการหมุนเวียนน ากลับมาใช้ใหม่

สรุปผลวิจัย

ภาพที่ 1 การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง

เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ทั้งสองหมู่บ้านมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยไม่แตกต่างกัน

ภาพที่ 2 การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง

เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ทั้งสองชุมชนมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยไมแ่ตกต่างกัน

การรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับโครงการ Zero Waste พบว่า มีการรับรู้ข่าวสารอยู่ในระดับปานกลาง กลาง ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะของประชาชน ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับสูง พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในโครงการ Zero Waste ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี การเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย ทั้งสองชุมชนไม่แตกต่างกัน

ข้อเสนอแนะ

- ควรมีการติดตามโครงการการจัดการขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste) อย่างต่อเนื่อง

อ้างอิง

กองสาธารณะสุขสิ่งแวดล้อมเทศบาลต าบลตระการพืชผล. (2555). การบริหารจัดการขยะแบบชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste). อุบลราชธานี : เทศบาลต าบลตระการพืชผล หัทยา พละพงศ์ และคณะ. (2555 ). ความรู้ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้หลัก 3Rs เทศบาลพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธาน:ี มหาวิทยาลัยราชภัอุบลราชธาน.ี

สุ่มตัวอย่าง สร้างแบบสอบถาม ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ

ความเที่ยงตรง

ทดสอบเครื่องมือ 50 ชุด น าแบบสอบถามไปเก็บ

ข้อมูลจากครัวเรือน จ านวน 310 ชุด

ท าการเก็บรวบรวมแบบสอบถามและตรวจสอบข้อมูล

น าข้อมูลไปวิเคราะห์ผล

Top Related