fcpa

Post on 03-Apr-2015

101 Views

Category:

Documents

3 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

ฉบับ

กฎหมายปองกันการใหสินบนแก

ขาราชการตางประเทศของสหรัฐฯ

(Foreign Corrupt Practices Act)

กฎหมายนี้มิไดถือวาการให เสนอให หรือสัญญาวาจะให

เ งินหรือ สิ่งอื่นใดอันมีมูลคาแกขาราชการของรัฐบาล

ตางประเทศเปนความผิดในทุกกรณี โดยมี 2 กรณีที่

กฎหมายนี้ถือวาเปนการกระทําโดยชอบดวยกฎหมาย

กลาวคือ (1) การให เสนอให หรือสัญญาวาจะให เงินหรือสิ่ง

อื่นใดอันมีมูลคาที่กฎหมาย (Written law) ของประเทศนั้น

เปดชองใหกระทําได และ (2) การจายเงินเพื่อเปนคาใชจาย

ที่สุจริตและสมเหตุสมผล (reasonable and bona fide ex-

penditures) ในเรื่องที่ เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของผู

จายเงินโดยตรง เชน คาใชจายในการเดินทาง ที่พัก และ

อาหารแกขาราชการตางประเทศในการเดินทางมาดูงาน ณ

โรงงานของผูจาย เปนตน แตการจายเงินตาม (2) นี้มี

ลักษณะเครงครัดมาก โดยในคดี United States v. Metcalf

& Eddy, Inc. (D Mass. 1999) ศาลพิพากษาวาคาใชจายที่

จําเลยจายเปนคาเดินทางมาดูงานแกขาราชการอียิปตและ

ครอบครัวโดยใหเปนตั๋วเดินทางชั้นหนึ่ง การเบิกเงินสด

ลวงหนานอกจากการจายเปนเงินเบี้ยเลี้ยงปกติ ฯลฯ นั้นเปน

คาใชจายที่ไมสมเหตุสมผล ศาลจึงเห็นวาจําเลยกระทํา

ความผิดตามกฎหมายนี ้

ขอยกเวน

จัดทําโดย

ฝายพัฒนากฎหมาย

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ขาวสารพัฒนากฎหมาย 5-2 พฤษภาคม 2548

โทร. 0 2280 8420-3

โทรสาร 0 2280 8426

E-mail:

lawreform@lawreform.go.th

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 2

394/14 ถนนสามเสน

เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300

จัดทําโดย

ฝายพัฒนากฎหมาย

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

www.lawreform.go.th

ทายเลม

“ขาวสารพัฒนากฎหมาย” มีวัตถุประสงคเพื่อนําขอมูล

เกี่ยวกับกฎหมายที่สอดคลองกับสถานการณ มาเผยแพรให

ขาราชการสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและผูสนใจไดรับ

ทราบ โดยกําหนดเผยแพรทุกสัปดาหแรกของเดือน ทานใดมี

ขอคิดเห็นทางวิชาการที่เปนประโยชน สามารถสงมารวมแสดง

ความคิดเห็นในสื่อกลางทางวิชาการนี้ไดโดยสง file word

document ไปยังฝายพัฒนากฎหมาย ที่ email address

ดังตอไปนี้

lawreform@lawreform.go.th

Law Reform Division:

“We provide technical support to all.”

การทุจริตคอรัปชั่นเปนปญหาสําคัญของทุกประเทศ และ

มีการตรากฎหมายภายในขึ้นเพื่อปองกันและปราบปราม

การคอรัปชั่นเปนการเฉพาะ ปจจุบันการทุจริตคอรัปชั่นได

กลายเปนปญหาระดับโลก ที่ทุกประเทศในโลกถือเปน

ภารกิจที่ตองรวมกันแกไข ในป 1998 (พ.ศ. 2541) ประเทศ

ในกลุม OECD (Organization for Economic Cooperation

and Development) ไดจัดทําสนธิสัญญาวาดวยการตอตาน

การให สินบน (Anti-Bribery Convention) ขึ้น และในป

2003 (พ.ศ. 2546) ประเทศตาง ๆ รวม 97 ประเทศไดลง

นามในสนธิสัญญาวาดวยการตอตานการคอรัปชั่น (UN

Convention Against Corruption) มีขอสังเกตวาการทุจริต

คอรัปชั่นตามสนธิสัญญานี้มิไดหมายถึงเฉพาะการทุจริต

คอรัปชั่นโดยเจาหนาที่ของรัฐเทานั้น แตหมายรวมถึงการ

ทุจริตคอรัปชั่นในภาคเอกชน การฟอกเงิน การละเมิดตอ

กฎหมายดวย

สําหรับประเด็นที่เปนปญหาอยูในปจจุบันของประเทศ

ไทยนั้นเกี่ยวของโดยตรงกับ “กฎหมายปองกันการให

สินบนแกขาราชการตางประเทศ” ของสหรัฐอเมริกา หรือ

Foreign Corrupt Practices Act of 1977 (FCPA) “ขาวสาร

พัฒนากฎหมาย” ฉบับนี้จึงจะพาไปดูวากฎหมายนี้มีที่มาที่

ไปอยางไร และมีสาระสําคัญอยางไรบาง

ทําไมตองมีกฎหมายนี้ กฎหมาย FCPA นี้ตราขึ้นในป 1977 (พ .ศ . 2520)

หลังจากผลการศึกษาของคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย

(Securities Exchange Commission) ของสหรัฐฯแสดงให

เห็นวาในชวงทศวรรษที่ 1970s นั้น บริษัทที่จดทะเบียนใน

ตลาดหลักทรัพยของสหรัฐฯยอมรับวามีการจายเงินโดย

ชองทางที่ “ไมปกติ” กวา 300 ลานเหรียญสหรัฐฯใหแกรัฐบาล

ตางประเทศ ขาราชการตางประเทศ พรรคการเมืองและ

นักการเมืองของตางประเทศที่บริษัทเหลานี้เขาทําธุรกิจดวย

ไมวาเพื่อ “ใหไดงาน” หรือเพื่อ “อํานวยความสะดวก” ในการ

ทํางานตามสัญญา สภาคองเกรสจึงตรากฎหมาย FCPA ขึ้น

โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ปองกันมิใหเกิดการกระทําเชนนี้

ขึ้นอีก (2) สรางความเชื่อถือใหแกการทําธุรกิจของชาว

อเมริกันวาเปนการทําธุรกิจแบบตรงไปตรงมา และ (3) มิให

การกระทําที่ไมเหมาะสมเหลานี้มีผลกระทบตอการกําหนด

และการดําเนินนโยบายดานการตางประเทศของสหรัฐฯตอ

ประเทศตาง ๆ

การกระทําอันเปนความผิด

กฎหมายนี้หามมิใหผูประกอบธุรกิจชาวอเมริกันไมวาจะ

เปนบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ตลอดจนผูจัดการ พนักงาน

ลูกจาง ตัวแทน หรือผูถือหุนซึ่งทําการในนามของนิติบุคคล

กระทําการอันเปนความผิดตามกฎหมายนี้ และใหถือวาผู

ประกอบธุรกิจซึ่งรูเห็น ยินยอม สนับสนุนหรือชวยเหลือให

เกิดการกระทําอันเปนความผิดตามกฎหมายนี้ตองรับโทษ

ตามกฎหมายนี้ดวย ในกรณีที่บริษัทลูกที่มิไดเปนนิติบุคคล

สัญชาติอเมริกันกระทําการอันเปนความผิดตามกฎหมายนี้

บริษัทแมตองรับโทษตามกฎหมายนี้ดวยหากอนุมัติ หรือมี

สวนรวมหรือเกี่ยวของกับการกระทําอันเปนความผิดตาม

กฎหมายนี้

สําหรับ “การกระทําอันเปนความผิด” ตามกฎหมายนี้

ไดแกการให เสนอให หรือสัญญาวาจะให เงินหรือสิ่งอื่นใด

อันมีมูลคา (anything of value) ใหแก “ขาราชการของ

ตางประเทศ” (Foreign official) ซึ่งไดแกขาราชการ พนักงาน

ลูกจาง หรือผูปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐบาลตางประเทศ

หรือพนักงานของหนวยงานของรัฐอื่นใด พรรคการเมืองหรือ

นักการเมืองของตางประเทศ ไมวาจะเปนฝายรัฐบาลหรือฝาย

คาน รวมทั้งพระราชวงศของตางประเทศ โดยมีเจตนาเพื่อชัก

จู ง ใจ (Induce) ใหผู รั บปฏิ บั ติหน าที่ ใน ลักษณะที่ เ อื้ อ

ประโยชนโดยไมเหมาะสม (Improper advantage) ใหแก

ธุรกิจของผูให เสนอให หรือสัญญาวาจะใหนั้น (Corrupt in-

tent) ทั้งนี้ โดยมิพักตองคํานึงวาการกระทําดังกลาวจะ

ประสบความสําเร็จตามเจตนานั้นหรือไม

นอกจากการให เสนอให หรือสัญญาวาจะใหโดยตรง

ดังกลาวขางตนแลว กฎหมายนี้ยังหามการกระทําดังกลาว

โดยผาน “คนกลาง” (Intermediaries) ดวย

กฎหมายปองกันการใหสินบนแกขาราชการตางประเทศของสหรัฐฯ

top related