Transcript

นาวิกศาสตร์  ปีที่ ๙๕ เล่มที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๕

บทความ

ย้อนกลับไปในอดีตรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ทรงพระ

กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างป้อมพระจุลจอมเกล้า ขึ้น ณ ตำบลแหลมฟ้าผ่าบริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยา โดยมีปืนวิคเกอร์อาร์มสตรองขนาด ๖ นิ้ว หรือปืนเสือหมอบเข้าประจำการ ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๖๓ พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ทรงมีความเห็นว่า “ในการป้องกันฐานทัพควรสร้างป้อมวางปื น ใ ห ญ่ ข น า ด ตั้ ง แ ต่ ๑๖ นิ้ว ลงมาจนถึงขนาด ๔.๗ นิ้ว พร้อมกับปืนยิงเครื่องบินด้วย โดยวางไว้บนยอดเกาะต่างๆ ในอ่าวสัตหีบ” จึงถือได้ว่าเป็นจุดกำเนิดของหน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศและรักษาฝั่ง โดยต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๑๘ กระทรวงกลาโหมได้อนุมัติหลักการความพร้อมในด้านการต่อสู้ป้องกันภัยทางอากาศโดยให้กองทัพเรือพิจารณาจัดตั้งหน่วยต่อสู้ป้องกันภัยทางอากาศขึ้นใหม่ และต่อมาได้มีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๑ ให้กองทัพเรือมีหน้าที่รับผิดชอบด้านการป้องกันภัยทางอากาศและภัยทางทะเลให้กับพื้นที่เศรษฐกิจชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก จึงได้รับการขยายหน่วยให้เป็น หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง

ขึ้นตรงต่อกองทัพเรือ เมื่อวันที่ ๑๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๓ อันถือเป็นวันสถาปนาหน่วยบัญชาการตอ่สูอ้ากาศยานและรกัษาฝัง่ มาจนตราบเทา่ทกุวนันี ้ หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง กองทัพเรือ หรือ สอ.รฝ. เป็นหน่วยกำลังรบหลักหน่วยหนึ่งของกองทัพเรือ มีหน้าที่ในการจัดเตรียมกำลังป้องกันภัยทางอากาศและภัยทางทะเลตาม

แนวชายฝั่งต่อที่ตั้งสำคัญทางทหาร ทางด้านเศรษฐกิจ และสังคมจิตวิทยา เช่น

คลังน้ำมัน นิคมอุตสาหกรรม โรงแยกก๊าซ และท่าเรือ เป็นต้น ซึ่ งภารกิจในการป้องกันทางอากาศนั้น สอ.รฝ. เป็นปราการด่านแรกที่จะต้องป้องกันข้าศึกมิให้ทำการโจมตีทางอากาศได้สำเร็จ สำหรับในภารกิจรักษาฝั่ง

นั้นเป็นปราการด่านสุดท้าย ที่จะคอยขัดขวาง ยับยั้ง มิให้ภัยทางเรือ

เข้ามาปฏิบัติการใด ๆ ในเขตชายฝั่งของทะเลไทย ด้งคำกล่าวที่ว่า “ป้องนภา.....รักษาฝั่ง” อันหมายถึงความพร้อมที่จะทำการปกป้องน่านฟ้าและรักษาฝั่งทะเลในพื้นที่รับผิดชอบ โดยมีตราสัญลักษณ์ของหน่วยเป็นรูปพระรามแผลงศร สื่อให้เห็นถึงการเตรียมพร้อมในการใช้อาวุธป้องกันภัยตลอดเวลานั่นเอง นอกจากนี้ยังได้รับมอบหมายจากกองทัพเรือในการรับผิดชอบพื้นที่ตลอดแนวชายฝั่งทะเลของประเทศและเกาะต่าง ๆ ที่มีพื้นที่ติดกับชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่ง สอ.รฝ. มีหน่วย

ของหน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง

ก้าวสู่ปีที่ ๒๒

ฝ่ายกิจการพลเรือน หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง

ก้าว

๐60

นาวิกศาสตร์  ปีที่ ๙๕ เล่มที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๕

เฉพาะกิจ ตามพื้นที่ต่าง ๆ จำนวน ๑๔ หน่วย โดยมีหน้าที่ ตรวจการณ์ ยับยั้ง ป้องกันการละเมิดและรกัษาเสรภีาพในการใชท้ะเลเพือ่ใหก้ารปฏบิตักิารทางเรือของกองทัพเรือเป็นไปอย่างเต็มประสิทธิภาพ สนับสนุนงานด้านความมั่นคงให้กับหน่วยต่าง ๆ ของกองทัพเรือ โดย สอ.รฝ. ได้จัดกำลังเข้าร่วมรักษาความสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ณ ท่าอากาศยาน ก้าวสู่ปัจจุบัน ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ นี้นับเป็นปีที่ ๒๒ ของ สอ.รฝ. มีหลายสิ่งหลายอย่างได้รับการพฒันาใหก้า้วหนา้ตอ่ไปอยา่งไมห่ยดุยัง้ โดยปจัจบุนัมี พลเรือตรี นพดล สุภากร เป็นผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่งได้ดำเนินการตามนโยบาย พลเรือเอก สุรศักดิ์ หรุ่นเริงรมย์ ผู้บัญชาการทหารเรือในการปกป้องและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ซึ่ง สอ.รฝ. ได้จัดกำลังในการถวายความปลอดภัย เมื่ อมีการเสด็จแปร พระราชฐาน การปลูกจิตสำนึกให้ข้าราชการ ทหารกองประจำการ ครอบครัว และประชาชนทั่วไปเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ในการเทิดพระเกียรติ รวมทั้งให้การสนับสนุนตามโครงการอันเนื่องจากพระราชดำริ นอกจากนี้ยังเฝ้าติดตาม และป้องกันการหมิ่นสถาบัน และในการปรับปรุงและพัฒนาขีดความสามารถของกำลังรบ โดยทำการฝึกให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อให้กำลังรบสามารถปฏิบัติภารกิจในสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างมั่นใจ สอ.รฝ. จึงได้จัดเตรียมความพร้อมของหน่วยด้านองค์บุคคล และองค์วัตถุ ด้วยการฝึกสวนสนามยานยนต์ วิ่งและเดินเท้า เป็นประจำทุกเดือน เพื่อตรวจความเข้มแข็ง ความมีระเบียบวินัย ขององค์บุคคล และความพร้อมใช้ของอาวุธยุทโธปกรณ์ประจำหน่วย สำหรับการเตรียมความพร้อมด้านองค์ยุทธวิธี ได้ทำการฝึกตามสาขาปฏิบัติการในระดับต่าง ๆ ของหน่วยตามวงรอบเป็นประจำทุกปี การจดักำลงัเขา้รว่มการฝกึปฏบิตักิารรว่มของ ๓ เหลา่ทพั ตลอดจนการฝึกผสมกับมิตรประเทศ ซึ่งในการฝึก

ของกองทัพเรือประจำปี พ.ศ.๒๕๕๕ ที่ผ่านมา สอ.รฝ.ได้จัดกำลังพลและยุทโธปกรณ์ในการปฏิบัติการร่วมกับกำลังทางเรือในการป้องกันภัยทางอากาศและการป้องกันภัยทางทะเล ตามแนวชายฝั่งอ่าวไทยตอนบน และชายฝั่งทะเลอันดามัน และทดสอบการยิงอาวุธนำวิถีต่อสู้อากาศยานแบบ ประทับบ่ายิง QW-18 ณ เขาหนา้ยกัษ ์จงัหวดัพงังา ถือเป็นเพิ่มขีดความสามารถของกองทัพเรือในการก้าวเข้าสู่ยุคอาวุธปล่อยนำวิถีที่มีความแม่นยำสูง และมีระยะยิงที่ไกลขึ้น และในปี พ.ศ.๒๕๕๔ ที่ผ่านมาจากเหตกุารณม์หาอทุกภยั สอ.รฝ. ไดจ้ดักำลงัพล และยุทโธปกรณ์ในการเข้าช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบอุทกภัยตั้งแต่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจนถึงกรุงเทพ ฯ จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดนนทบุรี นอกจากนี้จัดตั้งศูนย์รับบริจาคสิ่งของในการสนับสนุนการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย และให้จัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราวในพื้นที่สัตหีบ ในการรับผู้ประสบอุทกภัยเข้าพักพิง ซึ่งในการปฏิบัติภารกิจในครั้งนั้นกำลังพลของ สอ.รฝ. ได้ทุ่มเทแรงกายแรงใจในการช่วยเหลือประชาชนอย่างเต็มที่จนสร้างชื่อเสียงให้กับกองทัพเรือ โดยได้รับคำชมเชยจากประชาชน นอกจากนี้ สอ.รฝ. ได้การดำเนินงานโครงการตามแนวพระราชดำริเช่น การปลูกฝังและส่งเสริมให้กำลังพล และครอบครัวดำเนินตามทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง การน้อมนำแนวทางพระราชดำริด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยดำเนินดำเนินโครงการป่าชายเลน และการอนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเลเปน็ตน้การสง่เสรมิใหก้ำลงัพลมสีขุภาพพลานามยัทีด่ีโดยจัดให้มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและจัดให้มีการทดสอบสมรรถภาพร่างกายทุก ๓ เดือน รวมทั้งจัดหาอุปกรณ์ ฯ รวมทั้งการจัดสนับสนุนกองเชียร์ของหน่วยเข้าแข่งขันในระดับกองทัพไทยจนได้สร้ า งชื่ อ เสี ยง ได้ ร างวั ลชนะ เลิ ศหลายปีซ้ อน การสนับสนุนสวัสดิการต่าง ๆ ให้กับข้าราชการ เช่น การให้กำลังพลได้รับสิทธิอันพึงมีพึงได้ตามสิทธิที่ควรจะไดร้บัอยา่งครบถว้น การสง่เสรมิและใหค้วามรูใ้นการประกอบอาชพีเสรมิเพือ่เพิม่รายได้ใหก้บักำลังพล

๐61

นาวิกศาสตร์  ปีที่ ๙๕ เล่มที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๕

และครอบครัว โดยการจัดตั้งกลุ่มแม่บ้าน สอ.รฝ. เพื่อจัดท ำผลิ ตภัณฑ์ ส่ ง ใ ห้ กั บ ศู น ย์ อนุ รั ก ษ์ พั น ธุ์ เ ต่ า ท ะ เ ล การสนับสนุนงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเช่น สุ่มตรวจสารเสพติดกับกำลังพล ตรวจจับผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในพื้นที่ มีการจัดบรรยายให้ความรู้ด้านยาเสพติดแก่กำลังพล กับให้มีการดำเนินการโครงการโรงเรียนวิวัฒน์พลเมืองกองทัพเรือ ๒ ในการให้ ผู้ต้องขังที่เคยติดยาเสพติดจากกรมราชทัณฑ์ เข้ารับการฟืนฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ ให้การศึกษาและฝึกอาชีพ เป็นต้น และเนื่องจากการปฏิบัติการของ สอ.รฝ. เป็นความชำนาญที่แตกต่างจากการปฏิบัติการสาขาอื่น ๆ ของ กองทัพเรือจึงได้เสนอเครื่องหมายความสามารถทหารต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่งในปีที่แล้ว โดยภายในปีนี้จะทำการเปดหลักสูตรทหารต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง ซึ่งจะทำให้ผู้ผ่านหลักสูตรมีความชำนาญพิเศษในสายวิทยาการเกี่ยวกับการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง สืบเนื่องจากปนี้เปนปมหามงคลในโอกาสที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ในวันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๕ และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๖๐ พรรษา ในวันที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๕ สอ.รฝ. ได้จัดโครงการเฉลิมพระเกียรติจำนวน ๖ โครงการ ดังนี้ ■ โครงการบ้านเต่าทะเลเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ■ โครงการภูมิใจภักดิ์ ฟูมฟักไข่เต่าทะเลวันแม่ ร่วมใจปล่อยเต่าทะเลคืนสู่ธรรมชาติวันพ่อ ■ โครงการตน้กลา้เยาวชนรกัษท์ะเลไทยเทดิไทอ้งคร์าชนิ ี ■ โครงการศูนย์เรียนรู้เกษตรผสมผสาน สอ.รฝ. ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ■ โครงการมหกรรมคอนเสริต์เทดิไทส้ยามมกฎุราชกมุาร ■ โครงการสวนป่าชายเลนเทิดไท้สยามมกุฎราชกุมาร ๖๐ พรรษา ก้าวต่อไปในอนาคต สอ.รฝ. มีแผนในพัฒนาขีดความสามารถกำลังรบต่อภัยคุกคามที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยให้สอดคลอ้งกบัยุทธศาสตรข์อง กองทพัเรอื ปี พ.ศ.๒๕๕๑ - ๒๕๖๐ ซึง่ในป ีพ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๖ สอ.รฝ. ไดร้บัยทุโธปกรณ์ใหม่

๐62

นาวิกศาสตร์  ปีที่ ๙๕ เล่มที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๕

ที่ทันสมัยทดแทนของเดิมซึ่ง สอ.รฝ. ได้รับการจัดสรรอาวธุประจำกายปนืเลก็ยาวขนาด ๕.๕๖ มลิลเิมตรแบบทราโว ่TAR-21 ทดแทนปนืเลก็ยาวขนาด ๕.๕๖ มลิลเิมตรซคีวิ ได้รับกล้องกำลังขยายสูงให้กับหน่วยเฉพาะกิจ สอ.รฝ. และสนับสนุนการยิงปืนใหญ่ และได้รับเรดาร์ตรวจจับอากาศยานระดับต่ำแบบเคลื่อนที่ ๑ ระบบ และในห้วงระยะเวลาต่อไป สอ.รฝ. จะเป็นหน่วยที่มีความคล่องตัวในการเคลื่อนที่สูง มีอำนาจการยิงที่มีความรุนแรงแม่นยำ มีระบบแจ้งเตือนและระบบควบคุมบังคับบัญชาที่มีประสิทธิภาพเป็นเครือข่าย เพื่อให้สามารถตอบสนองกบัภารกจิทีก่องทพัเรอืจะมอบหมายใหไ้ดอ้ยา่งทนัท่วงทีโดยจะตรงกับวิสัยทัศน์ของ สอ.รฝ. ที่ว่า “หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง จะเปนหน่วยกำลังรบ ต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่งที่มีประสิทธิภาพ และพร้อมปฏิบัติการตามภารกิจที่ได้รับมอบ โดยใช้ระบบการบริหารจัดการ ที่ทันสมัย ร่วมกับการพัฒนา ยุทโธปกรณ ให้มีขีดความสามารถ สอดคล้องกับภัยคุกคาม” ซึ่งมีแนวทางในการจัดหาเรดาร์ตรวจการณ์และแจ้งเตือนภัยทางอากาศแบบประจำที่ และแบบเคลื่อนที่ พร้อมกับระบบเชื่อมโยงผ่านดาวเทียมในการสนับสนุนการปฏิบัติการที่ใช้ เครือข่ายที่เป็นศูนย์กลาง (Network Centric Operation) จัดหาอาวุธนำวิถีพื้น-สู่-อากาศ จรวดประทับบ่ายิง และปืนต่อสู้อากาศยานพร้อมเครื่องควบคุมการยิง จัดหาระบบตรวจการณ์พื้นน้ำและจัดหาระบบอาวุธนำวิถีพื้น-สู่-พื้น ให้กับทัพเรือภาค และ สอ.รฝ. ประจำพื้นที่ ซึ่งทำให้กองทัพเรือสามารถปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมี

ประสทิธภิาพใน ๑๐ ปขีา้งหนา้ ตามวสิยัทศันท์ีต่ัง้ไว้ และสอดคล้องกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมถึงการป้องกันภัยทางอากาศในภาพรวมของกองทัพไทย ทีเ่ปน็ระบบการควบคมุบงัคบับญัชา และการเชือ่มโยงข้อมูลแบบอัตโนมัติ ซึ่งจะทำให้ระบบป้องกันภัยทางอากาศของกองทัพเรือมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และนอกจากนี้ สอ.รฝ. มีแนวความคิดในจัดสร้างหน่วยปกติในพื้นที่ทัพเรือภาคที่ ๒ และทัพเรือภาคที่ ๓ เพื่อใช้เป็นกองบังคับการ และเป็นฐานส่งกำลังบำรุง สนับสนุนการปฏิบัติภารกิจให้กับหน่วยกำลังของ สอ.รฝ. ประจำพื้นที่ทัพเรือภาคที่ ๒ และทัพเรือภาคที่ ๓ เพื่อลดปัญหาในการเคลื่อนย้ายกำลังของหนว่ย สอ.รฝ. ซึง่ตอ้งใชย้านพาหนะทีม่สีมรรถนะสงู แ ล ะ ใ ช้ ง บ ป ร ะ ม าณสู ง อั น จ ะ เ ป็ น ก า ร เ ส ริ มประสิทธิภาพของกองทัพเรือในการป้องกันภัยทางอากาศ และป้องกันฝั่ งต่อที่ตั้ งสำคัญที่ ได้รับ มอบหมายได้อย่างสมบูรณ์ จากที่กล่าวมาแล้วนั้น หน่วยบัญชาการต่อสู้อากาศยานและรักษาฝั่ง พร้อมแล้ว สำหรับการปกป้องเพื่อดำรงไว้ ซึ่งความเป็นอธิปไตยของชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ ตลอดจนความพร้อมในการช่วยเหลือประชาชน ตลอดไป (สามารถติดตามความเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของ สอ.รฝ. ทาง www.navy.mi.th/acdc หรือติดต่อเยี่ยมชมหน่วย และสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ ฝ่ายกิจการพลเรือน สอ.รฝ. โทร.๐๓๘ ๔๓๑๔๗๗)

ประสทิธภิาพใน ๑๐ ปขีา้งหนา้ ตามวสิยัทศันท์ีต่ัง้ไวประสทิธภิาพใน ๑๐ ปขีา้งหนา้ ตามวสิยัทศันท์ีต่ัง้ไว้ ประสทิธภิาพใน ๑๐ ปขีา้งหนา้ ตามวสิยัทศันท์ีต่ัง้ไวที่ทันสมัยทดแทนของเดิมซึ่ง สอ.รฝ. ได้รับการ

๐63


Top Related