Download - CMU ART 2

Transcript
Page 1: CMU ART 2

Art Editorบทบรรณาธิการ(2)•

ALUMNI-ศิษยเกาวิจิตรศิลป(2)•

ArtFile วิจิตรศิลปกับรางวัลศิลปาธร(4)•

เรื่องเลาอาจารยวิถี(11)•

TheParadiseofFlowers(6)•

FineArtsLibrary(6)•โครงการจำลองภาพวัดภูมินทร(12)•

ศิลปวัฒนธรรมและกิจกรรมพิเศษ(12)•

Art Mediaภาษาของสื่อใหมสูสื่อศิลปะและการออกแบบ(7)•

อบรมการผลิตสื่อระยะสั้นรุนที่1(12)•

Articleหอศิลปและโลกของคนหัวศิลป(3)•สมองของเราดานซายและดานขวา(4)•ตัวละครชื่อ‘ลางวรรณ’(9)•

Aestheticsรางวัลยูเนสโก:วัดปงสนุกลำปาง(8)•สุนทรียภาพวัดบานกอ(9)•

คณะผูจัดทำ บรรณาธิการบริหาร: สมเกียรติตั้งนโม.กองบรรณาธิการ:อารยาราษฎรจำเริญสุข,ทัศนัยเศรษฐเสรี,วีระพันธจันทรหอม,สุวิทยคิดการงาน,พรพิศเดชาวัฒน,ฝายประสานงาน: สุวิทยคิดการงาน.ฝายการจัดการความรู: วีระพันธจันทรหอม.ฝายศิลป:วรรณชัยวงษตะลาพิสูจน์อักษร:นภดลสุคำวัง,พรพิศเดชาวัฒนฝายเผยแพร:เลขานุการคณะ,ดวงใจมาลีเดชและพนักงานสายสนับสนุนสำนักงานคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหม

Con

tent

s

หนังสือพิ

มพFINEAR

TSฉบับ

ที่2กัน

ยายน

2551

หนังสือพิมพขาวหอศิลปจัดทำขึ้นเพื่อเปนสื่อกลางระหวางกิจกรรมดานการศึกษาศิลปะการวิจัยการบริการและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของคณะวิจิตรศิลปกับบุคคลและสถาบันภายนอกที่สนใจเรื่องคุณคาทางศิลปะและสุนทรียภาพ.ขาวและเนื้อหาขอมูลบทความทุกชนิดที่ปรากฏบนหนังสือพิมพนี้ยินยอมสละลิขสิทธิ์ใหกับสังคมไทยเพื่อประโยชนทางวิชาการ

PU

NK FINE ARTS

คอมพิวเตอรกราฟก(ComputerGraphics)คือภาพกราฟกที่ไดรับการสรางสรรคขึ้นโดยโปรแกรมคอมพิวเตอรซึ่งโดยทั่วไปแลวเปนภาพแทนหรือการจัดการกับขอมูลภาพที่ผลิตขึ้นโดยคอมพิวเตอร.ศัพทคำวา”คอมพิวเตอรกราฟก”ปกติแลวหมายถึงแทบทุกสิ่งที่อยูบนจอคอมพิวเตอรที่ไมใชตัวหนังสือหรือเสียงทุกวันนี้คอมพิวเตอรเกือบทุกเครื่องสามารถสรางงานกราฟกบางอยางไดและผูคนหวังวาจะควบคุมคอมพิวเตอรโดยผานเมาส,ภาพไอคอน(icon),รูปสัญลักษณ,มากกวาการใชแปนพิมพ.นอกจากที่กลาวมาแลวศัพทคำวา”คอมพิวเตอรกราฟก”ยังหมายรวมถึงภาพแทนและการจัดการขอมูลภาพโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร,เทคโนโลยีตางๆที่ถูกนำมาใชในการสรางสรรคและจัดการขอมูลภาพ,สาขาวิชายอยของวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร(sub-fieldofcomputerscience)ที่ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการสังเคราะหเนื้อหาภาพในระบบดิจิตอล ทุกวันนี้ชีวิตสวนใหญของพวกเราตางไดรับผลกระทบจากคอมพิวเตอรและคอมพิวเตอรกราฟกไมวาจะผานจอโทรทัศนหรือบนหนาหนังสือพิมพรวมทั้งปายโฆษณานอกจากนี้เรายังพบเห็นภาพกราฟกเหลานี้ในโรงพยาบาลอาทิเชนรายงานผลและประมวลภาพบนจอคอมพิวเตอรของบรรดาแพทยสาขาตางๆดวยเหตุนี้ภาพคอมพิวเตอรกราฟกจึงรายลอมและเกี่ยวพันกับเราอยางไมอาจหลีกเลี่ยงได.ในโรงเรียนมหาวิทยาลัยสถาบันทางการเงินวงการธุรกิจและอุตสาหกรรมลวนแลวแตใชประโยชนจากภาพคอมพิวเตอรกราฟกดวยกันทั้งสิ้นไมวาจะในรูปการสรางภาพประกอบการเรียนการสอนรายงานตางๆที่แสดงผลออกมาเปนภาพกราฟกเพื่อสื่อสารความเขาใจในสำนักงาน

สาระสำคัญของภาพประกอบสำหรับภาพปกขาวหอศิลป/ขาววิจิตรศิลปฉบับนี้เปนการนำเสนอภาพเสมือนตัวบุคคลvirtualportraitวัฒนธรรมพังคสรางขึ้นจากเทคนิก”คอมพิวเตอรกราฟก”.พังคเปนวัฒนธรรมยอยที่มีรากฐานมาจากพังคร็อค(punkrock)ถือกำเนิดขึ้นจากบรรยากาศของร็อคมิวสิคในชวงกลางและปลายของทศวรรษที่1970ในสหราชอาณาจักร,สหรัฐอเมริกา,แคนาดาและออสเตรเลีย.ขบวนการพังคไดแผอิทธิพลทางวัฒนธรรมไปทั่วโลกแมแตในสังคม

ไทยและพัฒนาไปสูรูปแบบตางๆของบรรดาพังคทั้งหลาย.วัฒนธรรมพังคหมายรวมถึงสไตลทางดานดนตรี,อุดมคติ,แฟชั่น,ทัศนศิลป,วรรณกรรม,และภาพยนตร.พังคยังถูกอางวาเปนแบบฉบับชีวิตและวิถีชุมชนแบบหนึ่ง.ขบวนการพังคมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกับวัฒนธรรมปอปคนเหลานี้ตอตานสังคมบริโภคนิยมและวัฒนธรรมกระแสหลัก

ประวัติความเปนมาวัฒนธรรมยอยพังค(Thepunksubculture)ถือกำเนิดขึ้นมาในสหราชอาณาจักร,สหรัฐอเมริกา,ออสเตรเลียและแอฟริกาใตในราวกลางและปลายทศวรรษที่1970และพังคไดพัฒนาตอมาในรูปแบบที่หลากหลาย.วัฒนธรรมยอยพังคกำเนิดจากปรากฏการณและอิทธิพลที่มีมากอนไมวาจะเปนขบวนการความคิดทางปรัชญาและศิลปะกอนหนานั้นเชนศิลปะสมัยใหมตางๆลวนมีผลตอแนวคิดพังค.นักเขียนจำนวนมาก,หนังสือ,และขบวนการทางวรรณกรรมตางมีความสำคัญในการ

สรางตัวตนขึ้นมาของสุนทรียภาพแบบพังค.สวนพังคร็อคที่มีความหลากหลายทางดานดนตรีกำเนิดขึ้นจากดนตรีประเภทร็อคแอนดโรลลวัฒนธรรมยอยของวัยรุนกอนหนา

อุดมการณของพวกพังคแมวาอุดมการณพังคสวนใหญจะเกี่ยวพันกับอิสรภาพสวนตัวแตหากจะทำความรูจักกับพังคแลวตองเขาใจพังคในฐานะที่เปนการการแสดงออกของชนชั้นแรงงานอยางไมเปนทางการซึ่งตอตานแนวคิดกระแสหลักที่มั่นคงแลวทัศนะของพวกพังคที่มีรวมกันคือจริยธรรมแบบDIYethic(doityourselfethic-ทำดวยตัวคุณเอง),ไมมีการปรับตัวใหลงรอยกับสิ่งใด,มีปฏิกริยาตอสิ่งตางๆอยางตรงไปตรงมา,และไมขายตัวใหกับเรื่องใด(อานตอหนา10)

Facu

lty o

f Fin

e A

rts

Chian

gMaiU

niversity

CG. Computer Graphic 2ฉบับที่สอง

หนังสือพิมพขาวหอศิลป / ขาววิจิตรศิลป ผลิตโดยคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม 50200

Page 2: CMU ART 2

โครงการจำลองภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทรโครงการจำลองภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทรไดรับความรวมมือจากการกระบวนวิชาจิตรกรรมไทยสาขาจิตรกรรมคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหม

โดยอ.ฉลองเดชคูภานุมาตรวมกับนักศึกษาที่กำลังศึกษาอยูเปนผูดำเนินการจำลองภาพดวยเทคนิกสีฝุนผสมสีพลาสติกความเปนมาของโครงการจำลองภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทรสืบเนื่องมาจากรองคณบดีฝายศิลปกรรมฯประสงคใหบริเวณสโมสรนักศึกษาและพื้นที่ดานหนาเปนลานกิจกรรมนักศึกษาโดยจะจัดใหมีการฉายภาพยนตรการบรรยายพิเศษและกิจกรรมเชิงสรางสรรคอื่นๆเพิ่มเติมจากชั่วโมงการเรียนศิลปะตามปกติสถานที่จำลองภาพผลงานจิตรกรรมวัดภูมินทรคือผนังดานหนาสโมสรนักศึกษาซึ่งมีความสูงประมาณ4เมตรยาวประมาณ10เมตรใชเวลารางและจำลองภาพ4สัปดาหเฉพาะวันเสารและอาทิตยซึ่งเริ่มดำเนินการตั้งแตวันที่13กันยายนเปนตนไปผลลัพธที่ไดจากกิจกรรมครั้งนี้คือการอนุรักษศิลปกรรมลานนาและการปลูกจิตสำนึกทางสังคมใหนักศึกษารูจักการนำความรูความสามารถไปสรางคุณประโยชนตอสวนรวมและยังไดฝกการทำงานรวมกันในกิจกรรมสรางสรรคดวย

รับสมัครสมาชิกขาวหอศิลป/ขาววิจิตรศิลปติดตอที่สำนักงานคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหมถนนหวยแกวอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม50200โทรศัพท053-944805,053-211724email:[email protected]

ศิลปวัฒนธรรมและกิจกรรมพิเศษคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหมโดยผูชวยศาสตราจารยศุภชัยศาสตรสาระ

เปดตัวลานกิจกรรมพิเศษลานเสวนาสื่อและภาพยนตรหนาสโมสรนักศึกษาคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหม

กิจกรรมประจำเดือนกันยายน2551พุธที่17กันยายน2551เวลา18.30-20.00น.การบรรยายพิเศษหัวขอKALEIOSCOPEOFFRENCHCONTEMPO-RARYART(MOVEMENTSANDTHINKING)-TAYACSEBASTIEN

พฤหัสบดีที่18กันยายน2551เวลา18.00-21.00น.-เปดลานกิจกรรมโดยรศ.สมเกียรติตั้งนโมคณบดีคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหมเวลา18.00น.ณลานกิจกรรมหนาสโมสรคณะวิจิตรศิลป-รวมเสวนากับผูสรางภาพยนตจากประเทศญี่ปุนโดยTomonariNishikawaรายละเอียดวันที่18 Talkandshowingdocumentationsofmyinstallationworks,plusQ&AIwouldliketotalkaboutAvant-Garde/ExperimentalCinemaatfilmFestival;includingfilmrelatedinstallationworlds.Then,Iwouldliketoshowthedocumentationofmyinstallationworks,including“Building945”whichIinstalledforthisyear’sBerlinale,theBerlinInternationalFilmfestival.BelowisthelistofinstallationworksIwanttoshow(documentationofeachpieceisabout3of5minutes) APinholeBehindFences(2005) PassingFog(2006) Building945(2007)

ศุกรที่19กันยายน2551เวลา18.00-21.00น.ภาพยนตรโดยTomonariNishikawa<[email protected]>รายละเอียดวันที่19 TalkandScreeningsandQ&A BelowisthelistoftheworksIwanttoscreen: Apollo(2003)3min. SketchFilm#1(2005)3min. SketchFilm#2(2005)3min. MarketSteet(2005)5min. SketchFilm#3(2005)3min. SketchFilm#4(2005)3min. SketchFilm#5(2005)3min. ClearBlueSky(2006)4min.

พฤหัสบดีที่25กันยายน2551เวลา19.00น.THESTORYOFMATTHEWBARNEYPRESENTATIONBYKOSITJUNTARATIP

THEORDERfromMattrewBarney’sCremester3FeaturinganoriginalscorebyJonathanBepler

ANINTERVIEWWITHMATTHEWBARNEYAfilmfromMariaAnnaTappeinerDerKoerperalsMattrix-MattrewBarney’sCremaster-Cycle

หญาจะงอกงามขึ้นความวา“ManmussdieAnwesenheitderTotenals

DialogpartneroderDialogstoererakzeptieren.คนเราตองยอมรับการมีอยูของความตายเฉกเชนเปนคูสนทนาหรือคูกวนใจ...

ZukunftentstehtalleinausdemDialogmitdenToten.อนาคตโดยลำพังแลวกอเกิดมาจากการสนทนากับความตาย”นั่นแลวหลายๆครั้งการเปนคนดีเปนเหตุใหหางรสคมๆขมๆขางตนไปเสียใหภาพงานแกะสลักยอนสมัยที่ตั้งนิ่งบนฐานสูงไรแยแสกับบริบทสังคมที่เปลี่ยนไปทั้งเบื้องลางและรายรอบตัวจึง...เปนศิลปนจะดีกวา

ตัวละครชื่อ‘ลางวรรณ’ไดฟนคืนกลับมาใหมในเงื่อนหมายของการรับรางวัลยืนยันถึง‘ตัวบท’ไมวาจะเปนศิลปะหรือวรรณกรรมที่สามารถนำเราไปสูการพลิกไหวของการตีความไดเนืองๆตอตัวละครตัวเดิมและขอเขียนใน20ปที่แลว

ตอจากหนา9

Fine Arts News Arts Court

สื่อศิลปะและการออกแบบสื่อเชิญทานผูที่สนใจเขาฝกอบรมหลักสูตรการผลิตสื่อระยะสั้นณหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรสาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อหอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยเชียงใหม

วัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางทักษะการผลิตสื่ออยางมีประสิทธิภาพในบริบทสังคมยุคดิจิตอล•เพื่อเสริมสรางความคิดสรางสรรคดานการผลิตสื่อบนพื้นฐานการใชวิชาการ•ดานศิลปะและการออกแบบเพื่อประยุกตใชแนวคิดทฤษฎี“สื่อศิลปะและการออกแบบ”ผลิตสื่อสำหรับบุคคล•องคกรและอุตสาหกรรมสื่อไดอยางมีประสิทธิภาพและไดมาตรฐานสากลเพื่อตองการยกระดับมาตรฐานวงการการผลิตสื่อ•

วิทยากรอาจารยชาญขัยพงษพันธ,อาจารยโฆษิตจันทรทิพย,อาจารยวีระพันธ จันทรหอมอาจารยประจำสาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ (MediaArtsandDesign)คณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหม

หลักสูตรการฝกอบรม

วันที่1-3ตุลาคม2551เวลา09.00-16.00น.

การออกแบบเสียง(SoundDesign)สำหรับงานโฆษณา(สปอรตวิทยุ,เสียงประกอบMusicVideo,เสียงประกอบโฆษณาโทรทัศน)

วันที่6-8ตุลาคม2551เวลา09.00-16.00น.

การออกแบบกราฟก(GraphicDesign(การออกแบบโปสเตอร,E-magazine)

วันที่9-11ตุลาคม2551เวลา09.00-16.00น.

การออกแบบเว็บสะสมงาน(WebPortfolio)

วันที่13-15ตุลาคม2551เวลา09.00-16.00น.

การผลิตสื่อวีดีโอ(Audio&Visual)สำหรับงานโฆษณา,

มิวสิควิดีโอและหนังส้ัน

วันที่16-18ตุลาคม2551เวลา09.00-16.00น.

การผลิตสื่อแอนิเมชัน(Animation2D)สำหรับการนำเสนอผลงาน,หนังสั้น,และสื่อโฆษณารณรงค

ทุกหลักสูตรมีเอกสารประกอบการอบรมและอาหารวางระหวางการอบรม•รวมระยะเวลาอบรม18ชั่วโมงตอหลักสูตร•รับผูเขาอบรมจำนวน20คนตอหลักสูตร•อัตราคาอบรม12,000บาทพรอมใบประกาศนียบัตร•

ผูเขาฝกอบรมสำหรับผูมีความรูและทักษะคอมพิวเตอรเบื้องตนไมวาจบสาขา•ใดก็ตามสามารถเขารับการฝกอบรมได

สนใจติดตอสอบถามรายละเอียดไดที่คุณปรัศนียสินพิมลบูรณโทร.053-944846Email: [email protected] www.mediaartsdesign.org

Media Arts and Design Training

ฝึกอบรมหลักสูตรการผลิตสื่อระยะสั้น

12 Arts September 2008

Page 3: CMU ART 2

Editor’sIntroduction

ถอยแถลงบรรณาธิการการวัดผลสำเร็จของศิลปนทุกแขนงคือการไดมี

โอกาสนำเสนอผลงานตอสาธารณชนเพื่อรับความชื่นชมและคำวิจารณจากบรรดาผูดูผูฟงและนักวิจารณทั้งหลายแนนอนกอนที่จะไปถึงจุดนั้นศิลปนยอมผานการฝกปรืออยางเขมขนมีการเรียนรูและการฝกฝนทักษะโดยการศึกษาจากผลงานศิลปะจากศิลปนกอนหนาไมตางอะไรไปจากการทบทวนวรรณกรรม(literaturereview)ของประพันธกร,นักสังคมศาสตร,และนักวิทยาศาสตรทั้งหลาย

อัตลักษณของศิลปนถือเปนลายเซ็น(signature)[อันที่จริงคำวา”ลายเซ็น”นี้สังคมไทยนาจะนำมาจากคำวาlicenceซึ่งหมายถึง”การอนุญาตหรือการยินยอม”มากกวา)หรือลายมือของศิลปนเลยทีเดียวทั้งนี้เพราะลักษณะเฉพาะของสไตลหรือผลงานทางศิลปะจัดเปนสิ่งบงชี้ถึงตัวตนที่ไมเหมือนใครเปนการยืนยันของการมีอยูของบุคคลหรือรสชาติที่แตกตางอันเปนการเพิ่มเติมใหกับพื้นที่ลิ้นสมองไมตางไปจากลิ้นในชองปากของนักชิม

ผลงานวิทยานิพนธศิลปะของนักศึกษาปริญญาโทสาขาภาพพิมพ(ปจจุบันเปลี่ยนเปนสาขาทัศนศิลป)ซึ่งกำลังจัดแสดงในรูปของนิทรรศการศิลปะณหอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยเชียงใหมตั้งแตวันที่๔-๓๐กันยายน๒๕๕๑นี้ถือเปนอีกกิจกรรมหนึ่งซึ่งบรรดานักศึกษาหลังปริญญาตรีคณะวิจิตรศิลปไดนำเสนอผลงานอันมีอัตลักษณสูสายตาของสาธารณชนอันเปนการวัดผลสัมฤทธิ์ของมหาบัณฑิตศิลปนที่จะออกไปรับใชสังคมในดานสุนทรียภาพและคุณภาพชีวิตที่เกี่ยวกับสมองซีกขวาของมนุษย(โปรดอานบทความเกี่ยวกับเรื่องนี้ในหนาถัดไป)

ผูเขียนไดพบกับผูเชี่ยวชาญทางดานศิลปะในวันเปดนิทรรศการฯนี้ซึ่งไดเสนอแนะวา“ผลงานศิลปะที่มีคุณภาพทั้งหลายควรจัดแสดงอีกครั้งที่กรุงเทพฯเพื่อนำเสนอผลลัพธของการเรียนการสอนของคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหมเปรียบเทียบกับสถาบันทางศิลปะในระดับอุดมศึกษาอื่นๆ”คำพูดของผูเชี่ยวชาญดังกลาวแฝงไปดวยความภาคภูมิตอผลผลิตที่มีคุณภาพพรอมจะอวดอางกับสายตาของสาธารณชนโดยทั่วไป

อีกสองงานนิทรรศการที่ผูเขียนไดมีสวนรวมในวันเปดงานถัดมา(๕กันยายน๒๕๕๑)ณศูนยการคาเซ็นทรัลแอรพอรตพลาซาเชียงใหมคืองานแรกเปนนิทรรศการผลงานวิจัย“โครงการแปงขี้เหยื้อหื้อเปนทุนเพื่อลดการเผา

ขยะ”(การเปลี่ยนขยะใหเปนทุน)ซึ่งเปนความรวมมือระหวางคณะวิจิตรศิลป,สถาบันวิจัยสังคม,และคณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเชียงใหมโดยไดมีการจัดงาน“มหกรรมหัตถวิจิตร”นำผลผลิตที่ไดจากชาวบานที่เขารับการอบรมในโครงการฯมาจัดแสดงและจำหนายใหกับผูชม

และอีกงานหนึ่งคือ“นิทรรศการประติมากรรมดอกไมขนาดใหญ”(LeParadisdesFleurs)[TheParadiseof

Flowers-สรวงสวรรคแหงบุปผชาติ](โปรดอานบทความเกี่ยวกับเรื่องนี้ในหนาถัดไป)เปนผลงานศิลปะที่ไดรวมกันสรางสรรคขึ้นมาจากกระบวนวิชาตางๆ๔กระบวนวิชาที่ทำการสอนอยูในคณะวิจิตรศิลปภาควิชาศิลปะไทยโดยผศ.สุนันทารัตนาวะดีเปนแมงานและไดรับความรวมมือจากนักศึกษาศิษยเกาองคกรที่ใหการสนับสนุนจำนวนมาก

ในวันเปดทั้งสองนิทรรศการ,คณะวิจิตรศิลปและหนวยงานที่เกี่ยวของไดรับเกียรติจากทานอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหมศ.ดร.พงษศักดิ์อังกสิทธิ์มาเปนประธานในพิธีเปดและยังไดรับเกียรติจากรศ.นพ.นิเวศนนันทจิตคณบดีคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหมรวมทั้งแขกผูมีเกียรติจำนวนมากมารวมเปดงานดวยทั้งสองทานไดใหความสนใจอยางยิ่งพรอมซักถามถึงรายละเอียดตางๆและกิจกรรมที่จัดแสดงตอสายตาสาธารณชนเปนชุดๆในวันเปดงานกวา2ชั่วโมง

ขอกลับมายังหนังสือพิมพขาวหอศิลป/ขาววิจิตรศิลป(ฉบับที่๒)สำหรับเรื่องราวในเลมซึ่งไดมีการเพิ่มเติมเรื่อง“ศัพทนิยามทางดานศิลปะ”โดยกองบรรณาธิการ”ศัพทศิลปะ”นอกจากนี้ยังไดมีการนำเสนอผลงานที่คณาจารยหลายทานในคณะวิจิตรศิลปไดรับรางวัลในระดับโลกและระดับชาติเชนรางวัลจากUNESCOและรางวัลศิลปาธรของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยกระทรวงวัฒนธรรม.อีกทั้งยังมีถอยแถลงของผูไดรับรางวัลดังกลาวตลอดรวมถึงเนื้อหาสาระที่ยังคงเพิ่มเติมหมวดหมูความรูความเขาใจทางดานศิลปะใหกับนักศึกษานักวิชาการและสาธารณชนขึ้นเรื่อยๆ

อาทิความรูเกี่ยวกับหอศิลปและคนหัวศิลป,หลักทฤษฎีการเขียนรูปดวยสมองซีกขวา,จิตรกรรมฝาผนังวัดบานกออันเปนคุณลักษณเฉพาะที่โดดเดนของสุนทรียภาพแบบลานนา,การแนะนำโครงการลานกิจกรรมนักศึกษาเพื่อเพิ่มเติมเสริมแตงโลกของความรูที่พนไปจากชั่วโมงเรียนตามปกติและการเปดโอกาสใหนักศึกษาพบปะกับศิลปนนักสรางสรรคระดับชาติและระดับโลกดวย,สุดทายไดมีการเปดตัว”โครงการจำลองภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร”ซึ่งคณาจารยสาขาจิตรกรรมไดรวมกับนักศึกษากระบวนวิชาจิตรกรรมไทยสรางสรรคและสังเคราะหขึ้น

แนนอนทั้งหมดนี้เปนความคิดจากผูจัดทำหนังสือพิมพฯฝายเดียวที่จะสรรหาสิ่งที่คิดวาดีงามมานำเสนอซึ่งยังคงตองการรับการตอบสนองในแบบสองทางจากผูอานดวยเหตุนี้จึงขอเชิญชวนใหผูรับสื่อทั้งหลายโปรดใหคำแนะนำติชมมายังกองบรรณาธิการ”ขาวหอศิลป/ขาววิจิตรศิลป”ไดที่สำนักงานคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหมถนนหวยแกวอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม50200หรือสงจดหมาย อิเล็กทรอนิกสไปที่[email protected]

รศ.สมเกียรติตั้งนโมบรรณาธิการบริหารขาวหอศิลป/ขาววิจิตรศิลปคณบดีคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหม

ALUMNI-ศิษยเกาวิจิตรศิลป

ผลงานวิทยานิพนธศิลปะของนักศึกษาปริญญาโทสาขาภาพพิมพ(ปจจุบันเปลี่ยนเปนสาขาทัศนศิลป)

ซึ่งกำลังจัดแสดงในรูปของนิทรรศการศิลปะณหอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม

มหาวิทยาลัยเชียงใหมตั้งแตวันที่๔-๓๐กันยายน๒๕๕๑

วรรณชัยวงษตะลา

วรรณชัยวงษตะลาศิษยเกาสาขาวิชาประติมากรรมคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหมรุนปพ.ศ.2540นับเปนคนหนึ่งที่เดินทางผานความฝนเปลวแดดและแสงไฟมากวา11ปจนกระทั่งกลายมาเปนเจาของบริษัทThaiInteractiveStudioหรือThaiiS(ไทยอิส)บริษัทที่มีความเชี่ยวชาญดานการออกแบบเว็บไซตและสื่อใหมประเภทอินเตอรแอคทีฟระดับชาติ

วรรณชัยเริ่มตนจากการมีจุดประสงคจะเปนประติมากรและศรัทธาในอาจารยผูสอนวิชาดังกลาวความฝนนั้นใกลจะเปนความจริงมากเมื่อเขาผลิตผลงานคุณภาพออกมาในทางประติมากรรมที่ไมเหมือนใครแตเปนเพราะอาจารยผูที่เขาศรัทธาซื้อเครื่องคอมพิวเตอรแม็คมาตัวหนึ่งทำใหเขาไดมีโอกาสจับตองมันเขาจากนั้นเสนทางสายประติมากรจึงเปลี่ยนไปและมันแปรเปลี่ยนชีวิตของเขามาจนกระทั่งทุกวันนี้

ปจจุบันวรรณชัยทำหนาที่เปนที่ปรึกษาดานการออกแบบสื่อใหกับหลากหลายองคกรซึ่งเปนที่รูจักเชนรวมงานกับบริษัทคิงเพาเวอรมาเก็ตติ้งแอนดเมเนจเมนทจำกัดในโครงการออกแบบและจัดทำIn-flightCatalogueของสายการบินไทย,โครงการE-Radioของคณะการสื่อสารมวลชนมหาวิทยาลัยเชียงใหม,การพัฒนาCRM(CustomerRelationshipManagement)WebApplicationใหกับหลากหลายองคกรชั้นนำในอุตสาหกรรมทองเที่ยวภายในประเทศ,งานออกแบบและพัฒนาระบบเว็บไซตของแบรนดดังเชนHondaและFlynowรวมทั้งการพัฒนาสื่อE-Learningใหกับอีกหลากหลายโครงการและองคกรทั้งภายในประเทศและตางประเทศ

นอกจากนี้ยังไดทำหนาที่เปนอาจารยพิเศษในหลักสูตรสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหมโดยสอนเกี่ยวกับVisualDesignและInformationDesignและพัฒนาโครงการที่มีเปาหมายในการลดขอมูลขยะที่กำลังเพิ่มปริมาณขึ้นอยางรวดเร็วในปจจุบันนี้และมีแนวโนมวาขอมูลขยะเหลานี้จะมีปริมาณเพิ่มขึ้นอยางมหาศาลพรอมกับนำมาซึ่งการลมสลายของสังคมออนไลนในอีกไมกี่ทศวรรษนี้วรรณชัยจึงไดริเริ่มโครงการTrustedInformationGatewayขึ้นมาภายใตแนวคิด“GrowtheTrustedCyberculture”ในลักษณะSocialInteractiveเพื่อเพิ่มปริมาณขอมูลที่เปนประโยชนใหกับสังคมออนไลน

พวกเราอาจจะฝนอยางหนึ่งแตตองมาทำอีกอยางหนึ่งอยางไรก็ตามนั่นมิไดหมายความวาคำพูดของAlbertEinsteinที่วาImaginationismoreimportantthanknowledge...ทำใหเรื่องนี้ขัดแยงกันอันที่จริงแลวความฝนยังมีความสำคัญมากเพียงแตวามันไมใชความฝนเดิมๆแตเปนฝนใหมๆอันไมสิ้นสุดอยูที่ขอบของกระโหลกกะลานั่นเอง

จากความฝนและจินตนาการที่มีพื้นฐานบนความเปนไปได

2 Arts September 2008

Page 4: CMU ART 2

Article

นิทรรศการประจำเดือน กันยายน-ตุลาคม 2551 เดือน นิทรรศการ พื้นที่

SEPTEMBER20088 1-25ก.ย.51 ศิลปะของอาจารยและนักศึกษาสาขาวิชาศิลปศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ ชั้น1ดานหนา

9 4-28ก.ย.51 วิทยานิพนธระดับบัณฑิตศึกษาสาขาภาพพิมพ(วจศ.) ชั้น1ดานหลังหองเล็กและชั้น2ทั้งหมด

10 12ก.ย.51 สัมมนาภาควิชาภาพพิมพและแสดงมุทิตาจิตแดผศ.สมพรรอดบุญ โรงละครและบริเวณสนามหญา

11 27-28ก.ย.51 สัมมนาวิชาการนักศึกษาป.โทสาขาจิตรกรรมคณะวิจิตรศิลป์มช. ชั้น1ดานหนาและโรงละคร

OCTOBER200812 1–31ต.ค.51 รักษสิ่งแวดลอมความพอเพียง ชั้น1ดานหลัง

13 6-31ต.ค.51 ศิลปะเด็กโลก ชั้น1ดานหนา

14 11–18ต.ค.51 งานวิปัสสนากรรมฐาน(กำหนดการนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลง) หองเล็กชั้น1

15 23ต.ค.–23พ.ย.51 งานคณาจารยภาควิชาภาพพิมพฯคณะวิจิตรศิลปมช. หองเล็กและชั้น2ทั้งหมด

ศตวรรษที่17–18ในยุโรปคือชวงเวลาแหงความคึกคักที่มนุษยตื่นตัวกับความสามารถในการใชเหตุผลเราเรียกชวงเวลานี้วายุคสวาง(AgeofEnlightenment)การใชเหตุผลทำใหนักคิดในชวงเวลานี้รูสึกถึงความมีศักดิ์ศรีของความเปนคน(DignityofMan)อันนำมาซึ่งเสรีภาพในการปลดปลอยปจเจกชนจากความไมรูและนำไปสูการประดิษฐคิดคนเครื่องมือและเทคโนโลยีรูปแบบตางๆที่ใชในการเปดเผยความจริงซึ่งซอนตัวอยูเบื้องหลังปรากฏการณดวยหลักคำอธิบาย(Explanation)มนุษยสามารถควบคุมความจริงและในที่สุดหาประโยชนจากความจริงที่ตนคนพบ

ทามกลางบรรยากาศในการแสวงหาการทดลองและการประดิษฐคิดคนเครื่องมือของการพิสูจนเชิงเหตุผลในศตวรรษที่17–18นี้แนวคิดพิพิธภัณฑไดถือกำเนิดขึ้นTheMuseoSacroในโรม(1756),TheBritish Museumในลอนดอน(1759),TheUffiziGalleryในฟลอเรนซ(1765),TheBelvederePalaceofthe Habsburgmonarchsในเวียนนา(1781)และTheLouvreMuseumในปารีส(1793)

พิพิธภัณฑรุนแรกๆเหลานี้เปนสถานที่แสดงของสะสมของบรรดาเหลาขุนนางและราชวงศเกาในยุโรปคำวา“พิพิธภัณฑ”(Museum)มาจากรากศัพทในภาษาลาตินคือ“Museum”และ“Mouseion”ในภาษากรีกซึ่ง

เปนการผสมกันของสองคำคือ“Muses”(ธิดาทั้ง9ของเทพเจา Zeus)และคำวา“Mnemosyne”ซึ่งแปลวาความทรงจำ (Memory)เทพMuses9องคตามปกรณัมกรีกมีความเชี่ยวชาญในศิลปะเฉพาะดาน–ดนตรีบทกวีเตนรำประวัติศาสตรนาฏศิลปดาราศาสตรละครฯลฯซึ่งตางใหแรงบันดาลใจกับเทพApolloผูขับเคลื่อนการสรางสรรคศิลปะประเภทPlasticArt(หมายถึงศิลปะที่สามารถจับตองไดอยางเปนรูปธรรมดวยการมองเห็นเชนจิตรกรรมประติมากรรมภาพพิมพฯลฯ)ในศิลปะสมัยใหมในเวลาตอมา

ซึ่งเมื่อสำรวจดูรากศัพทของคำวา“Museum”ซึ่งประกอบขึ้นดวยคำ2คำดังกลาวขางตนพิพิธภัณฑ(Museum)ทำหนาที่เปนพื้นที่ของการระลึกถึง(Reminder)ความทรงจำของพัฒนาการของอารยธรรมมนุษยผานรูปแบบและสวนหลงเหลือของศิลปวัตถุจากอดีตที่มาจากหลากเวลาและพื้นที่พิพิธภัณฑทำหนาที่ในฐานะพื้นที่ของการศึกษาเหตุการณและความทรงจำดังกลาวขางตนซึ่งชวงเวลาในศตวรรษเดียวกันนี้แนวคิดการศึกษาอดีตที่เรียกวา “ประวัติศาสตร”ก็ถูกพัฒนาเปนคูขนานไปดวยพรอมกัน

ความพยายามในการปะติดปะตอเรื่องราวเหตุการณในประวัติศาสตรผานการเรียงลำดับของเวลาและการจัดจำแนกหมวดหมูของวัตถุตามยุคสมัยเพื่อประโยชนในการศึกษาที่เกิดขึ้นในพิพิธภัณฑยุคแรกนั้นมีความสอดคลองกับสิ่งที่เกิดขึ้นในหองแหงความฉงน (WanderRooms)หรือCabinetofCuriositiesซึ่งเปนหองของการจัดเก็บระเบียนสารและตัวอยางวัตถุจากธรรมชาติทั้งพืชกอนหินแมลงปะการังสัตวประเภทตางๆโดยมีการจัดจำแนกแยกแยะหมวดหมูไวตามลักษณะทางกายภาพและสายพันธุตามแนวคิดและกรอบความเขาใจในวิทยาศาสตรธรรมชาติ(NaturalSciences)ชวงตน

การแบงวงศ(Domain)ตามระเบียบการจำแนกหมวดหมูของตัวอยางวัตถุจากธรรมชาติตามสำนึกวิทยาศาสตรธรรมชาติในชวงเวลานี้มีบางสิ่งซึ่งรวมกันโดยฐานความเขาใจเดียวกันกับความเขาใจเรื่องการแบงลำดับเวลาและพัฒนาการของเหตุการณที่เกิดขึ้นในความเขาใจเรื่องประวัติศาสตรและการจัดลำดับการแสดงหองนิทรรศในพิพิธภัณฑยิ่งไปกวานี้ภายใตสำนึกเดียวกันทำใหเกิดความเขาใจและความรูเฉพาะวงศ(Domain)และเฉพาะชวงเวลา (Time)ที่สามารถถูกศึกษาแยกเฉพาะออกเปนประเภท(หินคนสัตวพืชแมลงปะการังฯลฯ)และแยกเฉพาะออกเปนชวงเวลา (กรีกโรมันยุคกลางเรนาซองซตฯลฯ)โดยมีผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานของวัตถุและเวลาทางประวัติศาสตรที่ถูกแบงออกเปนชวงๆดังกลาวตามสำนึกของการแบงอาณาเขตของการศึกษา(AreasofStudy) จนถึงเปนการแบงงานกันทำ(DivisionsofLabor)ของคนในศตวรรษหลังๆถัดมา

แรงปรารถนาในการสรางคำอธิบายที่เปนองครวม(Wholeness)ของมนุษยที่มีตอคำถามของความสัมพันธระหวางมนุษยธรรมชาติโลกจักรวาลและสิ่งลี้ลับตางๆนั้นไมใชเรื่องใหมหากแตความพยายามในการสรางคำอธิบาย(Explanation)โดยตัดแบงโลกออกเปนสวนๆแยกยอย(Fragmentation)และทำการแยกประเด็นศึกษาและอาณาเขตของศึกษาโดยคาดหวังวาสักวันหนึ่งจะคนพบชิ้นสวนของความรูครบถวนและสามารถตอเปนภาพองครวมของความเขาใจอีกครั้งนั้นเพิ่งเกิดขึ้นในศตวรรษที่17–18นี้เอง

เดิมศิลปวัตถุถูกจัดแสดงรวมกับวัตถุทางประวัติศาสตรอื่นๆในพิพิธภัณฑแตหลังจากการเกิดขึ้นของศิลปะสมัยใหมในชวงปลายศตวรรษที่18และเริ่มพัฒนาเปนศาสตรเฉพาะเรื่อยมาจนถึงกลางศตวรรษที่19หองแสดงนิทรรศการถูกตระเตรียมใหมีพื้นที่มากขึ้นในพิพิธภัณฑเดิมและกลายมาเปนพิพิธภัณฑทางศิลปะ (ArtMuseum)โดยเฉพาะขึ้นภายหลังทั้งนี้ยังคงสถานะของสำนึกการจัดเรียงลำดับพัฒนาการเชิงประวัติศาสตรของแนวคิดรูปแบบและลัทธิทางศิลปะตางๆเชนเดียวกับที่เกิดขึ้นกับแนวคิดพิพิธภัณฑในชวงตนๆโดยยังทำหนาที่เปนพื้นที่ของการศึกษาสืบคนของศิลปะโบราณและปจจุบันโดยคาดหวังถึงการตอยอดและดำเนินตอ (Progress)ของศิลปะที่จะเกิดขึ้นในอนาคตสำนึกเชนนี้ถูกทำใหเปนรูปธรรมผานการจัดแผนผังพื้นที่ของพิพิธภัณฑการจัดทางเดินแบบเรียงลำดับและความเขาใจเรื่องเวลาที่วิ่งเปนเสนตรง(Linear)จากอดีตปจจุบันไปสูอนาคตรวมถึงการวางลำดับขั้นความสำคัญ

จากพิพิธภัณฑถึง...

ART MUSEUM

หอศิลป์ และโลกของคนหัวศิลป์

ทัศนัยเศรษฐเสรี

อานตอหนา8

Arts September 2008 3

Page 5: CMU ART 2

Article

RIGHT SIDEYourBrain:TheRightandLeftofItFrom:DrawingontheRightSideoftheBrainby:Dr.BettyEdwards

คนที่มีความคิดสรางสรรคคือคนซึ่งสามารถจัดการกับขาวสารขอมูลในหนทางใหมๆไดเปนอยางดีนักประพันธจัดการกับคำตางๆสวนนักดนตรีเรียบเรียงตัวโนตศิลปนจัดการกับผัสสะตางๆทางสายตาคนที่ทำงานศิลปะทั้งหลายตางตองการความรูบางอยางในเชิงเทคนิคในงานอาชีพของพวกเขาคนเหลานี้แตละคนที่มีความคิดสรางสรรคอาศัยสหัชญาณ(ความรูที่ไมผานกระบวนการเหตุผล)ทำใหเกิดความเปนไปไดในการเปลี่ยนแปลงขอมูลธรรมดาสามัญไปเปนการสรางสรรคสิ่งใหมๆเหนือขึ้นไปจากการเปนเพียงวัตถุดิบเฉยๆเทานั้น

คนที่มีความคิดสรางสรรครำลึกและจดจำไดถึงความตางระหวางกระบวนการขอมูลสองอยางที่มารวมกันและเปลี่ยนแปลงขอมูลเหลานั้นไปในเชิงสรางสรรคการคนพบเมื่อไมนานมานี้เกี่ยวกับสมองของเราวามันทำงานอยางไรไดเริ่มที่จะใหความสวางในเรื่องเกี่ยวกับกระบวนการสองชนิดมันทำใหเราทราบถึงสมองสวนบนสองดานของเราซึ่งเปนขั้นตอนที่สำคัญมากในการทำหนาที่ปลดปลอยศักยภาพแหงการสรางสรรคของมนุษยออกมา

งานวิจัยในเรื่องสมองของมนุษยเมื่อไมกี่สิบปที่ผานมาไดขยายขอบเขตของมันออกไปอยางกวางขวางอันเกี่ยวของไปถงึทฤษฎีตางๆเกี่ยวกบัธรรมชาติแหงความสำนกึของมนษุยการคนพบดังกลาวสามารถนำไปใชไดโดยตรงกับเรื่องราวของความสามารถในเชิงสรางสรรคที่เปนอิสระของมนุษย

ทำความรูจักกับสมองสองดานของเรา(Gettingtoknowbothsidesofyourbrain)

หากเราเคยเห็นภาพสมองของมนุษยสมองของมนุษยนั้นคลายคลึงกับผลของวอลนัทแบงครึ่งเปนสองซีกเทากันทั้งคูปรากฏวามีลักษณะคลายกันคือมีลักษณะเปนลอนสมองขดงอไปงอมาแบงครึ่งกลมเทาๆกันในจุดเชื่อมตอตรงกลางทั้งสองสวนถูกเรียกวา“ซีกซายและซีกขวา” (Lefthemisphere–righthemisphere)

ระบบประสาทของมนุษยไดรับการเชื่อมตอกับสมองในลักษณะที่ตรงขามกันสมองซีกซายควบคุมรางกายสวนดานขวาสวนสมองซีกขวาควบคุมรางกายสวนดานซายยกตัวอยางเชนถาหากวาเราไดรับบาดเจ็บโดยอุบัติเหตุหรือถูกทุบจนสมองซีกซายของเราไดรับความเสียหายรางกายของเราดานขวาจะไดรับผลกระทบอยางรุนแรงตอกรณีดังกลาวและในทางกลับกันหากเราถูกทุบจนสมองซีกขวากระทบกระเทือนรางกายสวนซีกซายของเราทั้งหมดก็จะไดรับผลสะเทือนเชนกันทั้งนี้เพราะเนื่องจากวาเสนประสาทที่กลับขางกันนั่นเอง

สมองสองขาง(Thedoublebrain)ในสมองของสัตวตางๆน้ันสวนของสมองใหญ(cerebral)

(ทั้งสองซีกของสมอง)โดยสาระแลวเหมือนกันทั้งสองดานหรือทำหนาที่สมมาตรกัน(symmetrical)อยางไรก็ตามสำหรับมนุษยนั้นสวนของสมองใหญ(ทั้งสองซีก)ไดพัฒนาขึ้นมาอยางไมเทาเทียมกันหรืออสมมาตร(asymmetrical)ในเรื่องหนาที่ของสมอง.ในขอนี้ผลที่เราสังเกตเห็นไดมากที่สุดจากภายนอกของความไมเทากันเกี่ยวกับสมองของมนุษยก็คือความโนมเอียงในการใชมือขางหนึ่งมากกวาอีกขางหนึ่งนั่นเอง

ในอดีตประมาณ150ปที่ผานมาหรือราวนั้นนักวิทยาศาสตรทราบวาหนาที่ของการใชภาษาและความสามารถที่สัมพันธเกี่ยวกับภาษาสวนใหญแลวตั้งอยูในสมองสวนซีกซายของแตละคนเปนหลักราวๆ98เปอรเซ็นตเปนผูที่ถนัดขวาและมีจำนวนเพียง2หรือ3เปอรเซ็นตเทานั้นที่ถนัดซายความรูเกี่ยวกับสมองซีกซายที่มีความเชี่ยวชาญชำนิชำนาญทางดานการทำหนาที่เกี่ยวกับภาษาสวนมากไดรับทอดมาจากการสังเกตผลตางๆของสมองที่ประสบอุบัติเหตุหรือไดรับอันตรายนั่นเอง.มีตัวอยางที่คอนขางชัดเจนเกี่ยวกับการกระทบกระเทือนของสมองซีกซายจะเปนมูลเหตุแหงความสูญเสียความสามารถในการพูดไปในขณะที่การกระทบกระเทือนที่รุนแรงเทาๆกันของสมองซีกขวาจะไมกอใหเกิดผลอยางเดียวกันนี้

ทั้งนี้เพราะการพูดและภาษามีสวนที่เชื่อมตอกับความคิดเหตุผลอยางใกลชิดนั่นเองและหนาที่ของสมองชั้นสูงนี้ไดจัดใหมนุษยตางไปจากสัตวชนิดอื่นๆ.ในคริสตศตวรรษที่19นักวิทยาศาสตรกลาววาสมองซีกซายเปนสมองสวนสำคัญมันครอบงำหรือเปนซีกหลัก;ในขณะสมองซีกขวามือเปนสวนรอง(subordinate)หรือเปนซีกที่สำคัญนอยกวาทรรศนะโดยทั่วไป

เชนวานี้มีอิทธิพลอยูมาจนกระทั่งเมื่อไมนานมานี้เองซึ่งถือวาสวนครึ่งดานขวาของสมองนั้นเปนดานที่กาวหนาและวิวัฒนาการมานอยกวาสมองครึ่งดานซายมันเปนหนึ่งในคูของสมองที่เปนใบซึ่งถือวาเปนความสามารถในระดับต่ำและถูกชี้นำและดำเนินไปตามสมองซีกซายที่เปนคำพูด(verbal)

เปนเวลานานที่การศึกษาทางดานประสาทวิทยาไดดำเนินไปในเสนทางนี้และไมเคยทราบมากอนเลยจนกระทั่งเมื่อไมนานมานี้ไดมีการเพงความสนใจไปยังเรื่องของระบบเสนประสาทใหญซึ่งประกอบดวยเสนใยประสาทนับลานๆที่เชื่อมตอสลับกับสมองใหญทั้งสองซีกเสนสมองที่เชื่อมตอกับสวนสมองอันนี้เรียกวาcorpuscallosum(แถบเสนใยสีขาวที่เชื่อมกับสมอง)

เนื่องจากจำนวนที่มากมายของมันเสนใยของสมองจำนวนมหึมาและตำแหนงที่ตั้งจุดยุทธศาสตรเปนจุดที่เชื่อมตอของสมองทั้งสองซีก.สวนของcorpuscallosumจึงไดใหรูปลักษณเกี่ยวกับโครงสรางภาวะที่สำคัญทั้งหมดขึ้นมาที่ยังคงเปนปริศนาและเรื่องที่นาฉงนสนเทหอยูเทาที่มีหลักฐานซึ่งพอจะหาไดบงชี้วาcorpuscallosumอาจถูกตัดหรือพรากออกมาอยางสมบูรณโดยปราศจากผลของการสังเกตที่มีนัยยะสำคัญโดยผานการศึกษาจากสัตวที่นำมาทดลองชุดหนึ่งในชวงระหวางทศวรรษที่1950ซึ่งสวนใหญไดปฏิบัติการในหองทดลองที่สถาบันเทคโนโลยีแหงแคลิฟอรเนีย(CaliforniainstituteofTechnology)โดยRogerW.SperryและนักศึกษาของเขาอาทิRonaldMyers,ColwynTrevarthenและคนอื่นๆไดรวมทำการทดลอง

การทดลองไดทำใหทราบถึงหนาที่หลักของcorpuscallosumวาเปนตัวที่ทำหนาที่เตรียมการติดตอระหวางสมองทั้งสองซีกและเปนตัวที่อนุญาตใหมีการสงผานเรื่องราวของความทรงจำและการเรียนรูยิ่งไปกวานั้นมันไดรับการพิจารณาวาถาหากเสนใยประสาทที่เชื่อมตออันนี้ถูกตัดไปสมองทั้งสองซีกจะยังคงทำหนาที่ของมันตอไปอยางอิสระซึ่งอธิบายไดในสวนที่มันจะไมกอใหเกิดผลอันใดตอภาระหนาที่และพฤติกรรมของสัตว

ในชวงระหวางทศวรรษที่1960นั้นไดมีการขยายการศึกษาอยางเดียวกันนี้ไปสูคนไขที่ไดรับการผาตัดระบบประสาทซึ่งไดทำใหมีขอมูลที่กวางขวางออกไปเกี่ยวกับหนาที่ของเสนใยประสาท corpuscallosumและไดเปนมูลเหตุใหกับนักวิทยาศาสตรเปนขออางยืนยันเกี่ยวกับการปรับปรุงทัศนะเกี่ยวกับสมรรถนะที่สัมพันธกันของซีกสมองของมนุษย:ซึ่งสมองทั้งสองซีกนั้นมีความเกี่ยวพันกันในเรื่องเกี่ยวกับหนาที่ทางการรับรูขั้นสูงซึ่งแตละซีกสมองมีความชำนาญพิเศษในทางตรงกันขามกันแตเสริมกันใหสมบูรณ(complementaryfashion)สมองทั้งสองซีกมีวิธีการทำงานที่ตางกัน(differentmodes)และมีความสลับซับซอนสูงมาก

ทั้งนี้เพราะการสัมผัสรับรูที่แปรเปลี่ยนไปนี้ไดครอบคลุมอยางสำคัญไปถึงการศึกษาในเรื่องทั่วๆไปและสำหรับการเรียนรูเกี่ยวกับการวาดเสน(learningtodraw)ดวยโดยเฉพาะในที่นี้จะไดอธิบายถึงผลงานวิจัยบางชิ้นอยางสั้นๆโดยสังเขปซึ่งมักจะมีการอางอิงเสมอเกี่ยวกับการศึกษาตางๆทางดานการแบงแยกสมอง(the“split-brain” study)ผลงานวิจัยเหลานี้สวนใหญแลวกระทำกันที่Caltechหรือที่ CaliforniainstituteofTechnologyโดยSperryและสานุศิษยของเขาอยางเชนMichaelGazzaniga,JerryLevy,ColwynTrevarthen, RobertNebes,และคนอื่นๆ

ในการคนควานี้มีศูนยกลางอยูที่คนกลุมเล็กๆที่ตองการทราบเรื่องเกี่ยวกับการผาแยกสมองหรือการศัลยกรรมตัดเอาสวนตอของสมองของคนไขออกพวกคนไขเหลานั้นหลังจากที่ถูกผาตัดแลวจะไรความสามารถโดยเกิดภาวะผิดปกติของระบบประสาทกระทันหัน (คลายอาการของคนเปนโรคลมบาหมู)ซึ่งอันนี้เกี่ยวกับสมองสองซีกของ

รางวัลศิลปาธรประจำป2551ความเปนมา

สำนักงานศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยกระทรวงวัฒนธรรมมีบทบาทในการสงเสริมสนับสนุนและเผยแพรกิจกรรมสรางสรรคงานศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยของไทยเพื่อเพิ่มพูนปญญาและประยุกตใชในสังคมมาอยางตอเนื่องรางวัล“ศิลปาธร”เปนรางวัลที่อยูภายใตโครงการสรรหาศิลปนดีเดนรวมสมัย

รางวัล“ศิลปาธร”ซึ่งเปนภารกิจและความรับผิดชอบของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยกระทรวงวัฒนธรรมเริ่มดำเนินการครั้งแรกในปพ.ศ.2547โดยกำหนดวัตถุประสงคเพื่อการสงเสริมสนับสนุนและเชิดชูเกียรติศิลปนรวมสมัยที่มีความมุงมั่นมานะสรางสรรคผลงานมาอยางตอเนื่องใหสามารถกาว

ไปในเสนทางอาชีพไดอยางมั่นคงและมีกำลังใจในการสรางสรรคงานอยางอิสระเกิดเปนงานศิลปะอันทรงคุณคาเปนประโยชนเชิงสุนทรียะกระตุนใหเกิดจินตนาการนำไปสูปญญาและความรูนานาประการ

การคัดสรรศิลปนรวมสมัยดีเดนไดดำเนินมาอยางเขมขนคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิในสาขาตางๆไดทำการคัดสรรศิลปนที่มีคุณสมบัติและมีความเหมาะสมเปนผูที่ไดรับรางวัล“ศิลปาธร”ประจำปพ.ศ.2551จำนวนทั้งสิ้น10ทานใน6สาขาจำแนกดังนี้

ศิลปนรวมสมัยดีเดนรางวัล”ศิลปาธร”ประจำปพ.ศ.2551จำนวน6สาขา7รางวัลดังนี้

1. รศ.อารยาราษฎรจำเริญสุข สาขาทัศนศิลป2. นายขจรฤทธิ์รักษา สาขาวรรณศิลป3. นายไพวรินทรขาวงาม สาขาวรรณศิลป4. รศ.ดร.ณรงคฤทธิ์ธรรมบุตร สาขาดนตรี

Silapathorn Award

สมองของเรา:ดานซายและดานขวา

สมเกียรติตั้งนโม:แปลและเรียบเรียง

4 Arts September 2008

Page 6: CMU ART 2

คนไข.มีการควบคุมดวยการผาตัดแยกcorpuscallosumเสนใยที่เชื่อมระบบประสาทออกและตัดความสัมพันธของรอยตอของสมองหรือสะพานเชื่อมออกดังนั้นจึงเหลือเพียงสมองสวนเดียวเปนเอกเทศจากสวนอื่นการผาตัดครั้งนี้เพื่อหวังผลใหอาการของบรรดาคนไขถูกควบคุมและทำใหพวกเขาฟนคืนสติขึ้นมาทั้งๆที่โดยแกนแทธรรมชาติแลวการทำศัลยกรรมปรากฏการณภายนอกของคนไขกริยาอาการและความประสานกันตางๆของอวัยวะจะมีผลที่สอแสดงใหเห็นนอยมากและการสังเกตอยางไมเปนทางการเกี่ยวกับพฤติกรรมตามปกติดูเหมือนวาจะมีการเปลี่ยนแปลงไปไมมากนัก

ตอมาภายหลังพวกกลุมCalTechไดกระทำการทดลองกับคนไขเหลานี้ในชุดการทดสอบที่ละเอียดออนและฉลาดมากขึ้นซึ่งการทดลองนี้ไดเปดเผยใหเห็นถึงหนาที่ของสมองทั้งสองซีกที่แยกออกจากกันการทดสอบครั้งนี้ไดกอใหเกิดหลักฐานใหมๆที่นาประหลาดใจซึ่งสมองแตละขางสัมผัสรูถึงความจริงในวิถีทางของตัวมันเองโดยเฉพาะ

ในสวนของสมองซีกซายนั้นเปนครึ่งหนึ่งของสมองที่เกี่ยวกับคำพูด(verbal)ซึ่งปกติแลวตลอดเวลาจะครอบงำ (สมองของ)แตละคนสวนใหญโดยมีผลเทาๆกับคนไขที่ไดรับการผาตัดสมอง(กลาวคือสมองซีกซายสวนใหญมีอิทธิพลครอบงำสมองซีกขวาตลอดเวลาในคนปกติหรือแมแตคนไขที่ถูกผาตัดสมองนั่นเอง)

อยางไรก็ตามชุดการทดสอบที่เฉลียวฉลาดนี้กลุมCalTechไดทดสอบการแยกสมองซีกขวาของคนไขและไดพบหลักฐานวาสมองซีกขวาวานั้นเปนสมองและประสบการณสวนที่ไมเกี่ยวของกับการพูดมีปฏิกิริยาตอบโตดวยความรูสึกและมีกระบวนการติดตอสื่อสารโดยตัวของมันเอง

ในสมองสองซีกของเราซึ่งcorpuscallosumหรือเสนใยของระบบประสาทไมถูกกระทบกระเทือนจะมีการถายทอดสื่อสารระหวางสมองทั้งสองซีกผสมผสานกันหรือมีการประนีประนอมกันในการสัมผัสรูทั้งสองสวนดวยเหตุนี้สัมผัสรับรูทางผัสสะของเราเกี่ยวกับภาวะของคนๆหนึ่งจึงเปนหนวยเดียวกัน

นอกเหนือจากการศึกษาถึงการทำงานแยกกันของสมองทั้งสองซีกซาย-ขวาในเรื่องที่เกี่ยวกับประสบการณภายในที่ถูกสรางขึ้นมาโดยกระบวนการทางดานศัลยกรรมที่วาแลวนักวิทยาศาสตรยังไดทำการทดสอบในหนทางอยางอื่นอีกซึ่งสมองทั้งสองซีกไดใหขอมูลขาวสารจำนวนมากจากหลักฐานที่รวบรวมมาไดแสดงใหเห็นวาวิธีการทำงานสมองซีกซายนั้นเปนเรื่องที่เกี่ยวกับคำพูด(verbal)และการวิเคราะห(analytic)ในขณะที่สวนของสมองซีกขวาเปนเรื่องที่ไมเกี่ยวกับคำพูด(non-verbal)และเปนการมองภาพรวมทั้งหมด(global)

หลักฐานใหมอันนี้ไดถูกคนพบขึ้นมาโดยJerryLevyในการศึกษาของเธอระดับปริญญาเอกซึ่งแสดงใหเห็นวาวิธีการของกระบวนการใชสมองซีกขวาน้ันเปนกระบวนการท่ีรวดเร็ว(rapid)ซับซอน(complex) เปนไปแบบทั้งหมด(whole)เกี่ยวกับที่วาง(spatial)เกี่ยวกับประสาทรับรู(perceptual)กระบวนการนั้นไมเพียงแตแตกตางไปเทานั้นแตในเชิงเปรียบเทียบกับความซับซอนของสมองซีกซายแลวสมองซีกซายเปนเรื่องเกี่ยวกับการใชคำพูดและการวิเคราะห.มากยิ่งไปกวานั้นอีกLevyยังไดคนพบขอบงชี้วาวิธีการสมองสองซีกมีแนวโนมในการสอดแทรกการทำงานซึ่งกันและกันดวยซึ่งมีการคาดเดาในเชิงปฏิบัติและเธอไดเสนอวามันอาจจะเปนเรื่องของวิวัฒนาการทางดานเหตุผลซึ่งพัฒนาใหสมองสองซีกของมนุษยมีความสมมาตรกันและมันเปนหนทางที่เก็บรักษาวิธีการที่แตกตางกันเกี่ยวกับกระบวนการของสมองสองซีกเอาไวดวย

จากหลักฐานเกี่ยวกับการศึกษาการทำศัลยกรรมสมองทัศนะอันนี้คอยๆดำเนินมาถึงเรื่องที่วาสมองทั้งสองซีกไดใชวิธีการตางๆเกี่ยวกับการรับรูในระดับสูงซึ่งแตกตางกันออกไปและพัวพันไปถึงความคิดเหตุผลการทำหนาที่อันสลับซับซอนของสมอง.กอนหนานี้ในชวงทศวรรษที่ผานมานับแตการประกาศผลงานวิจัยขึ้นมาครั้งแรกในป1968โดยLevyและ Sperryบรรดานักวิทยาศาสตรตางก็ไดคนพบหลักฐานมากมายที่มาสนับสนุนความรูนี้ซึ่งไมเพียงแตเฉพาะหลักฐานที่ไดมาจากคนไขที่ไดรับความกระทบกระเทือนทางสมองเทานั้นแตรวมถึงในคนปกติซึ่งสมองไมไดรับความกระทบกระเทือนดวย

ความจริงซอนของคนไขที่ไดรับการผาตัดสมอง(TheDoubleRealityofSplit-brainPatients)

จากตัวอยางเล็กนอยของแบบทดสอบที่ไดรับการออกแบบขึ้นมาเปนพิเศษสำหรับใชกับคนไขที่ไดรับการผาตัดสมองอาจชวยแสดงภาพใหเห็นถึงความจริงที่แยกกันในการรับรูโดยสมองแตละซีกและวิธีการซึ่งเปนกระบวนการพิเศษที่สมองแตละสวนถูกใชในการทดสอบ.ภาพสองภาพไดเกิดขึ้นมาอยางกระทันหันซึ่งเปนชั่วประเดี๋ยวเดียวบนจอภาพสายตาของคนไขที่ไดรับการผาตัดสมองจองไปยังจุดกึ่งกลางเพื่อตรวจสอบภาพทั้งสองอยางละเอียดและเก็บกักสิ่งที่เห็นนี้เอาไวสมองแตละซีกตางรับรูภาพที่แตกตางกันออกไป

ภาพของชอนอันหนึ่งที่อยูทางดานซายของจอภาพเขาสูสมองดานขวาภาพของมีดเลมหนึ่งที่อยูดานขวาของจอภาพเขาสูสมองซีกซายที่เกี่ยวกับคำพูด.เมื่อถามคำถามคนไขก็

ใหคำตอบที่แตกตางกันออกไปถาหากขอใหเอยถึงสิ่งที่ปรากฏขึ้นบนจอภาพอยางทันทีทันใดสมองซีกซายของคนไขจะสามารถแสดงออกเปนคำพูดอยางมั่นใจไดวาเปน“มีด”

เมื่อขอใหคนไขหยิบเอาสิ่งที่อยูหลังมานบังตาดวยมือซาย (ซึ่งควบคุมดวยสมองซีกขาว)และเลือกหยิบสิ่งที่เห็นบนจอภาพแบบกระทันหันคนไขจะหยิบเอาชอนคันหนึ่งขึ้นมาจากกองวัตถุซึ่งมีทั้งมีดและชอนอยูในกองนั้นถาผูที่ทำการทดลองขอใหคนไขพิสูจนสิ่งที่เขาไดถืออยูในมือหลังมานบังตาคนไขอาจดูสับสนขึ้นมาทันทีในชั่วขณะนั้นและกลาววา“มีด”สมองซีกขวาทราบวาคำตอบวาอันนี้ผิดแตทวาก็ไมมีคำพูดใดๆพอที่จะแกไขคำพูดของสมองซีกซายได.ตอจากคำพูดนั้นคนไขจะสั่นศีรษะคลายคนใบ(บอกวาไมใช)ในชั่วขณะนั้นสมองที่เปนคำพูดซีกซายเกิดสงสัยหรือประหลาดใจออกมาดังๆวา“ทำไมฉันจึงสั่นหัว?”

ในการทดลองอีกอันหนึ่งที่แสดงใหเห็นวาการทำงานของสมองซีกขวาทำงานไดดีกวาสมองซีกซายในเร่ืองเก่ียวกับปญหาตางๆเก่ียวกับ

ท่ีวาง(space)การทดลองอันนี้เริ่มตนดวยการที่ผูทดลองนำเอาวัตถุที่ทำดวยไมซึ่งมีรูปรางหลายหลากมาใหกับคนไขชายแลวใหคนไขทำการสวมรูปทรงไมลงในชองวางที่เปนรูปเดียวกันปรากฏวาความพยายามของเขาดวยมือขวา(ซึ่งสมองซีกซายควบคุม)ลมเหลวแลวลมเหลวอีกสมองซีกขวาของเขาพยายามจะใหความชวยเหลือแตมือขวากลับผลักไสมือซายใหออกไปหางๆและในที่สุดคนไขผูนั้นก็ตองวางมือของตนลงเพื่อที่จะปลอยใหตัวเขาคลายจากความงุนงงเมื่อถึงที่สุดนักวิทยาศาสตรที่ทำการทดลองไดแนะนำใหคนไขใชทั้งสองมือปรากฏวามือซายที่มีความเขาใจในเรื่องของชองวางอากาศอยางปราดเปรื่อง(spatially“smart”lefthand)ไดผลักไสมือขวาที่บอดใบในเรื่องชองวางอากาศนี้ออกไปหางๆจากการเขามาสอดแทรกการทำงาน

จากผลของการคนพบที่พิเศษกวาปกติอันนี้ปจจุบันทำใหเราทราบวาแมวาความรูสึกตามปกติ

ของเรานั้นจะบอกวาเราเปนคนๆหนึ่งมีการดำรงชีวิตอยูลำพังแตสมองของเรากลับมีสอง(double)แตละ

ซีกของสมองมีหนทางในการรับรูของตัวมันเองสัมผัสรูดวยวิถีทางของมันเองกับความจริงภายนอกในวิธีการพูด

พวกเราแตละคนมีจิตใจคูหนึ่งมีจิตสำนึกคูหนึ่งมีการไกลเกลี่ยประนีประนอมและประสานรวมตัวกันโดยเสนใยประสาทที่เชื่อมตอกันและกันระหวางสมองทั้งสองซีก

พวกเราไดเรียนรูวาสมองทั้งสองซีกนั้นสามารถที่จะทำงานรวมกันในหนทางตางๆมากมายบางครั้งมันก็ปฏิบัติงานรวมกันในแตละครั้งเพื่อสนับสนุนซึ่งกันและกันดวยความสามารถพิเศษและบางครั้งมันก็ปลอยใหแตละสวนของซีกสมองรับหนากับภาระหนาที่ซึ่งเหมาะสมกับมันโดยเฉพาะไปตามมรรควิธีของตัวมัน.ในบางครั้งบางคราวสมองทั้งสองซีกสามารถทำงานไดอยางโดดเดี่ยวดวยการเปด-ปด(on-off)คือในขณะที่สมองขางหนึ่งทำงาน(เปด-on)สมองอีกขางหนึ่งดูคลายๆวาจะปด(ปด-off)และมันดูเหมือนวาสมองทั้งสองซีกบางทีขัดแยงกันและกันอยางเชนสมองซีกหนึ่งพยายามจะกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งในขณะที่สมองอีกซีกหนึ่งรูวามันสามารถจะทำไดดีกวายิ่งไปกวานั้นบางทีดูเหมือนกับวาแตละซีกสมองมีวิธีการเก็บรักษาความรูจากสมองอีกซีกหนึ่ง(โดยที่สมองอีกซีกหนึ่งไมรูเรื่องนั้นเลย)

อานตอหนา10

5. นางสินีนาฎเกษประไพ สาขาศิลปะการแสดง6. นายนนทรียนิมิบุตร สาขาภาพยนตร7. ผศ.ดร.สมพิศฟูสกุล สาขาออกแบบเชิงสรางสรรค

ศิลปนรวมสมัยดีเดนรางวัล”ศิลปาธรกิตติคุณ”ประจำปพ.ศ.2551จำนวน2สาขา3รางวัลดังนี้

1. นายสมเถาสุจริตกุลสาขาดนตรี2. นายไสยาสนเสมาเงิน สาขาออกแบบเชิงสรางสรรค3. นายสุวรรณคงขุนเทียน สาขาออกแบบเชิงสรางสรรค

รศ.อารยาราษฎรจำเริญสุขประวัติและผลงานศิลปนศิลปาธรสาขาทัศนศิลป2551รศ.อารยาราษฎรจำเริญสุขคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหม ประวัติการศึกษา-1981 B.F.A.inGraphicArt,SilpakornUniversity,Thailand-1986 M.F.AinGraphicArt.SilpakornUniversity,Thailand-1990 DiplomFuerBildendeKuenste,HochschuleFuerBildende KuensteBraunschweig,Germany(DAADScholar)

-1994 Meisterschuelerin,HochschuleFuerBildendeKuensteBraunschweig,Germany(KonradAdenauerStiftungScholar).

ตำแหนงและหนาที่ปจจุบัน -รองศาสตราจารยประจำคณะวิจิตรศิลปสาขาวิชาภาพพิมพมหาวิทยาลัยเชียงใหม-นักเขียนคอลัมนจุดประกายทัศนศิลปกรุงเทพธุรกิจ,คอลัมนคิดฝนอยูใตฟาเหนือดินนิตยสารดิฉัน,บทความศิลปะนิทรรศการศิลปะนานาชาติมติชนสุดสัปดาห

รูปแบบการสรางสรรคผลงานภาพพิมพประติมากรรมสื่อผสมวีดีโอภาพถายศิลปะจัดวาง

ประวัติการทำงาน เคยเปนอาจารยสอนศิลปะภาพพิมพวิทยาลัยชางศิลปกรุงเทพฯปจจุบันสอนศิลปะที่คณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหมในบทบาทประธานบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษาสาขาทัศนศิลป

สื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ(MediaArtsandDesign)เชิญทานผูที่สนใจเขาฝกอบรมหลักสูตรการผลิตสื่อระยะสั้น

(สนใจการฝกอบรมอานตอหนา12)

BRAIN

Arts September 2008 5

Page 7: CMU ART 2

5กันยายนที่ผานมาศ.ดร.พงษศักดิ์อังกสิทธิ์อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหมและรศ.น.พ.นิเวศนนันทจิตคณบดีคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหมรวมทั้งแขกผูมีเกียรติจำนวนมากไดใหเกียรติมาเปดงานLeparadisdesFleurs(Theparadiseofflowers)ครั้งที่7ของคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหม ณบริเวณลานกิจกรรมชั้นGศูนยการคาเซ็นทรัลแอรพอรตพลาซาเชียงใหม

นิทรรศการ“สรวงสวรรคแหงบุปผชาติ”นี้เปนความรวมมือของ4กระบวนวิชาที่เปดทำการสอนในคณะวิจิตรศิลปประกอบดวยวิชาประดิษฐดอกไมใบไมผลไมไทย,วิชาการออกแบบนิทรรศการและการแสดงสินคา,วิชาเครื่องแตงกายและการแตงหนาละคร,และวิชาการออกแบบเครื่องประดับในการนำผลงานนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาเสนอตอสาธารณชนในระหวางวันที่5-7กันยายน2551

ในกิจกรรมดังกลาวผศ.สุนันทารัตนาวะดีรองคณบดีฝายวิชาการคณะวิจิตรศิลปในฐานะผูสอนบางกระบวนวิชาขางตนในฐานะประธานการจัดงานและorganizerไดเปนแมงานนิทรรศการและจัดใหมีการแสดงดนตรีจากวงTrioContemporaryBand,การเดินแฟชั่นโชวของศิษยเกาคณะวิจิตรศิลปภายใตชื่อ “SocieteaStory”โดยคุณสุกฤษฏิ์แกวคำและจากBrand “NopparatCharapok”โดยคุณนพรัตนชราพกมีนางแบบจำนวนมากเขารวมพรอมกันนั้นไดมีการแสดงชุด“สุนทราพาเพลิน”และการแสดง“โปรโมทลูกทุงวิจิตรศิลป”ซึ่งเรียกรองความสนใจจากสื่อมวลชนและสรางความพึงพอใจกับประชาชนเปนจำนวนมาก

รายงานยอหนาขางตนเกิดขึ้นไดและประสบความสำเร็จเพราะกระบวนการเชิงระบบในการทำโครงการ(pre-project,project,และpost-project)กลาวคือนับจากการเตรียมงาม

ประสานความรวมมือหาการสนับสนุนจากองคกรและสถาบันตางๆ,การแกปญหาเฉพาะหนาในระหวางแสดงงานการจัดแสดงนิทรรศการการบำรุงรักษา,ตลอดจนหลังเลิกงานมีการประเมินผลรับฟงขอเสนอแนะและการเก็บกวาดเปนอันสิ้นสุด

นอกจากนี้กระบวนการวิภาษวิธีทางศิลปะ(Art&dialectics)(Thesis,Anti-thesis,และSynthesis)ก็ถูกนำมาใชเพื่อนำเสนอความแตกตางไปจากนิทรรศการคราวกอนๆกลาวคือกระบวนการดังกลาวเปนยุทธวิธีหนีความซ้ำซากจำเจดวยการนำนิทรรศการในปที่ผานมาเปนตัวตั้ง,คิดหาหนทางที่แตกตาง,และการสังเคราะหเกากับใหมเขาดวยกันอันถือเปนกระบวนการสามขั้นตอนของการพัฒนารูปแบบผลงานศิลปะทุกชนิด

ดอกไมใบไมผลไมเปนสุดยอดของการผุดกำเนิดจากพันธุพืชตามธรรมชาติมนุษยรูจักคัดสรรสิ่งสูงสุดเหลานี้มาใชกับกิจกรรมทาง

รายการบอกรับเปนสมาชิก23รายการภาษาตางประเทศจำนวน33รายการบอกรับเปนสมาชิก27รายการ

1.3โสตทัศนวัสดุและสื่ออิเล็กทรอนิกสจำนวน1,327รายการไดแกคอมแพคดิกสสารคดีภาพยนตรที่ไดรับรางวัลและภาพยนตรศิลปะตลอดถึงเพลงคลาสสิคและเพลงทั่วไปรวมทั้งการแสดงดนตรี

2.บริการสืบคนขอมูลอิเล็กทรอนิกสไดแกบริการคนรายชื่อสิ่งพิมพของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม(OnlinePublicAccessCatalogหรือOPAC)บริการฐานขอมูลออนไลนบริการหนังสืออิเล็กทรอนิกส(e-Books)บริการวิทยานิพนธอิเล็กทรอนิกส(e-Theses)บริการวิจัยอิเล็กทรอนิกส(e-Research)บริการขอมูลเอกสารหายากอิเล็กทรอนิกส(e-RareBooks)ขอมูลอิเล็กทรอนิกสสาขาวิจิตรศิลปซึ่งไดรับการสนับสนุนงบประมาณโดยสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหมสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา(สกอ.)และคณะวิจิตรศิลปไดแก

-วารสารอิเล็กทรอนิกสสาขาวิจิตรศิลปฉบับเต็ม238รายชื่อสืบคนจากฐานขอมูลe-JournalฐานขอมูลA-Zหมายรวมถึงวารสารชื่อMuseumManagementandCuratorshipซึ่งคณะวิจิตรศิลปสนับสนุนงบประมาณป2548และ2549เปนวารสารดานการจัดการศิลปะและพิพิธภัณฑเหมาะสำหรับนักวิชาการดานศิลปะภัณฑารักษมีขอมูลตั้งแตปค.ศ.1982–2006ปจจุบันสืบคนจากฐานขอมูลTaylor&Francise

-วิทยานิพนธและวิจัยอิเล็กทรอนิกสสาขาวิจิตรศิลปทั้งภาษาไทยและตางประเทศฉบับเต็มสืบคนจากฐานขอมูลe-Books(DissertationFulltext136รายการ)(CMULOPAC25รายการ)และสืบคนจากเว็บไซตสำนักหอสมุดฐานขอมูลe-ResearchและฐานขอมูลDigitalCollectionเปนตน

-หนังสืออิเล็กทรอนิกสสาขาวิจิตรศิลปนำเสนอในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกสฉบับเต็มเชนหัวขอFineart43รายการCeramics842รายการComputerart4รายการเปนตนสืบคนจากฐานขอมูลe-Bookshttp://www.netlibrary.com/

3.บริการสารนิเทศสาขาวิจิตรศิลป-บริการสูจิบัตรนิทรรศการเปนการรวบรวมผลงานของศิลปนที่รวม

แสดงงานศิลปะแขนงตางๆจำนวน1,359รายการจัดแบงเปน3ประเภท

จากเจตนารมณของคณะวิจิตรศิลปในดานการเรียนการสอนคณะวิจิตรศิลปใหความสำคัญกับผูเรียนเปนสำคัญโดยมุงเนนใหนักศึกษาสามารถนำความรูที่ไดรับไปปฏิบัติไดจริงเกิดสัมฤทธิผลในทางสรางสรรคโดยมีปจจัยสนับสนุนการเรียนการสอนใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพอาทิเชนอุปกรณสื่อการสอนหองสมุดหองจัดแสดงนิทรรศการ

หองสมุดคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหมสังกัดฝายหองสมุดและสารนิเทศสาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตรสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหมและเปนหนวยหนึ่งในงานบริการการศึกษาคณะวิจิตรศิลปภารกิจหลักของหองสมุดคณะวิจิตรศิลปสรุปดังนี้

1. เปนแหลงรวบรวมและอนุรักษสารสนเทศสาขาวิจิตรศิลปและสาขาเกี่ยวเนื่องในทุกรูปแบบไดแกสื่อสิ่งพิมพสื่อโสตทัศนวัสดุสื่อมัลติมีเดียและสื่ออิเล็กทรอนิกส

2. สนับสนุนพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนการวิจัยของคณะวิจิตรศิลปดวยการใหบริการสารสนเทศอยางสอดคลองกับสาขาวิชาที่ดำเนินการเรียนการสอนปจจุบัน

3. พัฒนาและขยายงานระบบหองสมุดอัตโนมัติดวยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาใชในหองสมุดคณะวิจิตรศิลปอยางครบวงจรงานบริการของหองสมุดคณะวิจิตรศิลป

หองสมุดคณะวิจิตรศิลปจัดใหมีบริการเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนการวิจัยและการศึกษาคนควาดวยตนเองโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยเขามาชวยดำเนินการและจัดการงานบริการหองสมุด1.ทรัพยากรสารนิเทศสาขาวิจิตรศิลปที่ใหบริการ

1.1หนังสือประกอบการเรียนการสอนการศึกษาคนควาวิจัยและสาขาเกี่ยวเนื่องจำนวน19,984เลมภาษาไทยจำนวน14,352เลมและภาษาตางประเทศจำนวน5,632เลม

1.2วารสารศิลปะและสาขาเกี่ยวเนื่องภาษาไทยจำนวน90

Le paradis des Fleurs

หองสมุดสมัยใหมดานศิลปะและวัฒนธรรมหองสมุด คณะ วิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย เชียงใหม

พรพิศเดชาวัฒน

The pa

6 Arts September 2008

Page 8: CMU ART 2

ศาสนามานับแตอดีต,ในทางวิทยาศาสตรสิ่งเหลานี้ไดถูกศึกษาอยางเปนภววิสัยลึกลงไปในระดับเซลล,สวนในทางเศรษฐกิจถือเปนสินคาในการทำรายไดอยางเปนกอบเปนกำ,ทางวรรณกรรมสิ่งเหลานี้ไดรับการเปรียบเปรยเทากับอิตถีเพศและอารมณความรูสึก,สวนในทางทัศนศิลปดอกไมไดรับการนำเสนอในแงความงามหรือสุนทรียภาพและบางครั้งถูกมองในแงของอีโรติก(เทพอีรอส-เทพแหงความรักในแบบหนุมสาว)

TheParadiseofFlowers(สรวงสวรรคแหงบุปผชาติ)นี้ไดตัดเอามิติที่แฝงฝงอยูในศาสตรตางๆแหงศรัทธาและสมองซีกซายที่เกี่ยวของกับเหตุผลลงไปสิ้นเหลือเพียงการชูชอเดนตระหงานอวดความงามในตัวของดอกไมใบไมและผลไมเองภายใตการจัดการของฝมือมนุษยเพื่อใหอารมณความรูสึกจินตนาการและความฝนไดสัมผัส

NEW MEDIA

สูจิบัตรนิทรรศการภายในประเทศไทยสูจิบัตรนิทรรศการตางประเทศและสูจิบัตรนิทรรศการอาจารยนักศึกษาคณะวิจิตรศิลป

-บริการแฟมขอมูลศิลปน-ศิลปะเปนบริการที่หองสมุดจัดทำขึ้นในรูปแฟมขอมูลจำนวน2,582หัวเรื่องโดยรวบรวมบทความภาพผลงานประวัติของศิลปนชางพื้นบานทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศทุกสาขาวิชาชีพศิลปะตลอดถึงขอมูลศิลปะและวัฒนธรรมจากวารสารหนังสือพิมพและสูจิบัตรนิทรรศการเพื่อประโยชนในการศึกษาคนควาเพิ่มเติมดานศิลปวัฒนธรรม

-บริการminiTCDCเปนความรวมมือดานวิชาการสาขาออกแบบตามโครงการสรางโอกาสเขาถึงบริการTCDCสูภูมิภาค(miniTCDC)หองสมุดคณะวิจิตรศิลปไดรับมอบภารกิจในการดำเนินงานโดยจัดพิธีเปดในวันที่11กรกฎาคม2550เริ่มเปดใหบริการอยางเปนทางการตั้งแตวันที่12กรกฎาคม2550เปนตนไปซึ่งTCDCจะดำเนินการจัดสงทรัพยากรสารสนเทศสาขาออกแบบและหมุนเวียนตามระยะเวลาการเปดสอนของสถาบันการศึกษาไดแกหนังสือจำนวน200เลมวัสดุตัวอยางพรอมทั้งฐานขอมูลดานการออกแบบ

ความรวมมือระหวางหองสมุดสถาบันและหนวยงาน1.ดำเนินการตามโครงการ”เครือขายหองสมุดศิลปะในประเทศไทย”

ในลักษณะความรวมมือในการใชทรัพยากรสารนิเทศดานศิลปะรวมกันเชนการเขาใชบริการในหองสมุดเครือขายการสำเนาเอกสารเปนตนตลอดถึงการจัดทำฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสดานศิลปะโดยมีเครือขายหองสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่รวมกอตั้งจำนวน9แหงโดยหอสมุดสาขา วังทาพระมหาวิทยาลัยศิลปากรเปนแมขายในการดำเนินงาน

2.ดำเนินการพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศดวยการไดรับอภินันทนาการขอรับบริจาคและแลกเปลี่ยนเอกสารทั้งในประเทศและตางประเทศโดยความรวมมือกับหนวยงานสถาบันองคกรภาครัฐและเอกชนตลอดถึงบุคคลที่เห็นความสำคัญตอการพัฒนาใหหองสมุดคณะวิจิตรศิลปเปนแหลงในการสะสมทรัพยากรสารนิเทศสาขาวิจิตรศิลป

3.บริการวิชาการแกชุมชนคณะวิจิตรศิลปโดยหองสมุดดำเนินการบริจาคสูจิบัตรศิลปกรรมแกหองสมุดของหนวยงานและสถาบันการศึกษาทุกระดับโดยเฉพาะสถาบันการศึกษาดานศิลปะ

ภาษาของสื่อใหมสูสื่อศิลปะและการออกแบบประเทศไทย(TheLanguageofNewMediatoMediaArtsandDesignThailand) ภาษาของสื่อใหม(TheLanguageofNewMedia)

สื่อใหม(NewMedia)..คืออะไร?การไดมาซึ่งคำตอบของคำถามนี้เปนเรื่องไมงายนักกลาวคือจากการรวบรวมหัวขอการสนทนาทางวิชาการมีคำถามเกิดขึ้นตามมาเชนInternet,Websites, computermultimedia,computergames,CD-ROMs,DVDและvirtualrealityทั้งหมดนี้ใชคำที่เรียกวา“สื่อใหม”หรือไม?แลวรายการโทรทัศนบางรายการที่ผลิตดวยคอมพิวเตอรรวมถึงภาพยนตรที่ผลิตจาก3-DAnimationรวมเรียกวาสื่อใหมหรือไม?อีกทั้งImage(ภาพ)และtext(ตัวอักษร)ที่ถูกผลิตในระบบคอมพิวเตอรและพิมพบนกระดาษใชสื่อใหมหรือไม?

ในความเขาใจที่เปนที่นิยมของคนทั่วไป“สื่อใหม”มักไดรับการเขาใจวาคืออะไรก็ตามที่ถูกเผยแพรและแสดงออกดวยคอมพิวเตอรมากกวาจะพิจารณาถึงดานการผลิตยกตัวอยางเชนขอความที่ถูกเผยแพรบนคอมพิวเตอร(Websitesและelectronicbooks)จะถูกพิจารณาวาเปนสื่อใหมแตถาขาวสารถูกเผยแพรบนกระดาษนั้นไมเรียกวาเปนสื่อใหมเชนเดียวกับภาพถายถาถูกบรรจุลงบน CD-ROMและตองการคอมพิวเตอรสำหรับเปดดูจะไดรับการพิจารณาใหเปนสื่อใหมในลักษณะเดียวกันถาภาพถายถูกพิมพบนหนังสือก็จะไมเรียกวาสื่อใหม

เรายอมรับคำจำกัดความที่กลาวมาหรือไมถาเราตองการเขาใจถึงผลกระทบของคอมพิวเตอรตอวัฒนธรรมโดยรวมในที่นี้ผูเขียนคิดวาจากที่กลาวมายังมีลักษณะบางประการที่เปนขอจำกัดมากจนเกินไป

ในยุคโมเดริ์น(Modern)ผลจาการปฏิวัติสื่อนั้นมีผลกระทบตอการพัฒนาของสังคมและวัฒนธรรมไมวาวิวัฒนาการของขอความที่ถูกพิมพในชวงคริสตศตวรรษที่14และวิวัฒนาการภาพถายในชวงคริสตศตวรรษที่19ปจจุบันนี้เราอยูชวงกลางของการปฏิวัติสื่อใหมเปนชวงที่มีการเปลี่ยนผานทางวัฒนธรรมไปยังรูปแบบสื่อคอมพิวเตอร(computer-mediated)เกี่ยวกับการผลิตการเผยแพรและการสื่อสารการปฏิวัติใหมครั้งนี้เปนขอถกเถียงมากกวาขอสรุปดังที่ปรากฏในยุคที่ผานๆมาและเรากำลังเริ่มกาวเขาสูผลกระทบของมัน

ในยุคการปฏิวัติสื่อสิ่งพิมพผลกระทบที่มีตอสังคมเปนแคบางสวนของวัฒนธรรมการสื่อสารการแพรกระจายของสื่อคลายๆกันกับยุคของภาพถาย(photography)ซึ่งไดสงผลกระทบตอผูคนและวัฒนธรรมการสื่อสารไมมากนักแตสำหรับการปฏิวัติสื่อคอมพิวเตอรนับวาแตกตางไปเลยทีเดียวกลาวคือมันมีผลกระทบตอทุกๆสวนของการสื่อสารรวมไปถึงการแปลงขอมูลเปนดิจิตอล(acquisition),การจัดการควบคุม(manipulation),การจัดเก็บ (storage),และการกระจาย-เผยแพร(distribution)การเปลี่ยนแปลงนี้มีผลกระทบตอสื่อทุกชนิดไมวาจะเปนขอความ(text)รูปภาพ (images)ภาพเคลื่อนไหว(movingimages)เสียง(sound)และการสรางสื่อรูปแบบพิเศษอื่นๆ

ผลจากการปฏิวัติสื่อคอมพิวเตอรทำใหสังคมกาวเขาสู“สังคมแหงยุคขอมูลขาวสาร(Informationsociety)”ในสภาวะแนวโนมการพัฒนาทางเทคโนโลยีอยางตอเนื่องทำใหระบบโครงสรางโดยรวมของการกาวไปสูสังคมสื่อดิจิตอลภาพโดยรวมของสังคมโลกมีการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นประชากรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยเฉพาะสังคมโลกที่เปนผูนำทางเทคโนโลยีแตสำหรับสังคมที่ตองติดตามและเดินตามความกาวหนาของเทคโนโลยีที่พัฒนาอยางไมหยุดยั้งนั้นกลายเปนการทำลายวิถีชีวิตดั่งเดิมและสรางความเสียเปรียบอยางไมหยุดยั้งปรากฏการณดังกลาวเห็นไดชัดในสังคมไทยประเทศ

ไทยหลังจากที่ไดรับผลกระทบจากการปฏิวัติคอมพิวเตอรดังกลาวมาเปนเวลาอันยาวนานเพื่อใหสังคมไทยไดรูเทาทันตอสถานการณสรางความสมดุลใหเกิดขึ้นใหสามารถใชประโยชนจากกระแสโลกที่กำลังเปลี่ยนไปในสังคมจึงไดตั้งกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(ICT)ขึ้นและหนวยงานที่เกี่ยวของพรอมจะใหการสนับสนุนยกระดับอุตสาหกรรมการผลิตสื่อในประเทศไทยเชนสำนักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ(SIPA)

สื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ(MediaArtsandDesign)จากความกาวหนาของเทคโนโลยีในสังคมยุคหลังสมัยใหม

(Postmodern)ยุคแหงเทคโนโลยีและขอมูลขาวสาร(InformationandTechnology)ในสภาวะแนวโนมการพัฒนาทางเทคโนโลยีอยางตอเนื่องดังที่กลาวมานั้นสังคมไทยเราจำเปนบุคลากรที่สามารถรูเทาทันปรากฏการณปฏิวัติสื่อรวมสมัยนี้ที่สามารถวิเคราะหวิจารณและสามารถผลิตสื่อที่ตอบสนองตออุตสาหกรรมสื่อไดอยางมีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพสูงสุดสังคมไทยเราตองการบุคลากรที่จะชวยยกระดับความรูดานสื่อตอสังคมซึ่งเปนภารกิจสำคัญของสถาบันการศึกษาที่จะตองผลิตบุคลากรดังกลาวเพื่อตอบสนองตอสังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหมจึงริเริ่มเปดหลักสูตรการเรียนการสอนในสาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ(MediaArtsandDesign)ขึ้นเมื่อปพ.ศ.2546เปนแหงแรกของประเทศไทยโดยความรวมมือจากคณะวิจิตรศิลปคณะการสื่อสารมวลชนคณะวิศวกรรมศาสตรและวิทยาลัยศิลปะสื่อและเทคโนโลยีดำเนินบริหารจัดการโดยบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหมในชวงปแรกไดเปดหลักสูตรในระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต(ป.บัณฑิต)และปรับหลักสูตรเปนระดับมหาบัณฑิต(ป.โท)โดยมีปณิธานมุงมั่นเพื่อสรางบุคลากรดานสื่อที่มีความรอบรูปรากฏการณของสื่อรวมสมัยผานการศึกษาทฤษฏีสื่อ(Mediastudy)การวิจัยวิจารณปรากฏการณสื่อสามารถนำเสนอแนวคิดผานการทดลองสรางสรรคผลงานสื่อในรูปแบบตางๆรวมสมัย(MediaArts)และสามารถผลิตสื่อตอบสนองตออุตสาหกรรมการผลิตสื่อไดอยางมีมาตรฐานมีทักษะมีสุทรียศาสตรและชั้นเชิงของการวิเคราะห(MediaDesign)

รายวิชาที่เปดสอนอยางเชนConceptofMediaDesign,SeminarinMediaCulture,GraphicDesign,3DAnimation,ComputerAidedArchitecturalPresentation,Audio&VisualMedia,InteractiveMediaandNetwork,SoundDesign,WebDesign,WebDatabaseDesign,InformationDesign,MediaDesignProject,MultimediaProject

MediaArtsandDesignเนนการเรียนการสอนในระบบlabวิจัยเพื่อเนนใหผูเรียนไดองคความรูมีทิศทางที่ชัดเจนจากการเปดสอนของหลักสูตรที่ผานมาจนถึงปจจุบันMediaArtsandDesignมีนักศึกษาที่จบการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตจำนวน14คนจบการศึกษาในระดับปริญญาโทจำนวน70คนและกำลังศึกษาอยูในระดับปริญญาโท121คนนอกจากนั้นMediaArtsandDesignยังรับนักศึกษาจบปริญญาตรีทุกสาขาวิชาเขาศึกษาตอทุกปอยางตอเนื่อง(ประกาศรับในเดือนธันวาคมของทุกป)เพื่อสรางบุคลากรที่มีความรูดานวิชาการสื่อสามารถสรางสรรคผลงานสื่อศิลปะออกแบบสื่อและสรางผลงานวิจัยดานสื่อศิลปะและการออกแบบ

MediaArtsandDesignตั้งอยูที่ชั้น2อาคารหอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยเชียงใหมเลขที่239ถ.นิมมานเหมินทต.สุเทพอ.เมืองจ.เชียงใหม50200โทร053-944846 www.mediaartsdesign.orgEmail:[email protected]

วีระพันธจันทรหอม

Art Newsradise of flowers

Arts September 2008 7

Page 9: CMU ART 2

ของศิลปะจากหลากวัฒนธรรมทั้งนี้โดยมียุโรปเปนจุดเริ่มตนของเวลาเชิงพัฒนาการและจุดศูนยกลางของความสำคัญทางศิลปะที่เห็นไดอยางชัดเจน

การเกิดขึ้นของหอศิลป(ArtMuseum)ในโลกตะวันตกนั้นถูกพัฒนาควบคูพรอมไปกับวิชาการหลักปรัชญาตางๆในศาสตรศิลปะซึ่งมีการแบงแยกตัดขาดอาณาเขตของการศึกษาภายในศาสตรเองเปนชวงๆและตัดขาดความสัมพันธกับศาสตรอื่นๆนอกเหนือตัวมันเองและมีลักษณะเปนพ้ืนท่ีปด(CloseSpace) มากยิ่งขึ้นเรื่อยๆซึ่งพื้นที่ปดที่เกิดขึ้นนี้ในภายหลังถูกเขาใจในฐานะ“โลกศิลปะ”(ArtWorld)ซึ่งเปนโลกที่อนุญาตใหเกิดการสื่อสารกันเฉพาะกลุมของคนในโลกเดียวกันคนอื่นไมเกี่ยว

เหตุการณหลังสงครามโลกครั้งที่2ซึ่งทำใหสังคมโลกตางทบทวนโครงงานตางๆรวมถึงความคิดความเชื่อที่เปนมรดกจากยุคสวาง(AgeofEnlightenment)แนวคิดเรื่องพิพิธภัณฑ (Museum)และหอศิลป(ArtMuseum)เริ่มมีการปรับตัวและถูกทาทายมีการเกิดขึ้นของพิพิธภัณฑทางเลือกมากขึ้นซึ่งมิใชเปนเพียงเศษเหลือของการเก็บสะสมอารยธรรมตะวันตกเทานั้นหากเปนพิพิธภัณฑชุมชนหรือวัฒนธรรมเฉพาะถิ่นพิพิธภัณฑสงครามรวมถึงพิพิธภัณฑในรูปแบบใหมเชนพิพิธภัณฑทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและยานยนตหรือพิพิธภัณฑที่เกิดขึ้นเพื่อแสดงความสำเร็จของธุรกิจอุตสาหกรรมโดยเอกชนเอง

ในสวนของหอศิลป(ArtMuseum)มีศิลปนจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆเริ่มตั้งคำถามเชิงวิจารณการใชพื้นที่ในหอศิลปในฐานะ “พ้ืนท่ีปด”ซ่ึงใน“พ้ืนท่ีปด”น้ีมีคนบางกลุมถูกอนุญาตใหอยูภายใน และมีคนจำนวนมากถูกกีดกันออกไปศิลปนจำนวนดังกลาวจึงมองหาพื้นที่ทางเลือกนอกหอศิลปในการนำเสนอผลงานซึ่งนอกจากจะไมถูกลอมกรอบดวยลักษณะอันจำกัดของพื้นที่เองแลวยังมีอิสระที่มากขึ้นจากการกดทับของวิถีประวัติศาสตรเชิงทฤษฎีและคำอธิบายเชิงปรัชญาของศาสตรศิลปะอีกดวย

มีปญญาชนจำนวนมากผลิตงานเขียนเชิงวิจารณสิ่งที่เกิดขึ้นในโลกศิลปะรวมถึงสถานการณของพิพิธภัณฑและหอศิลป

AndreMalraux(1901–1976)นำเสนอแนวคิดหอศิลปปราศจากกำแพง(Museumwithoutwall)หรืออภิมหาหอศิลป(Super Museum)ในป1947ประเด็นสำคัญที่Malrauxตองการใหเกิดการอภิปรายสาธารณะคือการทำหนาที่ของหอศิลปในฐานะพื้นที่ปดซึ่งบีบอัดจินตนาการแรงบันดาลใจและลักษณะการทำงานความเขาใจในศิลปะของปจเจกชนมากขึ้นเรื่อยๆบัญญัติ (Discipline)ในศิลปะทำใหเกิดการลอมกรอบมิใชเพียงตอการศึกษาศิลปะเทานั้นหากครอบคลุมถึงการมองหาศิลปะที่บางครั้งปะปนอยูกับชีวิตโดยทั่วไปซึ่งดวยบัญญัติที่แข็งในพื้นที่ปดปจเจกชนมิอาจมองเห็นมันไดMalrauxเชื่อวาประวัติศาสตรใดๆ ก็ตามรวมถึงประวัติศาสตรศิลปดวยเปนที่รวมของสวนแยกยอยเปนอิสระตอกันขึ้นอยูกับเสรีภาพในการปะติดปะตอชิ้นสวนของเนื้อหาตางๆเพื่อสรางโครงเรื่องของคำบรรยาย(Narrative Structure)ในจินตนาการของปจเจกแตละคนซึ่งอาจพบเนื้อหาของเรื่องเลาที่แตกตางกันในที่สุดสิ่งนี้จะทำใหความคิดสรางสรรคถูกลอมกรอบนอยลงโดยในลำดับแรกจะไมเกิดขึ้นเลยหากการหนีจากการลอมกรอบเชิงบัญญัติ(DisciplinaryConfinement) ไมถูกพูดถึงแนวคิดMuseumwithoutwallของMalrauxถูกพัฒนาภายหลังในรูปแบบของหอศิลปเสมือนจริง(VirtualMuseum)ในโลกCyberและใหแรงบันดาลใจกับภัณฑรักษรุนใหมๆในการจัดการกิจกรรมศิลปะรวมสมัยดวยแนวคิดที่นาสนใจในเวลาตอมา

หากลองพิจารณาประวัติศาสตรความคิด(HistoryofIdeas)ของการเกิดขึ้นของพิพิธภัณฑ(Museum)และหอศิลป(ArtMuseum) จะเห็นไดวาลักษณะความขัดแยงภายใน(Paradox)ของแนวคิดMuseumเกิดขึ้นตั้งแตเริ่มแรกความเปนสวนรวมองครวม (Wholeness)และความเปนสวนยอยแยกประเภท (Fragmentation)เปนคนละดานของเหรียญที่อยูรวมกันโดยหาทางบรรจบกันไมไดอยางไรก็ตามไมวาดานใดของเหรียญจะมีชัยเหนือดานที่เหลือสิ่งที่พบไดเปนปรัชญาพื้นฐานในกระบวนทัศนพิพิธภัณฑแตไหนแตไรคือพื้นที่ของสิ่งของเหตุการณฯลฯจากหลากที่หลากเวลาหลากบริบทมาอยูรวมๆกันคงจะไมเปนการ

2008UNESCOAsia-PacificHeritageAwardsAnnouncementofWinnersผูชวยศาสตราจารยวรลัญจกบุณยสุรัตนอาจารยประจำภาควิชาศิลปะไทยคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหมไดรับรางวัลทรงคุณคา(AwardofMerit)จากองคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ(ยูเนสโก)สำนักงานภาคพื้นเอเชียแปซิฟกในการประกาศผูชนะรางวัลอนุรักษมรดกเอเชีย-แปซิฟกประจำป2551(2008UNESCOAsia-PacificHeritageAwardsAnnoucementofWinners)ในโครงการอนุรักษวัดปงสนุกจังหวัดลำปางซึ่งเปนโครงการที่มีการอนุรักษฟนฟูบูรณะสิ่งปลูกสรางทางประวัติศาสตรอันทรงคุณคาโดยคงสภาพเดิมเอาไวมากที่สุดและจูงใจใหเกิดโครงการบูรณะในที่อื่นๆตอไปเพื่อเปนมรดกของชุมชนเปนการอนุรักษและรักษาวัดของชาวลานนาซึ่งแสดงใหเห็นถึงการทำงานรวมกันระหวางพระสงฆกับชุมชนผูนำชุมชนชางฝมือทองถิ่นและนักวิชาการเพื่อบรรลุลผลทางดานประวัติศาสตรของชุมชนและทองถิ่น

WatPongsanuk,LampangThailandreceivedanAwardofMerit.Therestorationworkshaveprovidedaninspirationalmodelofcommunity-ledconservationinsavingauniqueLannatemple.Theprojectshowcasesthecollectiveachievementsofthemonksandthelocalresidentsworkinginclosecooperationwithtraditionalcraftspersons,localauthoritiesandacademicadvisors.Theprojecthasalsoachievededucationalaimsinteachinglocalhistory,asseeninthethoughtfulon-siteexhibitsandthesubtlenotationsoftheearlierbuildingfootprint.

ตอจากหนา3

สรุปสงเดชจนเกินไปวาความหลากหลาย(Diversity)คือเนื้อหาที่สำคัญของพิพิธภัณฑและความหลากหลายนี้เองที่เปนพลังสำคัญที่ทำใหเกิดการเรียนรูรวมกันผานกิจกรรมที่แตกตางในหลายลักษณะมิใชเพียงกิจกรรมที่เกี่ยวของกับศิลปะแบบแข็งๆเพียงอยางเดียว

หอศิลปรวมสมัยจำนวนมากเริ่มทลายกำแพงการปดลอมตัวเองในโลกศิลปะและเริ่มเชื่อมตอใหเกิดการไหลเวียนของการเรียนรูรวมกันผานกิจกรรมตางๆทั้งเพื่อจรรโลงความเขาใจศิลปะแบบเดิมตนหารวมกับความเขาใจใหมหรือการทำใหศิลปะไดเรียนรูและถูกเรียนรูจากสิ่งที่ไมใชตัวมันเองมากขึ้นเพราะสิ่งที่เปนหัวใจของหอศิลปในฐานะพื้นที่ของการศึกษามิใชเพียงวัตถุที่จัดแสดงในหองในฐานะขอมูลความรูในพื้นที่หอศิลป(หรือที่อื่นๆในโลกนี้)มิใชขอมูลที่ควรคาแกการจดจำหากแตเปนความรูในความเขาใจชีวิตผานสิ่งที่คนอื่นๆนอกจากตัวเราทำการบานมาระดับหนึ่งในอดีตหรือในยุคที่รวมกับเราจุดประสงคคือเพื่อเขาใจชีวิตทางสังคมของเราใหดีขึ้นนั่นเองทั้งนี้และทั้งนั้นอะไรก็ตามที่ควรเกิดขึ้นในพื้นที่หอศิลปควรสงเสริมบรรยากาศที่มีชีวิตหลากระดับมิใชปกคลุมไปดวยความศักดิ์สิทธิ์ที่ศาลพระภูมิทำหนาที่แทนไวแลว

ดังนั้นเสียงบนหลังกลับออกมาจากหอศิลปวา“อะไรวะดูไมรูเรื่องเลย!”ก็จะคอยเบาบางลงในขณะที่ศิลปนหรือคนอื่นๆที่เคยลอมกรอบตัวเองในพื้นที่หอศิลปแบบเดิมเริ่มเรียนรูโลกและความเปนไปของสังคมอื่นๆบาง

หอศิลปทั่วโลกกำลังเปลี่ยนนาจับตาดูครับหอศิลปแบบไทยๆจะถูกวางไวตำแหนงไหนทามกลางการเปลี่ยนแปลงนี้

www.finearts.cmu.ac.thwww.finearts.cmu.ac.th/cmuartcenter

Art Museum

8 Arts September 2008

Page 10: CMU ART 2

สุนทรียภาพคุณคาของภาพเขียนชาวบานถือเปนหลักฐานชิ้นสำคัญที่สะทอนใหเราทราบถึงบริบทในแตละยุคแตละสมัยแตละทองถิ่นที่สะทอนวิถีชีวิตความเปนอยูบานเรือนภาพเขียนชาวบานจึงเปนงานศิลปกรรมที่เปนสมบัติอันล้ำคาของชุมชนทองถิ่นและเปนสมบัติของชาติที่ทรงคุณคา“วิหารวัดบานกอ”เปนรูปทรงแบบลานนาในราวคริสตทศวรรษ1930พระภิกษุชื่อหลวงปูปออุดหนุนที่ไดอุทิศตนถายทอดเรื่องราวนิทานชาดกรามเกียรติ์ที่บันทึกลงใบลานที่เก็บรักษาไวในวัดลงบนฝาผนังวัดที่พึ่งกำลังสรางเสร็จ

ภาพจิตรกรรมฝาผนังมีสัดสวนตัวคนสัตวบานเรือนที่แสดงใหเห็นในภาพไมมีขนาดมาตรฐานที่แนนอนเล็กบางใหญบางสวนสีที่ใชเขียนภาพมีเพียงไมกี่สีมีสีแดงเหลืองเขียวและน้ำเงินครามสีตางๆเหลานี้ไดมาจากวัสดุธรรมชาติที่เรียกวาสีฝุน(tempera)เชนดินหินและพืชสีดำที่ไดมาจากเขมาไฟที่เรียกวา“เขมา”สีครามไดจากตนครามจึงเรียก“สีคราม”ดวยเทคนิควิธีตัดเขียนดวยสีดำเสนใหญหนาสื่อแสดงอารมณลีลาทวงทาทำใหภาพดูราวเคลื่อนไหวแลวเติมแตงใสสีในตัวเรื่องราวเดนๆฉากหลังจะปลอยหายกลืนไปกับผนังสีขาวเสนหของงานจิตรกรรมอยูตรงภาพตางๆสอดแทรกอารมณสนุกสนานแกกมุกตลกขบขันประเพณีวิถีชีวิตทองถิ่นชุมชนเสริมใหภาพนาสนใจมากยิ่งขึ้นเขียนลงบนผนังปูนแหง(secco)อาจเพราะการเขียนภาพจิตรกรรมประเพณีไทยมักเปนภาพขนาดเล็กตองตัดเสนใชเวลามากชางจึงนิยมใชฝุนซึ่งหาไดงายสะดวกจากวัสดุในทองถิ่น

เรื่องราวที่แสดงอยูบนฝาผนังทั้ง4ดานในวิหารผนังดานหลังพระประธานเปนการเขียนเรื่องราวพุทธประวัติมีภาพเรื่องราวเหตุการณสำคัญเรียงลำดับตั้งแตประสูติจนถึงปรินิพพานและถวายพระเพลิงผนังดานหนาสันนิษฐานวาเปนเรื่องราวเกี่ยวกับพระมาลัยภาพแสดงถึงนรกขนาดใหญเต็มผนังถายทอดภาพของนรกไดอยางนาสะพรึงกลัวภาพเหลายมพระบาลทรมานผูที่ไดกอกรรมทำบาปทำใหเตือนสติแกผูที่ไดมาชมภาพไดเปนอยางดีผนังทางดานทิศเหนือเขียนเรื่องพระเวสสันดรชาดกยาวตลอดแนวทางดานทิศใตเขียนเรื่องพรหมจักรหรือรามเกียรติ์ฉบับทองถิ่นลานนาดานตอนลางบริเวณแทนอาสนพระสงฆเขียนภาพพระสงฆนั่งเรียงลำดับกันมีขนาดเทาคนจริงดานนอกบริเวณหนาประตูทางเขาเขียนเรื่องหงษหินเปนวรรณกรรมพื้นบานลานนา

ตามชองขอบหนาตางชางไดเขียนภาพบุคคสำคัญสอดแทรกเขาไวอาทิภาพตำรวจหญิงถือปน

กำลังเล็งที่จะยิงปนตำรวจชายในทานั่งยิงปนและอีกหลายชองเปนตำรวจอยูในทาทางยืนพรอมคูกับปนการจัดวางองคประกอบภาพชางเขียนจากสวนลางของผนังไปหาสวนบนผนังเปนการสรางระยะใกลไปหาระยะไกลของภาพจะใชตำแหนงของภาพแทนการใชขนาดที่ตางกันตามหลักทัศนมิตินับวาโชคดีที่กงสุลใหญแหงสหรัฐอเมริกาไดเล็งเห็นความสำคัญและใหการสนับสนุนงบประมาณกวา2,112,000บาทผานอาจายวิถีพานิชพันธจากคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหมเพื่อเปนการอนุรักษภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดบานกอทำให

มีคำกลาววา“การทำงานของสมองทั้งที่เกี่ยวกับความทรงจำและทั้งการเลาถึงความทรงจำนั้นเปนไปในทำนองเดียวกัน”ตางกันก็แตความทรงจำพาเรายอนอดีตอยางเงียบๆอยูในความนึกคิดของตัวเราเองสวนการเลาซ้ำกินเวลาซึ่งเคลื่อนไปในอนาคตอยางเปนรูปธรรม

วิธีการเขียนบทความนี้ใชการเลาซ้ำถึงอดีตเรียบเรียงเงียบๆในความทรงจำแลวทำใหปรากฏในรูปของตัวหนังสือที่ไมมีเสียงในอักขระแตอาจมีเสียงและสำเนียงในตัวบทในขณะการรับรูของผูอานก็เปนได

‘ลางวรรณ’เปนชื่อของตัวละครหญิงในเรื่องสั้นชื่อ“วันลา”เขียนขึ้นขณะผูเขียนพำนักอยูเยอรมนีในระหวางปพ.ศ.2531-2533เปนชวงเวลาหลังจากเวลากอนหนานั้นที่ผูเขียนเรื่องสั้นยังไมรูวาคุณคาของศิลปะภาพพิมพครั้งเรียนปริญญาตรี/โทที่ทำนั้นควรถูกวางไวที่ไหนและอยางไรจึงผูกติดความหมายของชีวิตนักศึกษาศิลปะกับเรียงแถวของ“รางวัล”หลายครั้งในแตละปซ้ำๆหลายป

ตอมาการประจักษถึงโลกกวางและทางทดลองศิลปะที่หลากหลายทำให‘ลางวรรณ’พบคุณคาที่นอยลงของ‘รางวัล’ในขณะหลงใหลวาคุณคาของศิลปะที่เธอทำนั้นลนทนเกินคาของรางวัลคาของสามัญชีวิตและอื่นๆทั้งหมดทั้งปวง

ทัศนคติดังกลาวทำใหวันหนึ่งเธอปฏิเสธการรับรางวัลสำหรับการสรางสรรคโครงการระดับชาติแหงหนึ่งจำนวนหนึ่งแสนบาท

เราอาจตั้งขอสังเกตวาเธอทำดังนั้นไดก็เพราะ‘ลางวรรณ’นางเอกของเรื่องไมมีครอบครัวประการหนึ่งนอกจากนี้เราอาจตั้งขอสังเกตอีกดวยวาเธอยังมีความเปนผูใหญไมพอที่จะเขาใจ‘เกมเกียรติ’ในแบบนั้น

ตอมาทัศนคติในชีวิตของ‘ลางวรรณ’เปลี่ยนไปจากที่เคยไดปลื้มกับศิลปะเชิดชูดวยการไดรางวัลและมาหลงใหลรสศิลปะที่ปราศจากซึ่งรางวัลถึงตรงนี้เราตองลงรายละเอียดจึงจะเขาใจหรือลงรายละเอียดแลวก็ยิ่ง

ไมเขาใจก็เปนไดเชนการตระหนกเราในใจขณะลงนอนเคียงรางไรชีวิตผูไมเคยยินเสียงบทกวีและเพลงเด็กร่ำรองถึงดวงดาวหรือความพิศวงตื่นงงในระงมเสียงสงขอความของผูหญิงวิกลจริตรายลอมในหองกวางที่ไมอาจนำใจความใดมาสูลักษณาการ

รับรสพรรณอยางนี้จากศิลปะนั้น‘ลางวรรณ’เคยรับรูมาแลวจากการเขียนครั้งตวัดดินสอเร็วๆบันทึกความคิดคำนึงในค่ำคืนการเดินทางไกลกลับบานเปนบทสงทายเรื่องสั้นชื่อวันลาความวา

“จากหนาตางเครื่องบินในค่ำคืนนี้ฉันอยูสูงเทากับดวงดาวบางครั้งสูงกวาเมืองขางลางไกลลิบนั้นเหมือนประกอบดวยเพชรเม็ดเล็กพราวใสถักทอเปนรางแหกระจายอยูบางเปนกลุมบางเปนเสนเหลี่ยมแลดูอยางกับเมืองในนิทานตั้งอยูบนผืนดำแกมสีน้ำเงินเขมของแผนดินของแผนน้ำและเธอก็คงเหมือนฝุนเม็ดเล็กบนผาขาวนุมหลับนิ่งอยูในที่แหงหนึ่งแหงใดไกลๆภายใตราตรีกาลในอณูของวันใบไมรวงในความเหน็บหนาวของความเปนจริงและการจากลา”

แลววันหนึ่ง‘ลางวรรณ’ตัวเอกก็หวนกลับมาเยาะเยยถากลอศิลปะในบางครั้งก็...เพราะเหตุวาอยูกันมานานหลายสิบปเพราะ‘เราสนิทกันระหวางศิลปะกับเจาของผลงาน’การเยาะเยยสิ่งที่เคยใหลหลงอยูในบทความหนึ่งขึ้นตนวา

“มันคือศิลปะอยาดูถูกมันละหากวาฝนไมตกเลยคุณสามารถเลือกไดวาจะยกยอมันหรือไม

คุณ(อาจ)ทำอะไรก็ไดเพราะวามันคือศิลปะกดหมอกลอยเรี่ยใหฝงจมน้ำในบึงเงียบไกลตาในเชาที่สวย

ที่สุดแลวฮัมเพลงเบาๆเดินจากมา”ดวยทัศนคติที่วา(อาจ)ทำอะไรก็ไดเพราะวาคือศิลปะในที่สุด

‘ลางวรรณ’นางเอกของเรื่องสั้นที่...เมื่อเลามาถึงตรงนี้เรื่องชักจะตื้นเขินขึ้นก็ไดรับรางวัลจากสังคมนักวิชาการชั้นสูงที่เมื่อทบทวนดูแลวก็...ไมนาแปลกใจนักที่ศีลธรรมและจรรยาบรรณของผูเกี่ยวของเชิงสังคมมักมีคาน้ำหนักมากกวารสล้ำในงานสรางสรรคของศิลปนที่แมใครจับสำเหนียกไดวาล้ำอยางไรในรสก็เปนนามธรรมสำหรับปจเจกหนึ่งเทานั้นอยางนอยๆเรื่องเลาที่เกยตื้นนี้ก็...เปนเรื่องดีที่วิญญาณของศพในงานศิลปะวีดิทัศนสามารถทำการโหมเราปลุก

สำนึกปราดเปรื่องดีงามของปราชญที่ยังเปนอยูและคือไดแมไมพูดถึงอรรถรสในศิลปะกันเลยก็ตามแมไมเอยถึงประเด็นวิชาการวาดวยความตายผานสัมมนาและ

นิทรรศการงานศิลปะในยุโรปและอเมริกาทั้งขบวนแถวในราวหาปยอนหลังอยาง

BourgeoisdeaththecultureofcivicburialfromtheEn-lightenmentstotheearly20thcentury:ความตายของชนชั้นกลาง:วัฒนธรรมการฝงศพจากสมัยเอนไลทเมนตถึงกอนศตวรรษที่20

Grave,cultandmemory:หลุมฝงศพลัทธิความเชื่อและความทรงจำ

ConstructionofDeath,MourningandMemory:โครงสรางความตายความคร่ำครวญและความทรงจำ

Cemetery:DesignObjectbetweeneternityandtransience:ปาชา:การออกแบบวัตถุระหวางนิรันดรกาลกับความไมถาวร

ในขณะที่ศิลปนเหลียวหาจรรยาบรรณของตนเองที่ถูกทอดทิ้งไปนานแลวตั้งแตตกลงใจเปนศิลปน

ตัวละครหญิงแกตัวลงเพราะเวลาในเรื่องสั้นผานไปถึง20ปพลันชีวิตแหงความทะเยอทะยานทั้งทางศิลปะและทางโลกชะลอชาจวนหยุด

เปนไปในทามกลางชีวิตของสัตวที่ลวนถูกกระทำจนพิกลพิการผูไมเคยสงเสียงเรียกรองถึงความจำเปนในการเลี้ยงดู‘ลางวรรณ’ตระหนักถึงคุณคาของเงินรางวัลอยางจริงจังเปนครั้งแรกในชีวิตในคาอยางธรรมดาสามัญทั่วไปใชซื้อขายทำกินเลี้ยงชีวิตสัตวตกยากเหลานั้นได

ในอีกดานหนึ่ง‘ลางวรรณ’ก็...ขบขันเอ็นดูใน‘รางวัล’ไมมีอะไรซับซอนระหวาง‘เกมเกียรติ’ไมวาผานการ‘ไดรางวัล’

หรือการ’ประกาศซึ่งจรรยาบรรณ’ของใครไมแมแตความซับซอนของศิลปะตางลวนรวมกันเปน‘ตัวบท

ชีวิต’ใหอานใหตีความรับสัมผัสเพื่อทำความเขาใจกับการมีอยูทำความเขาใจแมกระทั่งการไมมี

ไมตางจากถอยความสรางความเขาใจตอชีวิตมุมหนึ่งมีโจทยจากความมีและไมมีของชีวิตสำนวนของHeineMuellerจากขอเขียนชื่อUeberEurerStaedtewirddasGrasswachsen:เหนือผืนดินของทานหญาจะงอกงามขึ้นความวา

ตัวละครชื่อ‘ลางวรรณ’ในเรื่องสั้นชื่อ‘วันลา’กับ‘รางวัล’ของเธอ

Article

อารยาราษฎรจำเริญสุข

ตีพิมพในสูจิบัตรศิลปาธร2551

อานตอหนา12

สุวิทยคิดการงาน:เรียบเรียง

วัดบานกอ

ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดบานกอจึงยังคงใหเราเขาใจถึงพุทธประวัติชาดกและเรื่องราวในอดีตเกี่ยวกับชุมชนบานกอไดเปนอยางนาชื่นชมและเปนที่นายินดียิ่งขึ้นเมื่อสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภไดมอบรางวัลการอนุรักษศิลปสถาปตยกรรมดีเดนประจำปพ.ศ.2551ประเภทปูชนียสถานและวัดวาอารามใหกับ“วิหารวัดบานกอ”

หวังวาชุมชนบานกอจะรวมกันอนุรักษภาพจิตรกรรมฝาผนังมรดกชิ้นนี้ใหสืบทอดกันตอไป

Arts September 2008 9

Page 11: CMU ART 2

Article

แตทวาสิ่งที่เราควรถามทั้งหมดเกี่ยวกับการเรียนรูนี้ก็คือจะวาดภาพไดอยางไร?งานวิจัยเมื่อไมนานมานี้เกี่ยวกับหนาที่ของซีกสมองของมนุษยและลักษณะของกระบวนการทางดานขอมูลขาวสารของการเห็นไดบงชี้วาความสามารถในการวาดภาพนั้นขึ้นอยูกับการที่เราตองเขาไปถึงความสามารถของสมองสวนรอง (minor)หรือสวนที่สองนั่นคือสมองซีกขวาหรือไมเราก็ตองปรับเปลี่ยนลดเลี้ยวหรือปดสมองซีกซายที่ครอบงำทางดานคำพูดอยูนั้นเสียและเปดสมองซีกขวาของเรา.คำถามตอมาก็คือการทำเชนนี้จะชวยใหผูคนวาดภาพไดอยางไร?ปรากฏวาการรับรูของสมองซีกขวาซึ่งเปนกระบวนการขอมูลขาวสารที่เปนภาพ(visual information)ตองการใชสายตา(การมอง)เพื่อที่จะวาดรูปและการรับรูของสมองซีกซาย(ที่เกี่ยวของกับคำพูด)ดูเหมือนวาจะมาแทรกแซงในการวาดภาพ

รองรอยตางๆของภาษา(Languageclues)

ในการเขาถึงปญหาที่ซอนเรนอยูพวกเราตางก็ตระหนักกันแลววามนุษยนั้นตองมีผัสสะบางอยางที่แตกตางกันระหวางซีกสมองทั้งสองขางทั้งนี้เพราะคำพูดของเราไดมีคำและวลีตางๆบรรจุอยูไวเปนจำนวนมากซึ่งยกตัวอยางเชนดานซายของ

คนๆหนึ่งนั้นมีคุณลักษณะที่เฉพาะที่แตกตางไปจากดานขวาในกรณีนี้ไดชี้ใหเห็นวาไมเพียงแตความแตกตางของตำแหนงที่ตั้งเทานั้นแตคุณสมบัติเฉพาะหรือคุณภาพโดยพื้นฐานก็มีความแตกตางกันดวยอยางเชนถาเราตองการที่จะเปรียบเทียบความนึกคิดที่ไมเหมือนกันเราอาจจะพูดวา“ในดานหนึ่ง”(ontheonehand-บนมือหนึ่ง)....“ในอีกดานหนึ่ง”(ontheotherhand–บนมืออื่น)หรือการสรรเสริญแบบเสียดสี(Aleft-handedcompliment–สรรเสริญแบบมือซาย)หมายถึงการทิ่มแทงที่มีเลหเหลี่ยม(slydig)ซึ่งเปนการอางอิงและบงชี้ไปถึงคุณสมบัติที่ตางกันซึ่งพวกเรากำหนดหรือมอบหมายใหกับคำวาซายหรือขวา

อยางไรก็ตามพึงระลึกไววาวลีตางๆเหลานี้โดยทั่วไปแลวเปนการพูดถึงเรื่องที่เกี่ยวกับมือแตเนื่องจากวาสะพานที่เชื่อมตอของมือทั้งสองมันไปถึงสมองในกรณีนี้จึงเปนการอนุมานถึงความหมายของสมองซีกที่ควบคุมการทำงานของมือแตละขางจากตัวอยางตางๆที่เราคุนเคยในสวนถัดไปจะอางอิงถึงมือซายและมือขวาเปนการเฉพาะแตในความเปนจริงไดมีการอางอิงหรืออนุมานถึงซีกสมองที่ตรงขามกันสมองซีกขวาเชื่อมตอกับมือซายสวนสมองซีกซายเชื่อมตอกับมือขวา

อคติของภาษาและธรรมเนียมประเพณี(TheBiasofLanguageandCustom)

เราเคยสังเกตไหมวามีคำและวลีตางๆที่เกี่ยวของกับแนวความคิดซาย-ขวาที่ซึมแทรกอยูในภาษาและความคิดของเราโดยทั่วไปมือขวา(หมายถึงสมองซีกซาย)ไดถูกเชื่อมตอกับสิ่งที่เปนเรื่องความดีความยุติธรรมศีลธรรมความเหมาะสมในขณะที่มือซาย(ซึ่งผูกพันไปถึงสมองซีกขวา)ไดถูกเชื่อมโยงกับแนวความคิดที่เกี่ยวกับอนาธิปไตยและความรูสึกตางๆซึ่งอยูเหนือการควบคุมหรือจิตสำนึกที่คอนขางจะเปนความหมายที่เลวไมมีศีลธรรมและเปนอันตราย

จนกระทั้งเมื่อเร็วๆนี้อคติที่มีมาแตโบราณกับมือซาย/สมองซีกขวาทำใหบางครั้งครอบครัวทางบานและครูบาอาจารยหลายคนที่มีลูกหรือลูกศิษยถนัดซายพยายามที่จะบังคับเด็กๆใหใชมือขวาในการเขียนหนังสือกินขาวและทำอะไรตางๆการกระทำดังกลาวเปนสาเหตุของปญหาติดตามมาเมื่อเด็กๆเหลานี้เติบโตขึ้นมาเปนผูใหญ

โดยตลอดประวัติศาสตรของมนุษยชาติคำตางๆที่แฝงความหมายเกี่ยวกับความดีของมือขวา/สมองซีกซายและความชั่วรายของมือซาย/สมองซีกขวาซึ่งปรากฏซอนเรนอยูในภาษาตางๆสวนใหญทั่วโลก

สำหรับภาษาลาตินคำวา“ซาย”(สมองซีกขวา) ก็คือ “sinister”หมายถึง“ความเลว”ลางรายไมเปนมงคล(ominous) อุบาทว-อัปรียสวนคำวา“ขวา”ก็คือ“dexter”หรือชำนาญแคลวคลองหลักแหลมซ่ึงผันมาเปนภาษาอังกฤษวา“dexterity” มีความหมายวา“เปนทักษะ-ความชำนาญ”(skill)หรือ“คลองแคลว”(adroitness)

สวนในภาษาฝรั่งเศสคำวา“ซาย”(สมองซีกขวา)ก็คือคำวา“gauche”หมายถึง“งุมงาม,เกงกาง”จากคำๆนี้มาเปนภาษาอังกฤษวา“gawky”แปลวา“งุมงาม,ซุมซาม”สำหรับคำวา “ขวา”ก็คือ“droit”หมายถึง“ความดีความถูกตองหรือเหมาะสม”เปนตน

ในภาษาอังกฤษคำวา“ซาย”(สมองซีกขวา)มาจากภาษาแองโกล-แซกซันวา“lyft”หมายถึง“ออนแอหรือไมมีคุณคา” (weakorworthless)อันที่จริงคนที่ถนัดมือซายในหมูของคนถนัดมือขวาสวนใหญมักจะออนแอกวาอยูแลวแตสำหรับดั้งเดิมของคำๆนี้โดยนัยยะบงบอกถึงการขาดเสียซึ่งความเขมแข็งทางดานศีลธรรมนั่นเอง

ความหมายที่เสื่อมเสียของคำวา“ซาย”อาจเปนการสะทอนถึงอคติของคนที่ถนัดขวา(ซึ่งเปนคนสวนใหญ)ที่มีตอคน

ที่ถนัดซาย(ซึ่งเปนคนสวนนอย)อันเปนบุคคลที่มีความแตกตางไปจากพวกตนนั่นเอง.เพื่อเปนการสนับสนุนอคตินี้คำวา“ขวา”ซึ่งมาจากภาษาแองโกล-แซกซันวา“rabt”(หรือribt)มีความหมายวา“เหยียดตรงแนวตรงหรือถูกตอง”(straightorjust)จากคำวา “rabt”และภาษาลาตินซึ่งกำเนิดจากตระกูลเดียวกันคือคำวา “rectus”ไดถูกรับเขามาเปนภาษาอังกฤษคือคำวา“ความถูกตองและความเที่ยงธรรม”(correctandrectitude)

นอกจากนี้ความคิดดังกลาวยังมีผลกระทบไปถึงความคิดเห็นทางการเมืองดวยยกตัวอยางเชนพรรคฝายขวาทางการเมืองถูกถือวาเปนอำนาจทางการเมืองของชาติมีลักษณะอนุรักษนิยมและตอตานความเปลี่ยนแปลงสวนพรรคฝายซายเปนพรรคที่ตรงขามกันและถือวาเปนพวกอิสระที่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลงแมกระทั่งการเปลี่ยนแปลงในระดับรากเลยทีเดียวในทางที่สุดขั้วพรรคการเมืองฝายขวาถูกถือวาเปนพวกฟาสซิสท(fascist)หรือเผด็จการในขณะที่พวกฝายซายถือวาเปนพวกอนาธิปไตย(anarchist)

ในบริบทประเพณีและวัฒนธรรมที่มีแขกผูมีเกียรตินั่งหรือยืนอยูในงานเลี้ยงอาหารค่ำอยางเปนทางการจะตองอยูใน ตำแหนงขวามือของเจาภาพ,ในพิธีแตงงานเจาบาวจะตองยืนอยูทางดานขวามือสวนเจาสาวนั้นอยูทางซาย.สารที่ไมตองใชคำพูดเหลานี้เปนเรื่องของสถานะความสัมพันธของบุคคลที่มีสวนรวมกันสองคนเวลาจับมือทักทายกันเราก็ใชมือขวาดูเหมือนวาคอนขางจะผิดปกติหากจับมือทักทายกันดวยมือซายเหลานี้เปนตน

ภายใตศัพทคำวา“มือซาย”(lefthand)ในพจนานุกรมไดบันทึกศัพทคำพองกับคำวา“งุมงาม”(clumsy)“เกงกาง” (awkward)“ไมจริงใจ”(insincere)และ“ความประสงคราย” (malicioius).สวนศัพทคำพองกับคำวา“มือขวา”(righthand) ก็คือ“ความถูกตอง”(correct)“จำเปนอยางยิ่งขาดเสียไมได” (indispensable)และ“เชื่อใจได”(reliable)เปนตน.มาถึงตรงนี้สิ่งที่สำคัญก็คือคำทั้งหลายเหลานี้ตางไดรับการเสกสรรขึ้นมาเมื่อตอนที่เริ่มมีภาษาขึ้นมาใชสมองซีกซายเรียกชื่อสมองซีกขวาดวยชื่อตางๆที่เลวรายเหลานี้และสมองซีกขวาถูกติดฉลากไปในทางที่ไมดีโดยที่ธรรมชาติของมันถูกบังคับใหเชื่อฟงโดยปราศจากคำพูดใดๆที่จะตอบโตหรือปกปองตัวเองเลย

หนทางทั้งสองของความรู(Twowaysofknowing)

จากตัวอยางขางตนเปนเรื่องของความหมายกวางๆที่แฝงเรนอยูในทางตรงขามของคำวา”ซาย”และ”ขวา”ในภาษาตางๆซึ่งเปนแนวความคิดที่เกี่ยวกับทวินิยม(dualism)หรือความคิดแบบคูตรงขามและความคิดเหลานี้ไดถูกวางหลักการขึ้นมาโดยบรรดานักปรัชญาครูบาอาจารยและนักวิทยาศาสตรจากหลายยุคหลายสมัยและหลายวัฒนธรรมความคิดสำคัญอันนี้ก็คือมันมีหนทางที่ขนานกันซึ่งเปนหนทางของความรูนั่นเอง

เปนไปไดที่เราอาจจะคุนเคยกับความคิดเหลานี้กันมาแลวซึ่งคำวา“ซาย”และ”ขวา”ไดฝงตรึงอยูในถอยคำภาษาและวัฒนธรรมตัวอยางเชนการแบงแยกที่สำคัญระหวาง”ความคิด”และ”ความรูสึก”(thinkingandfeeling)“สติปญญา”กับ”สหัชญาณ”(intellectandintuition)การวิเคราะหเชิง”วัตถุวิสัย”และความเขาใจเชิง”อัตตวิสัย”(objectiveanalysisandsubjective insight)นักรัฐศาสตรกลาววาโดยทั่วไปแลวผูคนวิเคราะหเรื่องของ”ความดี”-“ความเลว”ของประเด็นปญหาใดปญหาหนึ่งและก็ออกเสียงลงคะแนนใหกับความรูสึกที่เปนแกนแทภายในอันนั้น.ในวิชาประวัติศาสตรและวิทยาศาสตรอุดมสมบูรณไปดวยเกร็ดความรูตางๆเกี่ยวกับนักวิจัยที่พยายามจะแกปญหางานวิจัยของพวกเขาออกมาซ้ำๆและมีความฝนอันหนึ่งซึ่งคำตอบไดเสนอตัวมันเองออกมาดั่งอุปมาความเขาใจในลักษณะสหัชญาณ(ไมเกี่ยวของกับเหตุผล).คำกลาวของHenriPoincareนับวาเปนตัวอยางที่ชัดเจนเกี่ยวกับกระบวนการอันนี้

“ในอีกบริบทบางโอกาสผูคนไดพูดถึงเกี่ยวกับคนบางคนวา“คำพูดคำจาและสำเนียงใชไดแตมีบางสิ่งบางอยางบอกกับฉันวาอยาไดไปแตะตองเขาหรือเธอเปนอันขาด”หรือ“ฉันไมอาจบอกกับคุณเปนคำพูดไดชัดๆวามันเปนอะไรแตมันมีอะไรบางอยางเกี่ยวกับเขาที่เปนคนที่ฉันชอบ(หรือไมชอบ).คำพูดตางๆเหลานี้เปนการตั้งขอสังเกตในลักษณะสหัชญาณ(intuitiveobservation)ซึ่งสมองทั้งสองขางทำงานรวมกันมันเปนกระบวนการทางดานขอมูลอยางเดียวกันในการรับรูที่แตกตางกันสองทาง”

รูปแบบสองอยางของกระบวนการขอมูล(Thetwomodesofinformationprocessing)

ภายในกระโหลกศีรษะแตละคนเนื่องจากพวกเราตางมีสมองกันอยูคูหนึ่งซึ่งเปนสมองของความรู,ความเปนทวิ(คู),และมีลักษณะเฉพาะที่แตกตางกันครึ่งสมองทั้งสองสวนและรางกายแสดงออกไปตามสหัชญาณในภาษาของเราแตอยางไรก็ตามมีพื้นฐานความจริงอันหนึ่งในวิชาสรีรศาสตรเกี่ยวกับสมองของมนุษยตามปกติแลวมันมีการเชื่อมตอของเสนใยประสาทนับลานพวกเราจึงไมคอยจะประสบกับความขัดแยงในระดับจิตสำนึก (ซึ่งอันนี้เปรียบเทียบกับการทดสอบกับคนไขตางๆที่ไดรับการผาตัดสมอง)

ขณะที่แตละซีกของสมองของเรารวมกันรับรูขอมูลอยางเดียวกันนั้นแตละครึ่งสมองของเราจะจับฉวยขอมูลในหนทางที่ตางกันภาระหนาที่ของมันอาจไดรับการแบงแยกระหวางซีกสมองทั้งสองสวนแตละสวนจะยึดฉวยขอมูลในลักษณะที่

ตอจากหนา5เหมาะสมกับวิธีการของมันหรือไมก็ซีกใดซีกหนึ่งซึ่งมักจะเปนดานซายที่มีบทบาทนำจะรับหนาที่และทำการสกัดกั้นสมองอีกครึ่งหนึ่งออกไปสมองซีกซายจะทำหนาที่วิเคราะหเก็บสาระสำคัญตรวจนับเคาะจังหวะกระทำการวางแผนเปนขั้นๆทำหนาที่เกี่ยวกับเรื่องของคำพูดสรางคำพูดที่เปนเหตุผลที่วางอยูบนพื้นฐานของตรรกะยกตัวอยางเชน“การใหตัวอยางของabและc–เราอาจกลาววาถาaใหญกวาbและbใหญกวาcดังนั้นaจึงใหญกวาcอยางแนนอน”ตัวอยางที่ยกขึ้นมากลาวนี้เปนการแสดงใหเห็นถึงวิธีการของสมองซีกซายซึ่งทำหนาที่วิเคราะห(analytic)เปนเรื่องของคำพูด(verbal)คิดคำนวณ (figureingout)มีความตอเนื่อง(sequential)เกี่ยวกับสัญลักษณ (symbolic)เปนเสนตรง(linear)และมีลักษณะวัตถุวิสัย(objective mode)

อีกกรณีหนึ่งพวกเราตางก็มีหนทางอยู2ทางในเรื่องของความรูกลาวคือวิธีการของสมองซีกขวา.เรา“เห็น”สิ่งตางๆโดยอาจเปนเรื่องของมโนภาพหรือจินตนาการซึ่งดำรงอยูเพียงในดวงตาแหงจิตใจ (mind’seye)หรือรำลึกถึงสิ่งตางๆที่เปนจริง(อยางเชนเราสามารถนึกถึงภาพประตูหนาบานของเราได)เราเห็นสิ่งตางๆที่ดำรงอยูและสวนประกอบที่ไปดวยกันซึ่งสรางขึ้นมาเปนภาพทั้งหมดไดเปนตน.การใชสมองซีกขวาเราเขาใจเชิงอุปมาอุปไมย,เราฝน,เราสรางความนึกคิดใหมๆ,มีการผนึกกันทางความคิด,เมื่อมีบางสิ่งบางอยางที่มีความยุงยากซับซอนที่จะอธิบายเราสามารถที่จะแสดงอากัปกริยายกมือยกไมขึ้นประกอบเพื่อที่จะสื่อสาร.นักจิตวิทยาDavidGalinเปนตัวอยางที่ดีซึ่งนิยมนำมาอางตัวอยางหนึ่งสำหรับเรื่องนี้คือการพยายามที่จะอธิบายบันไดเวียนโดยการทำมือทำไมวนไปวนมาและการใชสมองซีกขวานั้นทำใหเราสามารถที่จะวาดภาพตางๆที่เราสัมผัสรับรูได

ในกระบวนการเกี่ยวกับขาวสารขอมูลของสมองซีกขวาเราใชสหัชญาณและกระโจนขามไปสูความเขาใจอยางลึกซึ้ง(intuition andleapofinsight)ในชวงขณะที่“สรรพสิ่งดูเหมือนกำลังตกอยูในสถานการณ”ที่ปราศจากสิ่งใดๆซึ่งสามารถจะแกปญหาไดในแบบแผนของตรรกะหรือเหตุผลเมื่อมีเหตุการณทำนองนี้เกิดขึ้นผูคนสวนใหญมักจะเปนโดยอัตโนมัติและในทันทีพรอมอุทานออกมาวา“ฉันพบแลว”หรือ“อา...ใชแลวฉันเห็นภาพของมันแลวตอนนี้”ตัวอยางที่คลาสสิก

ของการรองอุทานออกมาเชนนี้ก็คือการตะโกนออกมาดวยความปติยินดีอยางยิ่งวา“ยูเรกายูเรกา!”(ฉันพบแลวฉันพบแลว)ซึ่งเปนคำอุทานของอารคิมิดิส.ตามเรื่องเลานั้นอารคิมิดิสเขาใจอยางแจมแจงโดยทันทีในขณะที่แชตัวลงในอางอาบน้ำซึ่งทำใหเขาสามารถที่จะสรางสูตรในการชั่งน้ำหนักของแข็งตางๆไดดวยวิธีการใชการแทนที่ของน้ำ

ดวยตัวอยางที่ยกขึ้นมานี้คือลักษณะการทำงานของสมองซีกขวา

เปนเร่ืองของสหัชญาณ(intuition)เปนเร่ืองอัตตวิสัย(subjective)เปนเรื่องที่สัมพันธกันทั้งหมดลักษณะที่เปนอิสระจากกาลเวลาซึ่งสิ่งตางๆที่กลาวมานี้ไดรับการดูถูกเหยียดหยามถูกกลาวหาวาเปนเรื่องของความออนแอลักษณะหรือวิธีการของมือซาย(สมองซีกขวา)ซึ่งโดยทั่วไปแลวในวัฒนธรรมของเราถือวาเปนเรื่องที่ถูกละเลยอยางมากยกตัวอยางเชนระบบการศึกษาของคนสวนใหญไดรับการออกแบบขึ้นมาเพื่อที่จะบมเพาะวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับการใชคำ(พูด)(verbal)เกี่ยวกับเหตุผล(rational)ซึ่งเปนเรื่องของสมองซีกซายในขณะสมองอีกซีกหนึ่งของนักศึกษาทุกคนถูกละเลยโดยไมไดใหความเอาใจใสแตอยางใด

ตอจากหนา1

การเมืองของพวกพังคครอบคลุมในทุกๆมิติแมวาสวนใหญของบรรดาพังคอาจไดรับการจัดหมวดหมูวาเปนพวกฝายซาย,หรือมีทัศนะที่กาวหนาก็ตาม.พังคบางพวกไดมีสวนรวมในการประทวงการเปลี่ยนแปลงของทองถิ่นการเปลี่ยนแปลงประเทศและโลก.แนวโนมบางอยางในกลุมการเมืองพังครวมถึงพวกนิยมแนวคิดแบบอนาธิปไตย,แนวคิดสังคมนิยม,แนวคิดตอตานเผด็จการ,ตอตานลัทธิทหาร,ตอตานทุนนิยม,ตอตานการเหยียดเชื้อชาติ,ตอตานการดูถูกทางเพศ,ตอตานพวกชาตินิยม,ตอตานพวกที่รังเกียจรักรวมเพศ.บรรดาพังคใหการนับถือลัทธิสิ่งแวดลอม,มังสวิรัตินิยม,ตอตานการบริโภคผลิตผลที่ไดมาจากสัตวการสวมใสเครื่องนุงหมที่ทำจากหนังสัตวและเสื้อขนสัตว,ใหการเคารพในเรื่องสิทธิสัตว(animalright).แตอยางไรก็ตามพังคบางคนในกลุมวัฒนธรรมยอยพังคที่เปนพวกฝายขวาก็มี(ยกตัวอยางเชนเว็บไซตของพังคแนวอนุรักษนิยม-theConservativePunkwebsite),พังคในแนวเสรีนิยม,นีโอนาซี,(neo-NaziดูNazipunk),หรือพวกที่ไมสนใจการเมือง(apolitical).

(กองบรรณาธิการ:ศัพทศิลปะ)

10 Arts September 2008

Page 12: CMU ART 2

ผมสอนที่ภาควิชาสื่อสารมวลชนมหาวิทยาลัยเชียงใหมเมื่อป2516กระทั่งป2520มหาวิทยาลัยมีโครงการจัดตั้งคณะศิลปะขึ้นจึงไดเชิญอาจารยปฐมพัวพันธสกุลอาจารยกมลศรีวิชัยนันทอาจารยสงัดปุยออกไปประชุมสมัยนั้นอาจารยพิสิทธิ์วรอุไรเปนอธิการบดีไดประชุมรางโครงการศิลปะตางๆผมก็เขาบางไมเขาบางตอนหลังกลายเปนชื่อ“วิจิตรศิลป”ที่มีแตหลักสูตรจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพเทานั้นเองผมแยงวาไมไดตองมีศิลปะทองถิ่นดวยซึ่งในที่ประชุมก็วาศิลปะทองถิ่นมันเปน“lowart”ใหไปเรียนที่อื่นก็ไดเถียงกันวาลานนาเปนที่ที่มีงานศิลปกรรมเยอะมากขอใสไวกอนขอเรียกไปกอนวา“ศิลปะไทย”ก็แลวกันทุกคนก็คิดวาศิลปะไทยคือลายไทยลายกนกขอใหผมรางวิชาศิลปะไทยผมก็ใสวิชาประวัติศาสตรศิลปตะวันตกตะวันออกดรออิ้งมาจนกระทั่งวิชาลวดลายพื้นเมืองงานประติมากรรมพื้นเมืองลวดลายปูนปนไมแกะสลักตางๆมีคนถามวาแลวใครจะสอนผมวาแถวนี้ชางพื้นเมืองเยอะแยะผูบริหารเห็นวานาสนใจดีก็เลยแนบรางหลักสูตรไปซึ่งปรากฎวาผมรางเสร็จกอนใบรางจึงอยูดานหนา

สุดพอสงไปก็ไดรับใหกลับมาปรับปรุงเรื่องหนวยกิตเชนหามมี4หนวยกิตหามมีครึ่งหนวยกิตนอกนั้นก็เรียบรอยมีออฟฟสเกิดขึ้นมาทางมหาวิทยาลัยก็สงสตาฟมาคืออาจารยสุนันทารัตนาวะดีอาจารยสวัสดิ์โฆสิโตอาจารยเลี่ยมธีรัทธานนทในชวงแรกผมสอนวิชาในศิลปะไทยติดตอเชิญอาจารยพิเศษที่รูจักมาสอนเชนหมอมเจาสุภัทรดิศดิศสกุลอาจารยจักรพันธโปษยกฤตดร.พิริยะไกรฤกษซึ่งเพิ่งจบมาจากตางประเทศอาจารยสุรพลวิรุฬหรักษตอมาก็เปนConnectionของผมที่ไดเชิญอาจารยมณีพยอมยงคอาจารยเผาทองทองเจืออาจารยคมกฤชเครือสุวรรณกระทั่งชางพื้นเมืองที่รูจักเชนสลาอูดเสถียรณวงศรักษ

ในชวงป2526ผมไดเอาผาที่มีอยูมาผสมผสานกับผาสะสมของคนที่รูจักไปแสดงแฟชั่นที่โรงแรมเชียงใหมออรคิดมีคุณอุมคุณปอมจากรานสบันงามาชวยมีนางแบบมาเดินแฟชั่นมีการนุงผามัดนมซึ่งนางแบบพยามดึงผาลงมาปดพุงไวซิ่นคุณยาที่นำมาจากลำปางซึ่งจากเชียงใหมซิ่นไหมคำจากเชียงตุงซิ่นแมแจมจากคนใชที่บานซิ่นหาดเสี้ยวจากคุณสาธาซิ่นเมืองนานจากอาจารยจิราภรณซิ่นลื้อทาขามจากหลานที่เชียงของซิ่นกานคอควายจากเมืองแพรรวมทั้งหมดเจ็ดชุดก็เดินแฟชั่นไดดวยความเปนลานนา

ที่ไมใชชุดไทยอินเตอรบวกกับความเปรี้ยวของนางแบบก็ประสบความสำเร็จมากสังคมก็เริ่มตระหนกเพราะผิดไปจากที่คุนเคยเหมือนกับเคยรูมาวาชุดไทยอินเตอรคือชุดลานนาผิดจากนี้ไปแลวไมใชก็เปนที่วิพากษวิจารณกันอยางกวางขวางแตจากนั้นก็มีคนขอไปออกงานตางๆมากมายเชนที่บอสรางที่ลำปางกรุงเทพที่ริเวอรซิตี้มีเจากอแกวประกายกาวิลมาดูดวยทานวารูสึกดีใจที่ลานนาไดรับการยอมรับจากนั้นก็เริ่มไดซิ่นลาวครั่งซิ่นอีสานซิ่นไทใหญก็เลยเปด“วิชาสิ่งถักทอ

และผาไท”เขาไปซึ่งเปนวิชาแรกที่แตกตางจากที่อื่นๆมีอาจารยเผาทองทองเจือเขามาสอนหัวขอผาราชสำนักอาจารยแพททริเซียสอนหัวขอผาลาว

มีชวงหนึ่งที่ยังไมมีบัณฑิตจบผมรูสึกupsetมากที่มีคนพากันประณาม

วาเด็กศิลปะไทยจบไปแลวจะไปทำอะไรเขาไมเขาใจวาการสอนใหนักเรียนมาdiscoverตัวเองเปนอยางไรไมมีใครยอมรับวาการสอนเด็กก็ตองใหเด็กเสาะหาดวยตัวเองทุกคนเขาใจวาการสอนตองสอนใหเปนใหหมดจึงจะจบออกไปไดซึ่ง

ผมเองเคยเห็นมาจากเมืองนอกวาถาสอนใหวาดรูปก็อดตายกันหมดทุกคนที่เพิ่งจบมัธยมมาจะไปรูไดอยางไรถึงการแสวงหาตนเองจนเมื่อมีบัณฑิตจบไปแลวก็มีสวนชวยใหไดคำตอบเพราะสามารถคนหาตัวตนของตัวเองเจอผมถือวานี่คือความสำเร็จของศิลปะไทยและมีความมั่นใจขึ้นวาอยากทำอะไรใหตอไปซึ่งการทำอะไรใหนั้นผมมาคิดตออีกนานกระทั่งประมวลไดวาควรเปดกลุมวิชาโทArtManagementเพราะเห็นวาจะเปนการทำใหเราเขาสูโลกของวงการศิลปะในปจจุบันไดเร็วขึ้นถาเรารูวิธีเขาไป“จัดการ”เพิ่มความคลองตัวมีความรูเรื่องธุรกิจมีนายหนาทั้งหลายรูวิธีที่จะหากินกันอยางไรไมใชเปนคนที่ถูกเขาใชใหไปหากินแตตองรูวาเราจะเอาอันนี้มาตอกับอันนั้นอยางไรเชนโรงแรมปจจุบันที่ไมใชจะมีบริการอยางเดียวมันตองมีartเขามาแตจะเอาไปใชอยางไรพิพิธภัณฑก็เหมือนกันไมใชเปนที่เก็บของอยางเดียวนั่นเปนศูนยกลางความรูของสังคมเลยทีเดียวเปนสถานที่ที่เยาวชนเขาไปแลวสามารถเอาแนวบางอยางมาตอยอดไปขางหนาเรื่องพวกนี้มันเปนmanagementหมดเลยเหมือนการถอยหางออกไปอีกนิดหนึ่งมีการมองถึงวิธีการระบบธุรกิจเปนอยางไรcraftเขามาแลวจะขายอยางไรเงินเขามาจะบริหารอยางไรPoliticเขามาไดอยางไรซึ่งถาเรามีArt&CulturalManagementก็เหมือนมีฐานที่แนนก็จะตอติดคลายกับมีเลขามีผูชวยมีconnectionก็มีสวนชวยไดมีครั้งหนึ่งที่ตองถอนหายใจแรงๆคือมีนักศึกษาที่จบไปแลวไดแตงงานกับฝรั่งก็มีเรื่องที่ตองพูดกันวาอยาง

นอยก็สอนใหเขาไดรูจักการนั่งสวมดีกวามีโถสวมใหมๆก็ยังอุตสาหปนขึ้นไปนั่งยองๆหรือใชผาเช็ดเทาที่พาดบนอางมาเช็ดหนาเพราะเห็นวามีปาย“welcome”

เมื่อตั้งคณะวิจิตรศิลปมาไดระยะหนึ่งผมไปลำปางไดเห็นเด็กคนหนึ่งฟอนสวยมากจัดการหลังเวทีก็เกงการเขาหาผูใหญก็ชำนาญจึงคิดวาควรสงเสริมเด็กที่มีความชำนาญพิเศษเหลานี้ผมกลับมาคิดและกอตั้ง“โครงการพิเศษทางศิลปวัฒนธรรม”หรือ“โครงการชางเผือก”เปดโอกาสใหนักเรียนระดับมัธยมมากอนชวงแรกๆก็ตองออกไปเฟนหาแลวชักชวนตอมาครูที่รูจักโครงการนี้ก็เตรียมสงนักเรียนมามากขึ้นจนตองคัดกรองกันมีการแขงขันกันสวนใหญเกงดานแบคสเตทซึ่งเปนสิ่งที่ดีเพราะสวนใหญคิดเปนจัดการเปนแต

บานเรามี“การเมือง”อยางthesisของผมถารัฐนิยมเขาก็รับไอเดียไปแตที่นี่ไมกวางพอไมเปดอะไรที่เราคิดดีกวาเขาก็ไมรับที่นี่ตองปรับโดยเฉพาะวิธีการสอนการชี้โพรงที่มีหลากหลายทั้งความงามการเมืองสังคมชีวิตตางๆเหลานี้อยางนอยที่สุดจะไดรูจักการจัดการอยางเปนระบบโดยมีวัฒนธรรมเปนตัวนำชางมันครับชีวิตก็แคนี้ผมทำเทาที่ทำไดแตก็ภาคภูมิใจที่ไดพัฒนาที่นี่ชวยเสริมคนที่นี่สรางองคความรูที่ชวยใหสังคมดูดีขึ้นทันไดเห็นผลสวนที่ผลักดันแนนอนสำหรับเสียงคัดคานผมก็คิดวาก็ชวยใหเขาเกิดเหมือนกันเพราะวาเมื่อกอนไมมีการพูดถึงการอนุรักษไมมีการวิจารณงานที่จัดตางๆในเชียงใหมซ้ำๆซากๆไมมีใครดูดูแลวรูสึกเบื่อเชนงานลอยกระทงเมื่อกอนเปนมีแตเรือพระที่นั่งตางๆเชนเรือพระญานาคเอาไฟสาดขางนอกผมกลับกันเอาโคมที่หอยตามชายคาบานมาขยายติดไฟขางในใหนางนพมาศนั่งดานหนามีแตคนดาวาทำอะไรเชยและไมไดรางวัลแตไดลงปกนิตยสารไทมแม็กกาซีนฝรั่งถายรูปทำปกหนังสือที่เดี่ยวนี้ก็ยังมีวางขายอยูหลังจากนั้นคนก็เลียนแบบๆนี้กันหมดนี่คือการสรางสถานการณใหมขึ้นมาหรือปราสาทศพที่เมื่อกอนไมมีพอผมทำขึ้นมาแรกสุดวาเชยไปๆมาๆก็วาไมใชลานนาทำการพาณิชยไมรูจะอยางไรดีแตผมเห็นวาผมเปนคนจุดไมขีดใหประกายแสงผมเรียนมาทางไฟนอารทสิ่งที่เราสรางก็ตองจบที่เรางานศพที่ผมศึกษามาเปนสิ่งดีไมใชเรื่องเศราแตถูกเลือนไปผมก็ปลุกวาอยาเศราเขาไปดีตอนนี้มีคนทำตามกันก็ยังวาผมอีกเรื่องการแตงตัวก็เหมือนกันการเกลาผมเครื่องประดับวาไมใชลานนาไมเหมือนในจิตรกรรมฝาผนังคือผมทำใหมันไมตายการทำแบบนี้เรียกวา“นีโอลานนา”คือรูที่มาที่ไปก็เพื่อการอยูรอดไมมีใครนำใครตามใครของที่ถูกฝงดินก็ใหรูจักขุดเอามาใชเปนการเรียนรูตนเองดวยไมตองใหใครที่เปนฝรั่งมาชี้มาสั่งพอเรารูจักแลวการใชก็จะไมเคอะเขินมีความมั่นใจในอดีตเรากินขาวบนใบตองพอเลิกใชแตมีคนกลับมาใชก็วาเชยเดี๋ยวนี้เปนอยางไรกลับมาใชกันอีกวนกันไปมาในสมัยหนึ่งผมใช“ชามขาวหมา”(ดินเผาเนื้อหยาบเคลือบเขียว)คนก็วาตอนหลังกลับมีคานีโอมีหลายระดับแยที่สุดก็คือความไมพอดีไมรูจังหวะจนเกินงามถามีคนแนะบางก็อาจจะไปรอดตองเสี่ยงนีโอที่ควรก็คือการพอดีการรูจังหวะไมวาจะอยางไรผมก็รูสึกภูมิใจวาคนอื่นอางถึงแตบางทีก็แคนที่วาอันไหนไมดีดันมาอางเราเอาอันที่ดีไปลูกศิษยเคยถามวาทำไมผมไมออกไปแกตางมันไมตองแกตางเพราะเขาก็รูๆกันอยูเราไปบอกวามันลงตัวก็ไมใชความพอดีคือการที่ทุกฝายตองมาเจอกันตรงกันคือผูทำชิ้นงานผูรับตรงกันไหมดังที่กลาวผมก็เหมือนไฟที่เปนตัวจุดประกายใหแสงบางทีไฟก็ติดใหแสงสวางบางทีก็มอดไปผมเองก็ตองยอมรับจะอยางไรก็ตามผมก็จะไมทิ้งหนาที่การสอนการเปนครูที่ทำมานานทั้งชีวิตแตวิธีการคงตองปรับไปตามกำลังที่ผานมาผมก็สนุกกับชีวิตตัวเองมากขึ้นเมื่อกอนผมอาจเปนเรือจางเดี๋ยวนี้เปนเรือสำราญคงไดแวะไปเรื่อยๆไมเครียดทยอยรับเฉพาะเรื่องที่อยากรับไมมีการกดดันไมตองประชุมไมตองเปนกรรมการสบายๆและ“ชางมัน”

“ผมทำใหมันไมตายการทำแบบนี้เรียกวา“นีโอลานนา”คือรูที่มาที่ไปก็เพื่อการอยูรอดไมมีใครนำใครตามใครของที่ถูกฝงดินก็ใหรูจักขุดเอามาใชเปนการเรียนรูตนเองดวยไมตองใหใครที่เปนฝรั่งมาชี้มาสั่ง”

เรื่องเลา....อาจารย์วิถี พานิชพันธ

Neo-Lanna

หนังสือพิมพขาวหอศิลป/ขาววิจิตรศิลปผลิตโดยสำนักงานคณะวิจิตรศิลปมหาวิทยาลัยเชียงใหม:ถนนหวยแกวอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม50200โทรศัพท053-211724และ053-944805EmailAddress:[email protected](ขอมูลเนื้อหาบทความทุกชนิดที่ตีพิมพบนหนังสือพิมพฉบับนี้เปนความรับผิดชอบของ

ผูเขียนรวมกับกองบรรณาธิการ)ผูสนใจโฆษณาและบริจาคเพื่อสนับสนุนการจัดพิมพหนังสือพิมพฉบับนี้สามารถติดตอไดตามที่อยูเบอรโทรศัพทและจดหมายอิเล็กทรอนิกส

สำหรับผูเห็นคุณประโยชนของหนังสือพิมพ์ขาวหอศิลป/ข่าววิจิตรศิลป์และประสงคจะสนับสนุนสามารถบริจาคไดผานชื่อบัญชีหอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรมเลขที่บัญชี05-3405-20-075259-8ธนาคารออมสินสาขายอยมหาวิทยาลัยเชียงใหม

ADVERTISINGSPACE-สำหรับผูสนใจโฆษณาประชาสัมพันธแบนเนอรในขาวหอศิลป/ขาววิจิตรศิลปติดตอemailaddress:[email protected]หรือโทรศัพท053-211724ไดในเวลาราชการ

Arts September 2008 11


Top Related