narathiwat health strategic plan_56

Post on 25-Jun-2015

6.134 Views

Category:

Documents

1 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ จังหวัดนราธิวาส ปี 2556

TRANSCRIPT

แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ

จงัหวัดนราธิวาส

ปี 2556

นโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนนโยบาย

การจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพในเขตพื้นที่เครือข่ายบริการ

นพ.ณรงค์ สหเมธาพัฒน์

ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2

กระทรวงสาธารณสุขเป็นองค์กรหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพ

โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี

วิสัยทัศน์

พันธกิจ

1. พัฒนาและบริหารนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ

2. เสริมสร้างระบบบริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาลและจัดระบบบริการ

สุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน

3. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการพัฒนาระบบสุขภาพ

4. วิจัยและพัฒนาและการจัดการความรู้ด้านสุขภาพ

วสิัยทศัน์แผนสุขภาพฉบบัท ี11

ประชาชนทุกคนมีสุขภาพด ี

ร่วมสร้างระบบสุขภาพพอเพยีง เป็นธรรม

นําสู่สังคมสุขภาวะ

ยุทธศาสตร์การดําเนินงานด้านสาธารณสุข 2556

รัฐบาล Country Strategy

1.2 ยาเสพติด

1.5 ภาคใต้

2.5 ต่างด้าว

1.6 ต่างประเทศ

1.14 ระบบประกันสุขภาพ

2.4 ระบบเตรียมความพร้อม

ด้านเกษตร

การเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาค

การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข

การดูแลผู้สูงอายุเด็ก สตรี และผู้ด้อยโอกาส

แรงงาน

การปรับโครงสร้างระบบราชการ

การพัฒนากําลังคนภาครัฐ

การแก้ไขปัญหาความมั่นคงจังหวัดชายแดนภาคใต้

4.3.1 ลงทุนด้านสขุภาพ

4.3.2 บุคลากร

4.3.4 อสม.

4.3.5 กลุ่มวัย

4.3.6 ออกกําลังกาย

4.3.3 สร้างสุขภาพ

4.3.7 Medical Hub

ยุทธศาสตร์ สธ ประเด็นยุทธศาสตร์

นโยบาย

ระบบ

ปัญหา

พื้นฐาน

Service Plan

หลักประกันสขุภาพ

NCD

ข้อมูล

สาธารณสขุภยั

PP ประเด็น / PP กลุ่มวัย

อาหารปลอดภยั

บุคลากร

ต่างประเทศ

Medical Hub

ยาเสพตดิ

แพทย์แผนไทยและอสม.

สาธารณสขุใน กทม.

พื้นที่สูงและโครงการพระราชดาํริ

ภาพรวมยุทธศาสตร์การดําเนินงานด้านสุขภาพ

ประชาชนแข็งแรง

เศรษฐกิจเติบโต

ประชาชนแข็งแรง

เศรษฐกิจเติบโต

BasicPackage

BasicPackage

Strategic Focus

Strategic Focus

Specific Issue

Specific Issue

1. P&P

2. บริการ รักษา ฟื้นฟู

3. อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน

1. P&P

2. บริการ รักษา ฟื้นฟู

3. อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน

1. โครงการพระราชดําริ&พื้นที่สูง

2. ต่างประเทศ & ASEAN

3. แรงงานต่างด้าว & Border Health

4. Medical Hub & PPP

5. ยาเสพติด

6. ภาคใต้

7. สุขภาพ กทม.

1. โครงการพระราชดําริ&พื้นที่สูง

2. ต่างประเทศ & ASEAN

3. แรงงานต่างด้าว & Border Health

4. Medical Hub & PPP

5. ยาเสพติด

6. ภาคใต้

7. สุขภาพ กทม.

Event Based Project

1. Healthy Taxi

2. มหกรรมฮูลาฮูป

3. ปลายฝนต้นหนาว

4. Gift for Health

5. อุบัติเหตุเทศกาล

Event Based Project

1. Healthy Taxi

2. มหกรรมฮูลาฮูป

3. ปลายฝนต้นหนาว

4. Gift for Health

5. อุบัติเหตุเทศกาล

ตัวชี้วัด

OutputOutput OutcomeOutcome ImpactImpact

กระบวนการ 18

ประสิทธิภาพ 5

ผลลัพธ์ 1-2 ปี 19

ผลลัพธ์ 3-5 ปี 19

อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี

อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 70 ปี

Country  Strategy

การจัดระบบบริการ

- Service Plan

- P&P

- กําลังคน

- ระบบข้อมลู

- ระบบการเงินการคลัง

- Technology Assessment

- Good Governance

การบูรณาการ

การรักษาการรักษา

3 กองทุน

- สปสช.

- สปส.

- ข้าราชการ

3 กองทุน

- สปสช.

- สปส.

- ข้าราชการ

- สปสช.

- สสส.

- งบ กท.สธ.

- สปสช.

- สสส.

- งบ กท.สธ.P&P P&P

-เพิ่มประสิทธิภาพ

-ลดค่าใช้จ่าย

-ลดความซ้ําซ้อน

-เพิ่มประสิทธิภาพ

-ลดค่าใช้จ่าย

-ลดความซ้ําซ้อน

- ตามกลุ่มอายุ

- พัฒนาระบบบริการ

เสริม P&P

- National Program

- ตามกลุ่มอายุ

- พัฒนาระบบบริการ

เสริม P&P

- National Program

การบริหารจัดการระบบบริการ

โดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน

การพัฒนาสถานบริการระดับต่าง ๆ

Excellence Center

ตติยภูมิ

ทุติยภูมิ

รพ.สต.

พัฒนา

ระบบ

ฉุกเฉิน

และ

ระบบส่ง

ต่อ

พัฒนาขีด

ความสามารถ

10 สาขา

-พัฒนาระบบ

บริการปฐมภูมิ

ในชุมชนเมือง

- Telemedicine

-โครงสร้างพื้นฐาน

-เครื่องมือ อุปกรณ์

ศักยภาพ

บุคลากร

พัฒนา 12 เครือข่ายบริการ พัฒนา 12 เครือข่ายบริการ

การจัดบริการของ

หน่วยงานรอง

-กท.กลาโหม

-รพ.ตํารวจ

-กท.มหาดไทย

-ฯลฯ

ลดตายระบบ

ข้อมูล

P&Pกลุ่มวัย Basic Services National Programs Area Health

กลุ่มสตรีและทารก ANC, WCC, EPI EWEC, ANC (Plus)

คุณภาพ

Area Health

Community Health

Environmental

Health

Preparedness,

Surveillance &

Response

กลุ่มเด็กปฐมวัย Vaccine, Growth

monitoring

Child development,

IQ/EQ, Childhood oral

health

กลุ่มเยาวชนและ

วัยรุ่น

Vaccine, Oral health Sexual & Reproductive

Health

กลุ่มวัยทํางาน Screening of DM/HT

Screening of cervix

and breast cancer

NCD (DM/HT, Cancer,

Stroke, COPD)

กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ Ageing Home Care,

Alzheimer’s disease

Disabled Health

P&P

- กระทรวงสาธารณสุข รับผิดชอบแผนงานระดับชาติ การแก้ไขปัญหา

สุขภาพในพื้นที่ และการพัฒนาศักยภาพของระบบบริการสุขภาพ เพื่อให้

หน่วยงานต่างๆ มีความพร้อมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างมี

ประสิทธิภาพ

- สปสช. รับผิดชอบงานบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับ

บุคคล และการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ (ที่เกิดจากปัญหาบคุคล)

- สสส. รับผิดชอบการพัฒนาสุขภาพชมุชน ตลอดจนการมีส่วนร่วมของ

ชุมชนและท้องถิ่น

ภาพรวมยุทธศาสตร์การดําเนินงานด้านสุขภาพ

ประชาชนแข็งแรง

เศรษฐกิจเติบโต

BasicPackage

BasicPackage

Strategic Focus

Strategic Focus

Specific Issue

Specific Issue

การปกครอง 13 อาํเภอ

77 ตาํบล589 หมู่บ้าน 74 อบต. 14 เทศบาล

ประชากร 740,735 คน

จงัหวดันราธิวาส

ระแงะ

แว้งสุคริิน

จะแนะ

สุไหงปาดี

ตากใบ เจาะไอร้องศรีสาคร

รือเสาะ เมือง

ยีงอ

บาเจาะ

สุไหงโกลก

อ่าวไทย

จ. ปัตตานี

จ.ยะลา

ประเทศมาเลเซีย

N

ปิระมดิประชากร จงัหวดันราธิวาส

1.ปัญหาสุขภาพของมาดาและทารกไม่ได้ตามเกณฑ์

-ภาวะโลหติจางในหญิงตังครรภ์ (ร้อยละ 14.2)

-มารดาตาย (35.34/แสนการเกดิมีชีพ)

2.การสร้างเสริมภมูคิุ้มกนัโรคทไีม่ครอบคลุม

1) การสร้างเสริมภมูคิุ้มกันโรคไม่ครบตามเกณฑ์

-ครบชุดในเดก็ 1 ปี ร้อยละ 89.5

-ครบชุดในเดก็ 2 ปี ร้อยละ 81.36

-ครบชุดในเดก็ 3 ปี ร้อยละ 78.79

-ครบชุดในเดก็ 5 ปี ร้อยละ 76.12

2) เกดิโรคคอตบีในพนืท ี(ป่วย 10 ราย ตาย 3 ราย)

3.โรคเรือรังในวัยทาํงานและผู้สูงอายุ-ความดันโลหติสูง อัตรา 4982.62 ต่อประชากรแสนคน

-เบาหวาน อัตรา 1546.98 ต่อประชากรแสนคน

4.โรคฟันผุในเดก็วัยเรียน

-เดก็ 3 ปี ร้อยละ 80.4

-เดก็ 12 ปี ร้อยละ 83.3

5.โรคประจาํถนิ

-โรคเรือน (อัตราความชุก 0.71/หมืนคน พบรายใหม่ ร้อยละ 3.12)

-โรคเท้าช้าง (อัตราความชุก 17.37/แสนคน พบรายใหม่ ร้อยละ 0.54)

ทมีา : สสจ.นราธิวาส ณ กันยายน 2555

วสิัยทศัน์ด้านสุขภาพของจงัหวดันราธิวาส

องค์กรสุขภาพมีคุณภาพ คนนราธิวาสสุขภาพดี

โดยภาคีมีส่วนร่วมพฒันาระบบสุขภาพ

พนัธกจิ

1.พฒันาระบบการบริหารและบริการขององค์กรให้เป็นไปตาม

มาตรฐาน

2.พฒันาองค์กรให้มีระบบการบริหารจดัการทดี ีสอดคล้องกับ

หลักเกณฑ์ และวธิีการบริหารจดัการบ้านเมืองทดีี

3.พฒันาสมรรถนะและเสริมสร้างคุณภาพชีวติในการทาํงานของ

บุคลากร

4.พฒันาระบบสุขภาพให้มีคุณภาพสอดคล้องกับบริบทและวถิี

ชุมชนอย่างทวัถงึและได้มาตรฐาน

5.ส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาวะทสีมบรูณ์ เชือมโยงเป็นองค์รวมอย่างสมดุล

ทงัทางด้านร่างกาย จติใจ ปัญญา และสังคม

5.ส่งเสริมการดแูลสุขภาพตนเองของประชาชนอย่างต่อเนือง

6.มีการป้องกัน และ ควบคุมโรคทมีีประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ และ

ปรับกระบวนการอย่างต่อเนืองสอดคล้องกับสถานการณ์

7.จัดสิงแวดล้อมทมีีคุณภาพและเอือต่อการมีสุขภาพของประชาชน

8.เสริมสร้างศักยภาพและความร่วมมือภาคีเครือข่ายในการดแูลสุขภาพ

ประชาชน

9. .พฒันาระบบข้อมูลและการส่งต่อให้มีความเชือมโยงทกุระดบัในระบบ

บริการสุขภาพ

ปัจจยัแห่งความสาํเร็จ• มีระบบบริหารจดัการภายในทดีี

• บุคลากรให้มีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานวชิาชีพ

• สถานบริการสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐานอย่างต่อเนือง

• ประชาชนตระหนักในการดแูลสุขภาพตนเอง

• บุคลากรสาธารณสุขมีพฤตกิรรมบริการทดีี

• มีระบบการบริการทดีี

• ประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถนิมีส่วนร่วมอย่าง

ต่อเนือง

• มีระบบการเชือมต่อและประสานงานทเีหมาะสม

กรอบการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ปี ๒๕๕๖

ประเมนิแผนยุทธศาสตร์ ปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙

วเิคราะห์ศักยภาพและสภาพแวดล้อม

(SWOT)

วเิคราะห์ตาํแหน่งทางยุทธศาสตร์

กาํหนดทศิทาง

ยุทธศาสตร์ ปี ๒๕๕๖

การวเิคราะห์องค์กร :

SWOT Analysis

จุดแขง็S1.ผู้บริหารให้ความสาํคัญต่อการแก้ไขปัญหาสาํคัญของพนืท ีโดย

กาํหนดเป็นนโยบายของจงัหวัดในหลายเรือง (4.05)

S2.หน่วยงานกาํหนดวสิัยทศัน์ เป้าประสงค์ และตวัชีวัดการดาํเนินงานทชีัดเจน เอือต่อการดาํเนินงานทมีีประสิทธิภาพ

(4.02)

S3.ผู้บริหารแต่งตงัทมีงานเฉพาะกจิในการวางแผนบูรณาการงาน

และออกตดิตามงานอย่างชัดเจน (3.91)

S4.ผู้บริหารมีวสิัยทศัน์ทเีอือต่อการปฏบิัตงิานและเป็นผู้นําในการสร้างสุขภาพ (3.98)

S5.หน่วยงานกาํหนดรูปแบบและแนวทางการทาํงานไว้อย่างเป็นระบบ ซงึสนับสนุนการลงพืนทเีชงิรุกมากขึน(3.98)

S6.หน่วยงานสนับสนุนให้มีการประกวดผลงานและสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ อย่างต่อเนือง ทาํให้มีต้นแบบระดบัอาํเภอในด้านต่างๆ

มากขนึ (4.05)

S7.บุคลากรส่วนใหญ่เป็นคนในพืนทจีงัหวัดนราธิวาสเอือให้ทาํงาน

เชงิรุกง่ายขนึ (3.96)

S8.บุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนือง(3.91)

จุดแขง็

จุดอ่อนW1บุคลากรบางส่วนขาดกาํลังใจในการทาํงานเนืองจากยังไม่ได้รับการบรรจุ

(4.44)

W2.บุคลากรขาดทกัษะในการดาํเนินงานและโดยเฉพาะระดบัจังหวัดควรมีความรู้ตามบทบาทในการถ่ายทอดระดบัอาํเภอ(4.20)

W3.บุคลากรในระดบัพนืทมีีการเปลียนงานบ่อยทาํให้ขาดทกัษะในงานและขาดความต่อเนือง(4.29)

W4.งบประมาณทไีด้รับส่วนใหญ่จะมาช้าส่งผลให้ต้องรีบเร่งเบกิให้ทนั การ

ตรวจสอบจงึทาํได้ไม่เตม็ท(ี4.32)

W5.ระบบเอกสารด้านการเงนิมีความซาํซ้อน ทาํให้สินเปลือง

ทรัพยากรและเกนิความจาํเป็น(4.19)

W6.วัสดุอุปกรณ์ทใีช้ส่วนใหญ่เป็นอุปกรณ์อเิล็กทรอนิกส์ซงึเมือ

เกดิปัญหาขัดข้องทาํให้การปฏบิัตงิานตดิขัดไปด้วย (4.15)

W7.จาํนวนรถและพนักงานขับรถยนต์มีจาํนวนจาํกัด ทาํให้เกดิ

ปัญหาในการออกพนืท ี(4.27)

W8.ระบบคอมพวิเตอร์ขาดการบาํรุงรักษาทเีหมาะสมและล่าช้า อุปกรณ์คอมพวิเตอร์บางส่วนไม่เพยีงพอในการดาํเนินงาน

(4.27)

จุดอ่อน

โอกาส

O1.มัสยดิถอืเป็นศูนย์รวมของมุสลมิทใีช้ในการปฏบิตัศิาสนกจิ เอือต่อการถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพ (4.10)

O2.หลักศาสนาและมีวถิชีุมชนทสีอดคล้องกับการดแูลสุขภาพ ช่วยเสริมให้การส่งเสริมสุขภาพง่ายขนึ (4.00)

O3.จงัหวัดนราธิวาสมีสงิแวดล้อมและธรรมชาตทิดี ีเอือต่อการมีสุขภาพทดีขีองประชาชน (3.97)

O4.กระทรวงฯ มีกฎ ระเบยีบ และข้อบงัคับด้านการเงนิและพสัดุ ให้แก่หน่วยงานทชีัดเจนให้ถอืปฏบิตัิ (3.93)

O4.ภาครัฐมีกฎหมายทสีนับสนุนการขับเคลือนและปฏบิัตงิานทีชัดเจน (3.92)

O5.โครงการพระราชดาํริฯ ทมีีในพนืท ีมีส่วนผลักดันให้การทาํงาน

ง่ายขนึ (3.90)O6.สถานบริการด้านสุขภาพของเอกชนมีมากขึน ทาํให้ประชาชน

มีทางเลือกมากขนึ 3.90O7.การเข้าถงึบริการเครือข่ายอนิเทอเน็ตมีเพมิมากขึน ทาํให้การ

ค้นหาข้อมูลด้านสุขภาพรวดเร็วและง่ายขึน (3.87)

โอกาส

ภาวะคุกคาม

T1.ชุมชนแออัดในเมืองมีสิงแวดล้อมไม่ถูกสุขลักษณะ ก่อให้เกดิโรคระบาดได้ง่าย(4.35)

T2.ชุมชนมีปัญหายาเสพตดิมาก ทาํให้การแก้ปัญหาสุขภาพยาก(4.25)

T3.สถานการณ์ความไม่สงบทาํให้ไปประกอบอาชีพไม่สะดวก รายได้ไม่ดี มีผลต่อการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน(4.22)

T4.การจดัสรรงบประมาณของกระทรวงสาธารณสุขล่าช้า เกดิกระทบต่อการดาํเนินงาน (4.13)

T5.ประชาชนมีทศันคตคิวามเชือ วัฒนธรรมในการบริโภคอาหารทเีป็นอุปสรรคต่อการปฏบิัตงิาน (4.12)

T6.ผู้นําประเทศเปลียนบ่อย ทาํให้ขาดความต่อเนืองในนโยบายที

ปฏบิัติ (4.07)T7.มีการลักลอบนําเข้าผลิตภณัฑ์สุขภาพทไีม่ได้รับอนุญาตหรือไม่

ได้มาตรฐาน ทาํให้ประชาชนขาดโอกาสทดีใีนการบริโภค

(4.00)T8.ปัญหาความไม่สงบในพืนท ีทาํให้ไม่สามารถเข้าไปดาํเนินงาน

สาธารณสุขในบางพืนท ี(4.00)

T9.กระทรวงสาธารณสุขยังไม่มีระบบการเชือมต่อข้อมูลทาง

อนิเตอร์เน็ตทมีีประสิทธิภาพในบางเรือง (4.00)

ภาวะคุกคาม

Situational Analysis/Scenario

ปัจจยัด้าน S W O Tคะแนนรวมเฉลีย*นําหนัก 357.46 386.10 358.67 387.06

จาํนวนผู้ประเมนิ 59 59 60 60สัดส่วน 3.57 3.86 3.58 3.87

Scenario ทไีด้จากการ Plot กราฟ

หาจุดแข็งจากภายนอกมาเสริม ใช้จุดแข็งไปช่วงชิงโอกาส

ถ่ายโอน ปรับเปลียน ปรับปรุง พฒันา ลดต้นทนุ ลดระยะเวลา

3.573.86

3.58

3.87

Two – Dimension Analysis การกาํหนดกลยุทธ์

นําเอาประเดน็คัดเลือกจาก SWOT ทงั 4 ด้าน มารวมกัน ดงันี

SO ใช้มาตรการ ใช้จุดแขง็ไปช่วงชงิโอกาส

WO ใช้มาตรการ แก้ไขจุดอ่อนเพอืช่วงชงิโอกาส หรือ หาจุดแขง็

จากภายนอกมาเสริม

ST ใช้มาตรการ ปรับปรุง พฒันา ลดต้นทุน ลดระยะเวลา

WT ใช้มาตรการ เลิก ลด ถ่ายโอน ปรับเปลียน Re-engineering

ประเดน็ยุทธศาสตร์

พฒันาคุณภาพบริหารบริการและวชิาการขององค์กร

พฒันาระบบข้อมูลข่าวสารให้มีมาตรฐานเพอืการบรูณา

การงานภายในและภายนอกองค์กร

สร้างเสริมสุขภาพให้คนนราธิวาสมีสุขภาวะตามบริบททาง

สังคม

ส่งเสริมความเข้มแขง็และความร่วมมือของภาคีเครือข่าย

ในการพฒันาระบบสุขภาพ

ยุทธศาสตร์ทกีาํหนด1.พฒันารูปแบบการควบคุมกาํกับงานภายใต้ข้อตกลงร่วมกันเพอืการบรรลุ

ผลสัมฤทธิทมีีประสิทธิภาพ

2.ส่งเสริมการพฒันางานวจิัยและสร้างนวัตกรรมเพอืการบริหารและบริการที

มีคุณภาพ

3.สนับสนุนการจัดการความรู้เพอืพฒันาระบบประกันคุณภาพของหน่วยงาน

4.พฒันาทรัพยากรบุคคลโดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิทยีงัยืนของการเป็นองค์กร

สุขภาพแห่งการเรียนรู้

5.เสริมสร้างขวัญและกาํลังใจในการปฏบิตังิานอย่างต่อเนือง

6.เสริมสร้างประสิทธิภาพขององค์กรตามหลักธรรมาภบิาลและการจัดการที

รวดเร็ว

ยุทธศาสตร์ทกีาํหนด7.พฒันาประสิทธิภาพระบบข้อมูลข่าวสารและการจดัองค์กรให้ทนัสมัยและเอือต่อ

การใช้ประโยชน์

8.พฒันาระบบการสือสารด้านสุขภาพกับประชาชนโดยใช้หลักศาสนาควบคู่การสาธารณสุข

9.เสริมสร้างช่องทางการสือสารข้อมูลด้านสุขภาพทหีลากหลายเหมาะสมกับบริบทพนืที

10.พฒันาระบบการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคโดยใช้ภาคีเครือข่ายร่วมบริหารจดัการระดบัพนืที

11.ปรับกลไกการดาํเนินงานให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกจิพอเพยีง

12.สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายสุขภาพภาคเอกชนในการร่วมสร้างสุขภาพแก่ประชาชน

13.พฒันาศักยภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายอย่างต่อเนือง

เขม็มุ่ง

ปี ๒๕๕๕ พฒันาระบบข้อมูลข่าวสารเพอืการใช้ประโยชน์ด้านสุขภาพ

ปี ๒๕๕๖ การป้องกันโรคและแก้ปัญหาสุขภาพทสีาํคัญให้มีประสิทธิภาพ

ปี ๒๕๕๗ สร้างระบบสุขภาพแบบบรูณาการเพอืการพงึตนเองด้าน

สุขภาพของประชาชน

ปี ๒๕๕๘ การรักษามาตรฐานบริการและการสร้างเสริมนวัตกรรม

สุขภาพ

ปี ๒๕๕๙ การพฒันารูปแบบการดแูลสุขภาพเพอืการมีสุขภาพดขีอง

ประชาชนภายใต้บริบทของพนืที

แผนพฒันายทุธศาสตรด์า้นสุขภาพปี ๒๕๕๖

วสิัยทศัน์ และ

เป้าประสงค์

ประเดน็ยุทธศาสตร์

ตวัชีวัด

ค่าเป้าหมาย

กลยุทธ

ชุดบญัชี

โครงการ

วสิัยทศัน์ด้านสุขภาพของจงัหวดันราธิวาส

องค์กรสุขภาพมีคุณภาพ คนนราธิวาสสุขภาพดี

โดยภาคีมีส่วนร่วมพฒันาระบบสุขภาพ

ความสัมพนัธ์รายประเดน็ยุทธศาสตร์

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงประเดน็ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์

SI.๑ พฒันาคุณภาพการ

บริหาร บริการ และ

วชิาการขององค์กร

สุขภาพ

G๑ : ระบบประกันคุณภาพงาน

ของหน่วยงานในสังกัดมี

มาตรฐานและเอือต่อการเข้าถงึ

บริการของประชาชน

1) ระบบบริหาร และบริการ

สุขภาพมีคุณภาพ

2) หน่วยงานมีการจัดให้เป็น

องค์กรแห่งการเรียนรู้อย่าง

ต่อเนือง

3) บุคลากรมีสมรรถนะและ

ทกัษะในการปฏิบตังิานอย่าง

ต่อเนือง

1.พฒันารูปแบบการควบคุม

กาํกับงานภายใต้ข้อตกลงร่วมกัน

เพอืการบรรลุผลสัมฤทธิทมีี

ประสิทธิภาพ

2.ส่งเสริมการพฒันางานวจิัยและ

สร้างนวัตกรรมเพอืการบริหาร

และบริการทมีีคุณภาพ

3.สนับสนุนการจัดการความรู้

เพอืพฒันาระบบประกันคุณภาพ

ของหน่วยงาน

ประเดน็ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์เชิงประเดน็

ยุทธศาสตร์กลยุทธ์

4.พฒันาทรัพยากรบุคคลโดย

มุ่งเน้นผลสัมฤทธิทยีังยืนของ

การเป็นองค์กรสุขภาพแห่ง

การเรียนรู้

5.เสริมสร้างขวัญและกาํลังใจ

ในการปฏบิตังิานอย่าง

ต่อเนือง

6.เสริมสร้างประสิทธิภาพของ

องค์กรตามหลักธรรมาภบิาล

และการจัดการทรีวดเร็ว

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวัชีวัด

SI.๑ พฒันา

คุณภาพการบริหาร

บริการ และวชิาการ

ขององค์กรสุขภาพ

1) ระบบบริหาร และบริการ

สุขภาพมีคุณภาพ

๑.ระดบัความสาํเร็จในการพฒันา

รักษามาตรฐานและการยกระดับ

คุณภาพของหน่วยงาน

๒.ระดบัความสาํเร็จในการจัดระบบ

บริการทเีชือมโยงทุกระดับ

2) หน่วยงานมีการจัดให้

เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

อย่างต่อเนือง

๓.ระดบัความสาํเร็จในการจัดการ

จัดระบบการเรียนรู้ของหน่วยงาน

3) บุคลากรมีสมรรถนะและ

ทกัษะในการปฏบิตังิาน

อย่างต่อเนือง

๔.ระดบัความสาํเร็จของการพฒันา

สมรรถนะบุคลากรให้พร้อมตาม

บทบาทหน้าที

ประเดน็ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์เชิงประเดน็

ยุทธศาสตร์กลยุทธ์

SI.๒ พฒันาระบบ

ข้อมูลข่าวสารให้มี

มาตรฐานเพอืการบูร

ณาการงานภายใน

และภายนอกองค์กร

G๒ : ระบบข้อมูลและคลัง

ความรู้ ด้านสุขภาพทนัสมัย

เชือถือได้เอือต่อการเข้าถงึ

และการนําไปใช้ประโยชน์

๑.ระบบข้อมูลได้

มาตรฐานตามเกณฑ์ที

กาํหนด

๒.บุคลากรสาธารณสุข

และประชาชนมีข่องทางใน

การเข้าถงึข้อมูลข่าวสารที

หลากหลาย

7.พฒันาประสิทธิภาพระบบ

ข้อมูลข่าวสารและการจัด

องค์กรให้ทนัสมัยและเอือต่อ

การใช้ประโยชน์

8.พฒันาระบบการสือสารด้าน

สุขภาพกับประชาชนโดยใช้

หลักศาสนาควบคู่การ

สาธารณสุข

9.เสริมสร้างช่องทางการ

สือสารข้อมูลด้านสุขภาพที

หลากหลายเหมาะสมกับ

บริบทพนืที

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวัชีวัด

SI.๒ พฒันา

ระบบข้อมูล

ข่าวสารให้มี

มาตรฐานเพอื

การบูรณาการ

งานภายในและ

ภายนอกองค์กร

๑.ระบบข้อมูลได้

มาตรฐานตามเกณฑ์ที

กาํหนด

๕.ระดบัความสาํเร็จของการใช้

เทคโนโลยสีารสนเทศเพอืการ

จัดการข้อมูลสุขภาพ

๖.ระดบัความสาํเร็จในการ

จัดทาํระบบบริหารความเสียง

ของระบบข้อมูลสารสนเทศ

๒.บุคลากรสาธารณสุข

และประชาชนมีข่องทาง

ในการเข้าถงึข้อมูล

ข่าวสารทหีลากหลาย

๗.ระดบัความสาํเร็จในการ

เข้าถงึข้อมูลข่าวสารด้าน

สุขภาพ

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงประเดน็ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์

SI.๓ การส่งเสริม

สุขภาพให้คนนราธิวาส

มีสุขภาวะตามบริบท

ทางสังคม

G๓ : ประชาชนมีสุขภาพดี

สอดคล้องกับบริบททางสังคม

๖.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

ได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพและ

ป้องกันโรคทมีีคุณภาพ

๗.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมี

พฤตกิรรมทางสุขภาพที

เหมาะสม

๘.ประชาชนได้บริโภคอาหาร

ผลิตภณัฑ์ และบริการสุขภาพที

ได้มาตรฐานและปลอดภยั

๙.ประชาชนเจบ็ป่วยด้วยโรค

และภยัทางสุขภาพทลีดลง

๑๐.ประชาชนได้รับบริการที

สอดคล้องกับบริบทของพนืท ี

๑๐.ประชาชนได้รับบริการ

ทสีอดคล้องกับบริบทของ

พนืท ี

11.ปรับกลไกการ

ดาํเนินงานให้สอดคล้อง

กับหลักปรัชญาเศรษฐกจิ

พอเพยีง

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวัชีวัด

SI.๓ การส่งเสริม

สุขภาพให้คน

นราธิวาสมีสุขภาวะ

ตามบริบททาง

สังคม

๑.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

ได้รับบริการส่งเสริม

สุขภาพและป้องกันโรคทมีี

คุณภาพ

๘.อัตรามารดาตาย

๙.อัตราทารกตายปริกาํเนิด

๑๐.อัตราป่วยและตายด้วยโรคที

ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

๑๑.ร้อยละของเดก็แรกเกดิ-72

เดอืนมีพฒันาการสมวัย

๑๒.ระดบัความสาํเร็จของการดแูล

สุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมาย

๑๓.อัตราป่วยด้วยโรคตดิต่อทาง

เพศสัมพนัธ์และเอดส์

๑๔.ร้อยละของการตงัครรภ์ก่อนวัย

อันควร

๑๕.ร้อยละของผู้เสพและผู้ตดิยา

เสพตดิได้รับการจาํหน่ายแบบครบ

เกณฑ์

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวัชีวัด

SI.๓ การส่งเสริม

สุขภาพให้คนนราธิวาส

มีสุขภาวะตามบริบท

ทางสังคม

๒.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมี

พฤตกิรรมทางสุขภาพที

เหมาะสม

๑๖.ระดบัความสาํเร็จการควบคุม

ป้องกันโรคเรือรัง ผ่านเกณฑ์ทกีาํหนด

๓.ประชาชนได้บริโภค

อาหาร ผลิตภณัฑ์ และ

บริการสุขภาพทไีด้

มาตรฐานและปลอดภยั

๑๗.ระดบัความสาํเร็จในการควบคุม

มาตรฐานสถานประกอบการด้าน

ผลิตภณัฑ์และบริการสุขภาพ

๑๘.ระดบัความสาํเร็จในการดาํเนินงาน

ความปลอดภยัด้านยาและอาหาร

๑๙.ระดบัความสาํเร็จในการดาํเนินงาน

ตามแนวทางควบคุมการ บริโภคบุหรี/

สุราของประชาชนในพนืทรีับผิดชอบ

ผ่านเกณฑ์ทกีาํหนด

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวัชีวัด

SI.๓ การส่งเสริม

สุขภาพให้คน

นราธิวาสมีสุขภาวะ

ตามบริบททาง

สังคม

๔.ประชาชนเจบ็ป่วย

ด้วยโรคและภยัทาง

สุขภาพทลีดลง

๒๐.ระดบัความสาํเร็จของการ

แก้ไขปัญหาในโรคทเีป็นปัญหา

ของพนืท ี

๒๑.อัตราตายจากอุบตัเิหตุ

๕.ประชาชนได้รับ

บริการทสีอดคล้องกับ

บริบทของพนืท ี

๒๒.อัตราความพงึพอใจต่อการ

จัดบริการของบุคลากร

สาธารณสุข

ประเดน็ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์เชิงประเดน็

ยุทธศาสตร์กลยุทธ์

SI.๔ ส่งเสริมความ

เข้มแขง็และความ

ร่วมมือของภาคี

เครือข่ายในการ

พฒันาระบบสุขภาพ

G๔ : ภาคีเครือข่ายสุขภาพมี

ส่วนร่วมในการพฒันาระบบ

บริการสุขภาพอย่างต่อเนือง

๑๑.ภาคีเครือข่าย

สนับสนุนการดาํเนิน

กจิกรรมด้านสุขภาพ

๑๒.ภาคีเครือข่ายร่วม

กจิกรรมด้านสุขภาพที

ต่อเนือง

12.สร้างความร่วมมือ

กับเครือข่ายสุขภาพ

ภาคเอกชนในการร่วม

สร้างสุขภาพแก่

ประชาชน

13.พฒันาศักยภาพ

และส่งเสริมการมีส่วน

ร่วมของภาคีเครือข่าย

อย่างต่อเนือง

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวัชีวัด

SI.๔ ส่งเสริมความ

เข้มแขง็และความ

ร่วมมือของภาคี

เครือข่ายในการพฒันา

ระบบสุขภาพ

๑.ภาคีเครือข่าย

สนับสนุนการดาํเนิน

กจิกรรมด้านสุขภาพ

๒๓.ระดบัความสาํเร็จในการ

สนับสนุนกองทุนหลักประกัน

สุขภาพระดบัท้องถนิ ดาํเนิน

กจิกรรมด้านสุขภาพ

๒.ภาคีเครือข่ายร่วม

กจิกรรมด้านสุขภาพ

ทตี่อเนือง

๒๔.ระดบัความสาํเร็จในการ

ดาํเนินงานหมู่บ้านจัดการสุขภาพ

๒๕.ร้อยละของภาคีเครือข่ายทมีี

ส่วนร่วมในการให้บริการ

การแพทย์ฉุกเฉิน

SRM ปี 2555‐2559

การพฒันาสาธารณสุขจงัหวัดนราธิวาส

องค์กรสขุภาพได้รับ

การประกนัคณุภาพ

องค์กรมีการพฒันาด้าน

วิชาการทีมีมาตรฐาน

บคุลากรทางการแพทย์มี

สดัสว่นตามเกณฑ์

บคุลากรสาธารณสขุมีมาตรฐาน

วิชาชีพและตามบทบาทหน้าที

จดัระบบข้อมลูขา่วสารให้มี

มาตรฐานและเชือมโยงการพฒันา

องค์กร

บรูณาการงานอยา่งมีประสิทธิภาพ(ไมม่ีขนัตอนเกินความจําเป็น) มีประสิทธิภาพคุ้มคา่

(ต้นทนุตอ่หน่วยลดลง)ประสิทธิภาพ

คุณภาพ ประชาชนมีความพงึพอใจในบริการ/ผลผลิต

ภาคีเครือขา่ยได้รับการ

พฒันาศกัยภาพ

ภาคีเครือขา่ยเข้าร่วมกิจกรรมพฒันาระบบสขุภาพอยา่งตอ่เนือง

หน่วยงาน/ชมุชน/อปท/มีความพงึพอใจในบริการ/ผลติ

ประสิทธิผล

วิสยัทศัน์ “องค์กรสขุภาพมีคณุภาพ คนนราธิวาสมีสขุภาพดี ภาคีมีสว่นร่วมพฒันาระบบสขุภาพ

หน่วยงานผ่าน

เกณฑ์มาตรฐาน

ประชาชนมีสุขภาพดี

ระบบข้อมูลได้มาตรฐานและเชือมโยง

ภาคีเข้มแข็งและร่วม

กจิกรรมสุขภาพต่อเนือง

ระบบประกันคุณภาพงาน

ของหน่วยงานในสังกัดมี

มาตรฐานอย่างต่อเนือง

ประชาชนมีสุขภาพ

ดสีอดคล้องกับ

บริบททางสังคม

ระบบข้อมูลและคลังความรู้ ด้าน

สุขภาพทนัสมัย เชือถือได้เอือต่อ

การเข้าถงึและการนําไปใช้ประโยชน์

ภาคีเครือข่ายสุขภาพมี

ส่วนร่วมในการพัฒนา

ระบบบริการสุขภาพ

อย่างต่อเนือง

องค์กรสขุภาพได้รับ

การประกนัคณุภาพ

องค์กรมีการพฒันาด้านวิชาการ

ทีมีมาตรฐาน

บคุลากรทางการแพทย์มีสดัสว่นตาม

เกณฑ์

บคุลากรสาธารณสขุมีมาตรฐาน

วิชาชีพและตามบทบาทหน้าที

ระบบข้อมลูมีมาตรฐานและ

เชือมโยงพนืฐาน

(Learning and

Development)

บูรณาการงานอย่างมีประสิทธิภาพ

การบริหารจัดการโปร่งใส เท่าเทยีม

ตรวจสอบได้

กระบวนการ(Management)

ภาคีเครือข่าย(Stakeholder)

ทุกหน่วยงานมีการจัดการ

ความรู้อย่างเป็นระบบ

ภาคีเครือขา่ยได้รับการ

พฒันาศกัยภาพ

ภาคีเครือข่ายเข้าร่วมกจิกรรมพัฒนา

ระบบสุขภาพอย่างต่อเนือง

มีการประชาสัมพันธ์งาน

ทีทัวถงึ หลากหลาย

ประชาชน

(Valuation)

วิสยัทศัน์ “องค์กรสขุภาพมีคณุภาพ คนนราธิวาสมีสขุภาพดี ภาคีมีสว่นร่วมพฒันาระบบสขุภาพ

ประชาชนพัฒนาคุณภาพ

ชีวติตนเองและพงึตนเองได้

ประชาชนมีสุขภาพดีอัน

เนืองมาจากการดาํเนินงาน

ตามแผนงานและนโยบาย

ลดโรคและอุบัตกิารณ์ทีมี

ผลกระทบต่อสุขภาพ

ประชาชนมีความรู้และเข้าถงึข้อมูล

ข่าวสารด้านสุขภาพทีมีประสทิธิภาพ

G1 : ระบบประกันคุณภาพ

งานของหน่วยงานในสังกัด

มีมาตรฐานอย่างต่อเนือง

G3 : ประชาชนมี

สุขภาพดสีอดคล้อง

กับบริบททางสังคม

G2 : ระบบข้อมูลและคลัง

ความรู้ ด้านสุขภาพทนัสมัย

เชือถือได้เอือต่อการเข้าถงึ

และการนําไปใช้ประโยชน์

G4 : ภาคีเครือข่าย

สุขภาพมีส่วนร่วมในการ

พัฒนาระบบบริการ

สุขภาพอย่างต่อเนือง

บริหารจัดการข้อมูลเพือการวางแผนทมีีประสิทธิภาพ

ทีมร่วมประเมนิผลงาน

เพือการพัฒนาอย่าง

เป็นระบบ

หน่วยงานทุกระดับรับนโยบายและ

พัฒนาคุณภาพ พร้อมรับการประเมนิ

อย่างต่อเนือง

โครงการทตีอบสนองยุทธศาสตร์เป้าประสงค์ ตวัชีวัด โครงการ / กจิกรรม งบประมาณ ผู้ รับผิดชอบหลัก

๑.ระบบบริหาร และ

บริการสุขภาพมี

คุณภาพ

๑.ระดบัความสาํเร็จใน

การพฒันา รักษา

มาตรฐานและการ

ยกระดบัคุณภาพของ

หน่วยงาน (12)

โครงการพฒันาคุณภาพการบริหารจัดการ

ภาครัฐ (PMQA)

390,000นางโซเฟีย เพช็รฆาตร

โครงการแลกเปลียนเรียนรู้การบนัทกึเวช

ระเบยีน

169,000นางวรลักษณ์ โชตบิัณฑ์

โครงการอบรมการใช้โปรแกรมมาตรฐานเพอื

การจัดทาํต้นทุนบริการ(Unit Cost)

169,800นางสาวรัชตา คาํมณี

โครงการพฒันาหน่วยปฐมภมูิ 1,413,440

นางพีรวรรณ ชีวัยยะ

โครงการพฒันาคุณภาพโรงพยาบาลใน

จังหวัดนราธิวาส

671,700นางภาวิณี อู่เพียรพงศ์

โครงการสถานททีาํงานน่าอยู่ น่าทาํงาน 654,610นายแวปา วันฮุสเซน็ต์

โครงการดาํเนินงานพฒันาความปลอดภยั

หน่วยงานสาธารณสุข60,000นางการัมบบีี แซลีมา

โครงการพฒันาองค์ความรู้ด้านกฎหมายที

เกียวข้องในการทาํงาน

200,000นายบัณฑติ ชาตะกูล

โครงการอบรมการพฒันาระบบการจัดซือจัด

จ้างภาครัฐ (EGP)

184,000นางการัมบบีี แซลีมา

โครงการพฒันาระบบการควบคุมภายในและ

การบริหารความเสียง850,000นางการัมบบีี แซลีมา

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวัชีวัด โครงการ / กิจกรรม งบประมาณ

ฝ่ายที

รับผิดชอบ

SI.๑ พัฒนาคุณภาพ

การบริหาร บริการ

และวิชาการของ

องค์กรสุขภาพ

๑.ระบบบริหาร และ

บริการสุขภาพมีคุณภาพ

๒.ระดบัความสาํเร็จใน

การจัดระบบบริการ

ของเครือข่ายสุขภาพที

เชือมโยงทุกระดบั (3)

โครงการขับเคลือนการพัฒนาระบบ

บริการสุขภาพ 11 สาขา

480,000นายพฤทธิ ไชยเหมวงศ์

โครงการเพมิศักยภาพบุคลากรด้าน

การจัดการทรัพยากรสุขภาพทมีี

ประสิทธิภาพสอดคล้องกับระบบ

บริการสุขภาพของพืนที

105,000นายสุทัศน์ พเิศษ

รวมเงนิเป้าประสงค์ท ี1 5,347,550

SI.๑ พัฒนาคุณภาพ

การบริหาร บริการ

และวิชาการของ

องค์กรสุขภาพ

๒.หน่วยงานมีการจัดให้

เป็นองค์กรแห่งการ

เรียนรู้อย่างต่อเนือง

๓.ระดบัความสาํเร็จใน

การจัดการจัดระบบการ

เรียนรู้ของหน่วยงาน

(3)

โครงการประชุมวิชาการสาธารณสุข

จังหวัดนราธิวาส

1,800,000นายสุทศัน์

พเิศษ

โครงการประชุมวิชาการการพัฒนา

งานประจาํสู่งานวิจัย R2R

252,800นายสุทศัน์

พเิศษ

โครงการส่งเสริมความร่วมมือ

ระหว่างไทยกับมาเลเซียในการ

พัฒนาคุณภาพบริการสาธารณสุข

ระหว่างประเทศเพือการแก้ปัญหาที

เกิดขึนระหว่างชายแดน

350,000นายสง คงคุณ

รวมเงนิเป้าประสงค์ท ี2 2,402,800

ประเดน็

ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชีวัด โครงการ / กจิกรรม งบประมาณ

ฝ่ายที

รับผิดชอบ

SI.๑ พฒันา

คุณภาพการ

บริหาร บริการ

และวชิาการของ

องค์กรสุขภาพ

๓.บุคลากรมี

สมรรถนะในการ

ปฏบิัตงิานทพีร้อมใน

สถานการณ์ที

เปลียนแปลง

๔.ระดับความสาํเร็จ

ของการพฒันา

สมรรถนะบุคลากร

ให้พร้อมตาม

บทบาทหน้าท ี(3)

โครงการพฒันาสมรรถนะ

บุคลากรตามบทบาทหน้าทใีน

สาํนักงานสาธารณสุขจังหวัด

นราธิวาส

167,500นายสุทศัน์

พเิศษ

โครงการพฒันาสมรรถนะ

บุคลากรด้านการพฒันา

คุณภาพองค์กรจังหวัด

นราธิวาส

580,000นายสุทศัน์

พเิศษ

โครงการโรงเรียนผู้บริหารด้าน

สาธารณสุข 3 กจิกรรมหลัก

400,260นายสุทศัน์

พเิศษ

โครงการปฐมนิเทศข้าราชการ

ใหม่ในสังกัดหน่วยงาน

สาธารณสุข

43,700นายชนะ แดงใหญ่

โครงการพฒันาคุณธรรม

จริยธรรมบุคลากรใน

หน่วยงาน

150,900นางนุชจรินทร์ วรรณรัตน์

รวมเงนิเป้าประสงค์ท ี3 1,342,360

ประเดน็ยทุธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชีวัด โครงการ / กจิกรรม งบประมาณ

ฝ่ายที

รับผิดชอบ

SI.๒ พฒันาระบบ

ข้อมลูขา่วสารให้มี

มาตรฐานเพือ

การบรูณาการงาน

ภายในและ

ภายนอกองค์กร

๑.ระบบข้อมลูได้

มาตรฐานตาม

เกณฑ์ทีกําหนด

๕.ระดบัความสําเร็จ

ของการใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศเพือการ

จดัการข้อมลูสขุภาพ

(2)

โครงการพฒันาระบบ

สารสนเทศสขุภาพเพือการ

ใช้ประโยชน์ สํานกังาน

สาธารณสขุจงัหวดั

3,658,795นายจรูญศกัดิ เวทมาหะ

๖.ระดบัความสําเร็จใน

การจดัทําระบบบริหาร

ความเสียงของระบบ

ข้อมลูสารสนเทศ (3)

นายสมหมาย

สงัข์แก้ว

รวมเงนิเป้าประสงค์ท ี1 3,658,795

๒.บคุลากร

สาธารณสขุและ

ประชาชนมีขอ่ง

ทางในการเข้าถงึ

ข้อมลูขา่วสารที

หลากหลาย

๗.ระดบัความสําเร็จใน

การเข้าถงึข้อมลูขา่วสาร

ด้านสขุภาพ (3)

โครงการพฒันางานสขุศกึษา

ประชาสมัพนัธ์และพฒันา

พฤติกรรมสขุภาพ

807,200นางวรรณา

เหมือนกู้

รวมเงนิเป้าประสงค์ท ี2 807,200

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวัชีวัด โครงการ / กิจกรรม

งบประมา

ณProject

Manager

SI.๓ การส่งเสริม

สุขภาพให้คน

นราธิวาสมีสุขภาวะ

ตามบริบททางสังคม

๑.ประชาชน

กลุ่มเป้าหมาย

ได้รับบริการ

ส่งเสริมสุขภาพ

และป้องกันโรคที

มีคุณภาพ

๘.อัตรามารดาตาย (5) โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มแม่และ

เดก็จังหวัดนราธิวาส

1,454,934นางนูลีฮะ แวสะแลแม

๙.อัตราทารกตายปริกาํเนิด

(2)

นางนูลีฮะ แวสะ

แลแม

๑๐.อัตราป่วยและตายด้วย

โรคทปี้องกันได้ด้วยวัคซีน (3)

นางซูไอด๊ะ สตา

ปอ

๑๑.ร้อยละของเดก็มี

พฒันาการสมวัย (5)

โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มแม่และ

เดก็จังหวัดนราธิวาส (กลุ่มเดก็แรก

เกดิ-72 เดอืน /วัยเรียน)

866,200นางรอยัน หะยี

มะเยง็

๑๒.ระดบัความสาํเร็จของ

การดแูลสุขภาพช่องปากใน

กลุ่มเป้าหมาย (5)

โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากตาม

กลุ่มวัย (แม่และเดก็ วัยเรียน และ

ผู้สูงอายุ)

417,900นางกาญจนา

มันคง

๑๓.อัตราป่วยด้วยโรคตดิต่อ

ทางเพศสัมพันธ์และเอดส์

(6)

โครงการป้องกันควบคุมโรคเอดส์และ

โรคตดิต่อทางเพศสัมพันธ์

647,800นางนอรอซี จันตุด

๑๔.ร้อยละของการตงัครรภ์

ก่อนวัยอันควร (3)

โครงการตงัครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น 35,480นายเพญ็ภาส

เพช็รภาร

๑๕.ร้อยละของผู้ เสพและผู้

ตดิยาเสพตดิได้รับการ

จาํหน่ายแบบครบเกณฑ์ (2)

โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไข

ปัญหายาเสพตดิ

1,770,950นางปารีชาต ชู

ทพิย์

รวมเงนิเป้าประสงค์ท ี1 4,775,364

ประเดน็

ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชีวัด โครงการ / กจิกรรม งบประมาณProject

ManagerSI.๓ การส่งเสริม

สุขภาพให้คน

นราธิวาสมีสุข

ภาวะตามบริบท

ทางสังคม

๒.ประชาชน

กลุ่มเป้าหมายมี

พฤตกิรรมทาง

สุขภาพทเีหมาะสม

๑๖.ระดับ

ความสาํเร็จการ

ควบคุมป้องกันโรค

เรือรัง ผ่านเกณฑ์

ทกีาํหนด (15)

โครงการส่งเสริมสุขภาพ

และป้องกันโรคไม่ตดิต่อ

แบบบูรณาการกลุ่มวัย

ทาํงานและวัยสูงอายุ

1,924,490นางอภญิญา

ก้อเดม็

โครงการสร้างสุขภาพและ

การปรับเปลียนพฤตกิรรม

สุขภาพแก่บุคลากร

สาธารณสุข

65,000

นายจรงฤท ิ

สังข์ประสิทธิ

รวมเงนิเป้าประสงค์ท ี2 1,989,490

๓.ประชาชนได้

บริโภคอาหาร

ผลิตภณัฑ์ และ

บริการสุขภาพทไีด้

มาตรฐานและ

ปลอดภยั

๑๗.ระดับ

ความสาํเร็จในการ

ควบคุมมาตรฐาน

ผลิตภณัฑ์สุขภาพ

(5)

โครงการพฒันางาน

คุ้มครองผู้บริโภคด้าน

ผลิตภณัฑ์สุขภาพจังหวัด

นราธิวาส

1,460,580นางเนตรมาตา

จันทร์คง

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวัชีวัด โครงการ / กจิกรรม งบประมาณProject

ManagerSI.๓ การส่งเสริม

สุขภาพให้คน

นราธิวาสมีสุขภาวะ

ตามบริบททางสังคม

๓.ประชาชนได้บริโภค

อาหาร ผลิตภณัฑ์

และบริการสุขภาพที

ได้มาตรฐานและ

ปลอดภยั

๑๘.ระดบัความสาํเร็จใน

การควบคุมมาตรฐานสถาน

ประกอบการด้านผลิตภณัฑ์

และบริการสุขภาพ (5)

โครงการพฒันางานคุ้มครอง

ผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ

208,540นางสุธาดา

สายวารี

โครงการบรูณาการการจัดการ

สภาพแวดล้อมของหน่วยงาน

และชุมชน

555,000นางสาว

พสิมัย

ยอดพรหม

๑๙.ระดบัความสาํเร็จใน

การดาํเนินงานตาม

แนวทางควบคุมการบริโภค

บุหรีและสุราของประชาชน

ในพนืทรีับผิดชอบผ่าน

เกณฑ์ทกีาํหนด (2)

โครงการดาํเนินงานด้านบุหรี

และสุรา

190,500นางรุสนี มะ

รวมเงนิเป้าประสงค์ท ี3 2,414,620

๔.ประชาชนเจบ็ป่วย

ด้วยโรคและภยัทาง

สุขภาพทลีดลง

๒๐.ระดบัความสาํเร็จของ

การแก้ไขปัญหาในโรคที

เป็นปัญหาของพนืท ี(14)

โครงการควบคุมป้องกัน

โรคตดิต่อแบบบรูณาการใน

กลุ่มวัยทาํงานและผู้ สูงอายุ

1,507,000นางจริยา

นราธิปภทัร

๒๑.อัตราตายจากอุบตัเิหตุ

(1)

รวมเงนิเป้าประสงค์ท ี4 1,507,000

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวัชีวัด โครงการ / กิจกรรม งบประมาณProject

ManagerSI.๓ การส่งเสริม

สุขภาพให้คนนราธิวาส

มีสุขภาวะตามบริบท

ทางสังคม

๕.ประชาชนได้รับ

บริการทสีอดคล้อง

กับบริบทของพืนท ี

๒๒.อัตราความพงึพอใจต่อ

การจัดบริการของบุคลากร

สาธารณสุข (2)

โครงการสาํรวจภาวะสุขภาพ

ประชาชนและวัดความพงึพอใจต่อ

บริการด้านสาธารณสุขจังหวัด

นราธิวาส

100,000นางสาวนิตยา นิลรัตน์

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ไปประกอบ

พธิีฮัจย์150,000

นางซูไอด๊ะ สตาปอ

โครงการศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพ 2,000,000นายแวปา วันฮุส

เซน็ต์

รวมเงนิเป้าประสงค์ท ี5 2,250,000

SI.๔ ส่งเสริมความ

เข้มแข็งและความ

ร่วมมือของภาคี

เครือข่ายในการพัฒนา

ระบบสุขภาพ

๑.ภาคีเครือข่าย

สนับสนุนการ

ดาํเนินกิจกรรม

ด้านสุขภาพ

๒๓.ระดบัความสาํเร็จในการ

สนับสนุนกองทุนหลักประกัน

สุขภาพระดบัท้องถนิ ดาํเนิน

กิจกรรมด้านสุขภาพ (2)

โครงการพัฒนากลไกและศักยภาพ

การบริหารจัดการกองทุนประกัน

สุขภาพระดบัท้องถนิ

440,000นายคมสัน ทอง

ไกร

๒๔.ร้อยละของอาํเภอทมีี

District Health System ที

เชือมโยงระบบบริการปฐมภมูิ

กับชุมชนและท้องถนิอย่างมี

คุณภาพ ใช้ SRM/เครืองมือ

อืนๆ ในการทาํแผนพัฒนา

สุขภาพ (4)

โครงการพัฒนากลไกการดาํเนินงาน

เครือข่ายอาํเภอจัดการสุขภาพ

678,000นางวรรณา เหมือน

กู้

รวมเงนิเป้าประสงค์ท ี1 1,118,000

ประเดน็

ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวัชีวัด โครงการ / กจิกรรม งบประมาณProject

Manager

๒.ภาคี

เครือขา่ยร่วม

กิจกรรมด้าน

สขุภาพที

ตอ่เนือง

๒๕.ร้อยละของ

ภาคีเครือขา่ย ทีมี

สว่นร่วมในการ

ให้บริการ

การแพทย์ฉกุเฉิน

(3)

โครงการพฒันาเครือขา่ย

การแพทย์ฉกุเฉินและ

ระบบสง่ตอ่ จงัหวดั

นราธิวาส

1,070,130นายธนัวา

พยคัฆโยธี

โครงการพฒันา

ระบบปฏิบตัิการตอบโต้

ภาวะฉกุเฉินทางการแพทย์

และสาธารณสขุ

320,000

นายสมศกัดิ

ขนุฤทธิมนตรี

รวมเงนิเป้าประสงค์ท ี2 1,390,130

รวมเงนิจาํนวน เป้าประสงค์ 29,003,309

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์

จาํนวน

ตวัชีวัด

จาํนวน

โครงการ งบประมาณ

SI.๑ พฒันาคณุภาพการ

บริหาร บริการ และวิชาการ

ขององค์กรสขุภาพ

๑.ระบบบริหาร และบริการสขุภาพมี

คณุภาพ 17 12 5,347,550

๒.หน่วยงานมีการจดัให้เป็นองค์กรแหง่

การเรียนรู้อยา่งตอ่เนือง 3 3 2,402,800

๓.บคุลากรมีสมรรถนะในการปฏิบตัิงานที

พร้อมในสถานการณ์ทีเปลยีนแปลง 3 5 1,342,360

รวมใช้เงนิงบประมาณ 23 20 9,092,710

SI.๒ พฒันาระบบข้อมลู

ขา่วสารให้มีมาตรฐานเพือ

การบรูณาการงานภายใน

และภายนอกองค์กร

๑.ระบบข้อมลูได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที

กําหนด 4 1 3,658,795

๒.บคุลากรสาธารณสขุและประชาชนมี

ขอ่งทางในการเข้าถงึข้อมลูขา่วสารที

หลากหลาย 3 1 807,200

รวมใช้เงนิงบประมาณ 7 2 4,465,995

ประเดน็ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์

จาํนวน

ตวัชีวัด

จาํนวน

โครงการ งบประมาณ

SI.๓ การสง่เสริมสขุภาพให้คนนราธิวาสมีสขุภาวะ

ตามบริบททางสงัคม

๑.ประชาชนกลุม่เป้าหมายได้รับบริการสง่เสริม

สขุภาพและป้องกนัโรคทีมีคณุภาพ

32 6 4,775,364

๒.ประชาชนกลุม่เป้าหมายมีพฤติกรรมทางสขุภาพ

ทีเหมาะสม 15 21,989,490

๓.ประชาชนได้บริโภคอาหาร ผลิตภณัฑ์ และบริการ

สขุภาพทีได้มาตรฐานและปลอดภยั

12 4 2,414,620

๔.ประชาชนเจ็บป่วยด้วยโรคและภยัทางสขุภาพที

ลดลง 15 11,507,000

๕.ประชาชนได้รับบริการทีสอดคล้องกบับริบทของ

พืนที 5 32,250,000

รวมใช้เงนิงบประมาณ 79 16 12,936,474

SI.๔ สง่เสริมความเข้มแข็งและความร่วมมือของ

ภาคีเครือขา่ยในการพฒันาระบบสขุภาพ

๑.ภาคีเครือขา่ยสนบัสนนุการดําเนินกิจกรรมด้าน

สขุภาพ 2 2 1,118,000

๒.ภาคีเครือขา่ยร่วมกิจกรรมด้านสขุภาพทีตอ่เนือง 6 2 1,390,130

รวมใช้เงนิงบประมาณ 8 4 2,508,130

รวมใช้เงนิงบประมาณทงัหมด 117 42 29,003,309

แผนการออกประเมินแผนยทุธศาสตร์ คปสอ.วันที เช้า บ่าย หมายเหตุ

4-ก.พ.-56 คปสอ.สุคริิน - การเตรียมการ

1.นําเสนอ คปสอ.ละ ไม่เกนิ 30 นาที

5-ก.พ.-56 คปสอ.ศรีสาคร คปสอ.รือเสาะ 2.เตรียมเอกสาร คือ

2.1 เล่มเอกสารแผนยุทธศาสตร์ ปี 2556

6-ก.พ.-56 คปสอ.ตากใบ

คปสอ.เมือง

นราธิวาส

2.2 กรอบแผนยุทธศาสตร์ 3 ปี หรือ 4 ปี

หรือ 5 ปี ของ คปสอ.

7-ก.พ.-56 คปสอ.จะแนะ คปสอ.ระแงะ 2.3 ข้อมูลสรุปผลงานปี 2555

2.4 ข้อมูลอืนทเีกียวข้องและสัมพนัธ์กับ

แผนของ คปสอ.11-ก.พ.-56 คปสอ.บาเจาะ คปสอ.ยีงอ

2.5 กรอบการจัดสรรงบประมาณ CUP

12-ก.พ.-56 คปสอ.สุไหงปาดี คปสอ.เจาะไอร้อง งานส่งเสริมป้องกันฯ

13-ก.พ.-55 คปสอ.แว้ง คปสอ.สุไหงโก-ลก

top related