mascot น้องแครอท

Post on 24-Mar-2016

225 Views

Category:

Documents

2 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

Mascot น้องแครอท รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การออกแบบภาพเคลื่อนไหว ARTI3322 ของนายอรรถพล พลเยี่ยม

TRANSCRIPT

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรมMascot

Thailand Research Expo 2013by Attpol Polyiam

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

คำ�นำ�

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการออกแบบภาพเคลื่อนไหว�เนื้อหาในรายงานเล่มนี้ประกอบไปด้วย�การศึกษาและเรียนรู้ตามขั้นตอน�3�ส.�เพื่อการออกแบบมาสคอตในการส่งเข้าประกวด�Thailand�Research�Expo�2013�ที่จะถูกจัดขึ้นในปีนี้ในหัวข้อ�การออกแบบ�Mascot�ของงาน�“การนำ�เสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ�๒๕๕๖”�(Thailand�Research�Expo�2013)�จะต้องสื่อให้เห็นถึงการแสดงความคิดสร้างสรรค์ของนักวิจัย�ในการสร้างวิจัยอย่างมีคุณค่าและประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ�และเพื่อเป็นการสร้างสรรค์ความรู้และแนวความคิดใหม่ๆให้แก่นักศึกษา�ในรายงานเล่มนี้จะประกอบไปด้วยการดำ�เนินการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระต่ายลักษณะนิสัยของกระต่าย

จัดทำ�โดยนายอรรถพล�พลเยี่ยม(นายอรรถพล�พลเยี่ยม)

นักศึกษาชั้นปีที่�4�สาขาวิชาศิลปกรรม

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

เรื่อง������������������������������������������หน้าขั้นตอนการสือนค้นข้อมูล�ส.1�����������������������4ความเป็นมาของกระต่าย���������������������������5ประโยชน์ของกระต่าย�����������������������������5ขั้นตอนการผลิตภาพร่างที่�1�������������������������������������6ภาพร่างที่�2������������������������������������7Sketch�6�ท่าทางของมาสคอต��������������������8ขั้นตอนการทำ�งาน�������������������������������9ขั้นตอนการลงสี�������������������������������10-12ภาพรวม�6�ท่าทาง�����������������������������13การสรุปผลและความหมายของมาสคอต�������������14���������������������������

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

จากโจทย์ที่ได้รับจากที่สำ�นักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ�มีการจัดประกวดออกแบบและตั้งชื่อ�Mascot�ของงานการนำ�เสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ�Thailand�Research�Expo�2013�ด้วย�สำ�นักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ�(วช.)�ได้กำ�หนดการจัดงาน�“การนำ�เสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ�2556”�(Thailand�Research�Expo�2013)�ขึ้น�โดยมีวัตถุประสงค์ให้เป็นเวทีระดับชาติด้านการส่งเสริมการวิจัย�โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายการวิจัยและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในภาคส่วนต่างๆทั่วประเทศ�ซึ่งการจัดงานมีองค์กรและหน่วยงานในระบบวิจัยได้นำ�ผลงานและกิจกรรมเข้าร่วมงานในหลากหลายรูปแบบ�และมีผู้เข้าร่วมงานเป็นจำ�นวนมาก�สำ�หรับปี�2556�กำ�หนดจัดงานดังกล่าวขึ้น�ในวันที่�23-27�สิงหาคม�2556�ณ�ศูนย์ประชุมบางกอกคอนเวนชั่นเซนเตอร์�เซ็นทรัลเวิลด์�ราชประสงค์�กรุงเทพฯ�โดยในปีนี้�วช.�กำ�หนดให้มี�“โครงการประกวดออกแบบและตั้งชื่อ�Mascot�ของงานการนำ�เสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ�2556�(Thailand�Research�Expo�2013)”�ขึ้นโดยผลงานที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ�จะได้รับเงินรางวัลและเกียรติบัตร�จึงขอเชิญชวนผู้สนใจส่งผลงานการออกแบบ�ภายในวันที่�15�พฤษภาคม�2556�ดังรายละเอียดในประกาศตามหัวข้อ�ที่ส่งมาด้วยแนวคิดและเนื้อหาในการออกแบบ1.การออกแบบ�Mascot�ของงาน�“มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ�2556”�(Thailand�Research�Expo�2013)�จะต้องสื่อให้เห็นถึงการแสดงความคิดสร้างสรรค์ของนักวิจัยในการสร้างงานวิจัยอย่างมีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ2.การออกแบบ�Mascot�ตามข้อ�1�ต้องมีรูปแบบที่สร้างความสนใจแก่ผู้พบเห็น�โดยมีรูปแบบที่ใช้สีสันสวยงาม�มีความน่ารัก�มีบุคลิกที่ร่าเริงและแสดงความเฉลียวฉลาด�รวมทั้งมีความเป็นมิตร�พร้อมกับสะท้อนแนวคิดตามที่กำ�หนดไปพร้อมกัน�3.การออกแบบ�Mascot�ตามข้อ�1�และ�2�จะเป็นคน�สัตว์�สิ่งของ�หรือสัญลักษณ์ใดก็ได้�โดยผู้ออกแบบต้องให้ความเห็น�และความหมายของ�Mascot�ที่ออกแบบและนำ�เสนออย่างชัดเจน�ไม่น้อยกว่า�3�บรรทัด�และไม่เกิน�5�บรรทัด

กติกาการส่งผลงานที่ออกแบบนิสิต�นักศึกษา�ทุกสาขาวิชาการ�และผู้สนใจ�สามารถส่งผลงานไดไ้ม่จำ�กัดจำ�นวนออกแบบและตั้งชื่อ�Mascot�ที่สื่อถึงแนวคิดและเนื้อหาในการออกแบบตามที่ระบุไว้�3�ข้อข้างต้นมีองค์ประกอบของการออกแบบในภาพที่สวยงาม�จดจำ�ง่าย�และไม่ซ้ำ�กับผลงานที่เคยมี�การเผยแพร่หรือเป็นที่รู้จักมาแล้วออกแบบโดยใช้สีไม่เกิน�4�สีการออกแบบต้องใช้คอมพิวเตอร์กราฟฟิกในการออกแบบ�โดยออกแบบ�Action�ต่างๆ�ของ�Mascot�ไม่น้อยกว่า�๖�Action�ได้แก่�ท่าไหว้�ท่าผายมือทางซ้าย�ท่าผายมือทางขวา�ท่าแสดงความเป็นมิตรหรือเชื้อเชิญ�ท่าแสดงบุคลิกที่ดูสนุกสนาน�หรืออื่นๆเกณฑ์การคัดเลือก

การออกแบบสอดคล้องกับแนวคิดและเนื้อหาในการออกแบบตามที่กำ�หนดมีความเหมาะสมในการใช้งานได้จริงการส่งผลงาน

ส่งผลงานการออกแบบโดยพิมพ์เป็น�4�สี�บนกระดาษขนาด�A4�Action�แผ่นละ�1�ภาพ�(รวม�6�Action)�โดยจัดส่งเป็น�jpg.,�ai.หรือ�psd�(ความละเอียดไม่น้อยกว่า�300�dpi)�ส่งผลงานการออกแบบโดยพิมพ์เป็น�4�สี�บนกระดาษขนาด�A4�รวม�6�Action�จำ�นวน�1�แผ่น�พร้อมให้ความหมายของ�Mascot�โดยจัดส่งเป็น�word�ผลงานตามข้อ�1�และ�2�ใสใ่นแฟ้มโชว์งาน�พร้อมแผ่น�CD�จำ�นวน�1�ชุด�โดยทุกชิ้นให้ระบุข้อมูลผู้ออกแบบหรือเจ้าของผลงาน�ได้แก่� -ชื่อ�–�นามสกุล� -สาขาที่ศึกษา�และสถาบันที่สังกัด�หรือองค์กรที่สังกัด� -ที่อยู่ทางไปรษณีย์� -เบอร์โทรศัพท์ที่ทำ�งาน�/�ที่บ้าน�/�มือถือ� -e-mail�addressส่งผลงานภายในวันที่�15�พฤษภาคม�2556�(ดูจากวันที่ที่ประทับตราไปรษณีย์เป็นสำ�คัญ)�หรือนำ�ส่งผลงานด้วยตนเองภายในวันที่�15�พฤษภาคม�2556�ตามเวลาราชการ�ส่วนส่งเสริมและพัฒนาการวิจัย�ภารกิจบริหารจัดการผลงานวิจัย�สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ196�ถ.พหลโยธิน�เขตจตุจักร�กรุงเทพฯ�10900

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

กระต่ายกระต่ายเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดเล็ก�มีขนปุกปุยทั่วลำ�ตัว�มีหางกลมสั้น�มีใบหูยาวเมื่อเทียบกับสัตว์อื่น�ซึ่งวิวัฒนาการมาใช้สำ�หรับฟังเสียงได้เป็นอย่างดี�และยังมีประสาทสัมผัสในการดมกลิ่นที่ดีมาก�กระต่ายมีขาหน้าที่มี�5�นิ้ว�ขาหลังมี�4�นิ้ว�มีสะโพกที่ยาวและทรงพลัง�เต็มไปด้วยกล้ามเนื้อ�จึงสามารถกระโดดได้เป็นอย่างดี�ใต้ฝ่าเท้ามีขนนุ่ม�ๆ�รองรับอยู่�เพื่อมิให้เกิดเสียงเมื่อเคลื่อนไหว�เป็นสัตว์ที่ตื่นตกใจง่ายและมีความว่องไวปราดเปรียวมากในการระแวดระวังภัย�นอกจากนี้แล้วตาของกระต่ายยังมีหนังตาหรือเปลือกตาถึง�3�ชั้นด้วยกันประโยขน์ของกระต่าย� กระต่ายเป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหารเท่านั้น�ต่างจากสัตว์ฟันแทะที่กินได้ทั้งเนื้อและพืช�อาหารของกระต่ายได้แก่�หญ้าและพืชผักชนิดต่าง�ๆ�อายุขัยโดยเฉลี่ยของกระต่ายจะอยู่ที่�2-3�ปี�นับเป็นสัตว์ที่สืบพันธุ์เร็วมาก�โดยปีหนึ่ง�ๆ�กระต่ายสามารถออกลูกได้ถึง�2-3�ครั้ง�ครั้งละประมาณ�2-3�ตัว�กระต่ายในธรรมชาติ�มักอาศัยอยูใ่นที่ราบโล่งที่เป็นทุ่งหญ้ามากกว่าป่าทึบ�โดยขุดโพรงใต้ดินเป็นรังและที่อยู่อาศัย�ลูกกระต่ายป่าในธรรมชาติ�เมื่อแรกเกิดจะลืมตา�และในวันรุ่งขึ้นก็สามารถวิ่งและกระโดดได้เลย�เมื่อกระต่ายตัวเมียจะคลอดลูก�จะแยกออกจากรังเดิมไปขุดรังใหม่�เพื่อป้องกันลูกอ่อนจากกระต่ายตัวผู้�ซึ่งอาจฆ่าลูกกระต่ายเกิดใหมไ่ด้�โดยจะกัดขนตัวเองเพื่อปูรองรับลูกใหม่ที่จะเกิดขึ้นมากระต่ายโดยธรรมชาติ�เป็นสัตว์ที่อยู่สุดปลายของห่วงโซ่อาหาร�ด้วยเป็นอาหารของสัตว์กินเนื้อชนิดต่าง�ๆ�เช่น�หมาป่า,�หมาจิ้งจอก,�แมวป่า,�เสือชนิดต่าง�ๆ,�หมาใน,�ชะมด,�เพียงพอน�รวมถึงงูขนาดใหญ่ด้วย�เช่น�งูหลามและงูเหลือม�กระต่ายเป็นสัตว์ที่ผูกพันกับมนุษย์มาเป็นเวลานาน�ด้วยการเป็นสัตว์ที่ถูกล่าเพื่อเป็นอาหารและเกมกีฬาโดยเฉพาะในแถบทวีปยุโรป�ในเชิงวัฒนธรรมและความเชื่อ�ชาวตะวันตกเชื่อว่า�การพกขากระต่ายจะนำ�มาซึ่งโชคดี�ชาวจีนและชาวญี่ปุ่นเชื่อว่า�กระต่ายเป็นเทพเจ้าแห่งดวงจันทร์�มีหน้าที่ปรุงยาอายุวัฒนะ�เป็นสัตว์เลี้ยงของฉางเอ๋อ�เทพธิดาแห่งดวงจันทร์�การมอบรูปลักษณ์ของกระต่ายจึงถือเป็นการมอบความปรารถนาให้โชควาสนาให้แก่กัน�นอกจากนี้แล้วในทางโหราศาสตร์�กระต่ายยังเป็นตัวแทนของนักษัตรลำ�ดับที่�4�คือ�ปีเถาะ�ที่ใช้สัญลักษณ์เป็นกระต่าย�� ในปัจจุบัน�กระต่ายได้กลายมาเป็นสัตว์เลี้ยงของมนุษย์ทั้งในแง่ของการเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม�และสัตว์เศรษฐกิจเพื่อรับประทานเนื้อ�โดยกระต่ายชนิดที่นำ�มาพัฒนาสายพันธุ์จนเป็นสัตว์เลี้ยงนั้น�โดยมากจะเป็นชนิด�กระต่ายยุโรป�(Oryctolagus�cuniculus)�ที่มีถิ่นกำ�เนิดดั้งเดิมในทวีปยุโรป�ซึ่งกระต่ายสายพันธุ์สวยงามนั้นก็มีด้วยกันหลากหลายมากมาย�โดนยมีขนาดแตกต่างกันออกไปตามขนาดลำ�ตัว�อาทิ�เนเธอร์แลนด์ดวอฟ,�โปลิช�แรทบิท,�ฮอลแลนด์ลอป�ซึ่งเป็นกระต่ายขนาดเล็ก�และอิงลิชลอป�ที่เป็นกระต่ายขนาดใหญ่�เป็นต้นประโยชน์ของกระต่าย�1.�กระต่ายให้ความเพลิดเพลิน��การเลี้ยงกระต่ายในประเทศส่วนมากเป็นการเลี้ยงไว้ดูเล่น��เพื่อความเพิดเลิน��เนื่องจากกระต่ายเป็นสัวต์ที่น่ารัก��เลี้ยงง่าย��กินอาหารได้เกือบทุกประเภท��ทำ�ให้มีผู้นิยมเลี้ยงกระต่ายกันมากขึ้น��เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์��กระต่ายจะเป็นเพื่อนเล่นในยามที่คุณเงาได้��ซึ่งมักจะทำ�ให้คุณมีสุขภาพจิตดีขึ้น��กระต่ายยังช่วยทำ�ให้เด็กๆ��มีนิสัยรักสัตว์��มีความเมตตาปราณีต่อสัตว์��และรู้จักความรับผิดชอบในการเลี้ยงดูกระต่าย��ซึ่งจะเป็นการเตรียมพร้อมที่จะก้าวไปเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต2.ประโยชน์ในทางวิทยาศาสตร์การแพทย์��กระต่ายเป็นสัตว์ขนาดเล็ก��เลี้ยงง่ายโตเร็ว��ขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว��กายวิภาคและสรีระวิทยาของกระต่ายไม่แตกต่างจากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นๆมากนัก��จึงนิยมใช้กระต่ายในการศึกษาทดลอง��และงานวิจัยต่างๆ��ทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์��เช่น2.1�ใช้ในการเรียนทางสัตววิทยา��โดยการผ่ากระต่ายเพื่อศึกษาโครงกระดูกกล้ามเนื้อ��อวัยวะภายใน��เส้นเลือด��และเส้นประสาท�2.2�ใช้ศึกษาฤทธิ์ของยาต่างๆ��ก่อนที่จะนำ�ใช้ในคน2.3�ใช้ทดสอบความปลอดภัยของยา��วัคซีน��และเครื่องสำ�อาง2.4�ช่วยในการวินิจฉัยโรค��โดยฉีดเชื้อเข้ากระต่ายแล้วสังเกตอาการเช่น��โรคพิษสุนัขบ้า��เป็นต้น2.5�ผลิตชีวภัณฑ์ต่างๆ��เช่น��แอนติบอดี�(antibody)�เอวินิฉัยโรคสารเร่งการแข็งตัวของเลือด��และเอนไซม์�(enzyme)��ที่ใช้การวินิฉัยโรคต่างๆ2.6�ฬช้ตรวจการตั้งครรภ์��โดยอาศัยหลัการที่ว่า��ปัสสาวะของสตรีมีครรภ์เมื่อฉีดเข้ากระต่ายตัวเมีย��จะกระตุ้นเหนี่ยวนำ�ให้เกิดการตดใข่2.7�ใช้ในงานวิจัย��เช่น��การฝากย้ายตัวอ่อนสัตว์�(Embryo�Transfer)�มิการทดลองทำ�ได้สำ�เร็จในกระต่ายเป็นสัวต์ชนิดแรก�3.�เป็นอาชีพเสริมของเกษตรกร�กระต่ายเป็นสัวต์เลี้ยงง่าย��ขยายพันธุ์อย่างรวดเร็วใช้เนื้อที่น้อย��กินอาหารได้หลายชนิด��และสามารถใช้ประโยชน์จากอาหารได้ดีกว่าสัตว์กระเพราะเดียวกัน��เช่น��สัตว์ปีก��และสุกร��เหมาะสำ�หรับการเลี้ยงเป็นอาชีพเสริมของเกษตรกร

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

ขั้นตอนการผลิต

ภาพร่างที่�1

�ภาพในการร่างครั้งแรกแสดงให้เห็นถึง�กระต่ายที่�ได้�Sketch�จะเห็นเป็นรูปร่างกระต่ายที่ยังไม่สมบูรณ์เท่าไหร่�เป็นกระต่ายที่ดูแล้วเหมือนกับกระต่ายที่ไม่ค่อยมีชีวิตชีวาเท่าไหร่

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

แบบร่างที่�2�

�.ภาพที่สองเป็นภาพ�Sketch�ที่ได้เพิ่มผ้าพันคอ�และโบว์�ทำ�ลักษณะให้มีความร่าเริงมากขึ้นพร้อมกับออกแบบแขนขาให้เพื่อ�การออกแบบออกท่าทางให้มีความสอดคล้องกับตัว�Mascot�มากขึ้น�

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

ขั้นตอนต่อมาได้�ออกแบบท่าทาง�6�ท่า�โดยมีท่า�เชื้อเชิญ�ท่าผายมือข้างขวา�ท่าผายมือข้างซ้าย�ท่าสนุกสนาน�ท่าไหว้�และท่าร่าเริง�โดยการ�Sketch�ก่อน�และพร้อมตั้งชื่อ�Mascotว่าน้อง�แครอท�

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

ขั้นตอนการดราฟเส้น�จากภาพ�Sketch�ในโปรแกรม�Adoby�Illustrator�cs6�เพื่อความสะดวกต่อการทำ��Mascot�ในการดราฟภาพ

การดราฟเส้น�โดยใช้เครื่องมือ�Pen�Tool�ในการลากเส้นดราฟเพื่อการลงสีในตัว�Mascot

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

การลงสีตัว�Mascot�น้อง�แครอท�โดยการลงสีแต่ละส่วน�ตอนนี้ได้ทำ��ผ้าพันคอ�เป็น�สีแดงและโบว์สีแดง

ได้ทำ�การเปลี่ยนสี�ผ้าพันคอ�และโบว์�เป็นสีฟ้า�และได้ดราฟ�ลงสี�น้อง�แครอท�ครบ�6�ท่าก็เป็นอันเสร็จสิ้น

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

�ได้รวบรวมท่าทั้งหมด�6�ท่าได้แก่�ท่าเชื้อเชิญ�ท่าผายมือทางขวา�ท่าผายมือทางซ้าย�ท่าสนุกสนาน�ท่าไหว้�ท่าร่าเริง�โดยเป็นการดราฟและลงสีเรียบร้อย

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

จากการทำ�โบว์�และ�ผ้าพันคอสีแดงได้เปลี่ยนมาเป็นสีฟ้า

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

จากการทำ�โบว์�และ�ผ้าพันคอสีแดงได้เปลี่ยนมาเป็นสีฟ้า

�ได้ทำ�การ�Export�ไฟล์เป็น�.JPG�รวมทั้งหมด�6�ท่า

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

Thailand Research Expo 2013

Mascot

ความหมายของ�Mascot�Thailand�Research�Expo�2013ชื่อของ�Mascot�:�น้อง�แครอทเพื่อเป็นงานวิจัย�นำ�เสนอประโยชน์งานวิจัยอย่างมีคุณและพัฒนาประเทศในด้านของตัวกระต่ายนั้นได้มีการนำ��กระต่ายมาทดลองวัคซีนยาเพื่อ�รักษาโรคต่างๆ�อย่างมากมายในการแพทย์และยังช่วยเกษตรกร�ในหารายได้ในการเพาะเลี้ยงกระต่ายที่มีราคาถูกและให้ลูกเยอะเพื่อนำ�มาขายให้กับกลุ่มคนที่รักในตัวของกระต่ายที่มีความน่ารัก�ร่าเริง

ออกแบบโดยนายอรรถพล�พลเยี่ยม�สาขาวิชาศิลปกรรม�แขนงออกแบบนิเทศศิลป์�มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมที่อยู่�2392/27�ถนนพหลโยธิน�แขวงเสนานิคม�เขตจตุจักร�กรุงเทพ�10900เบอร์โทรศัพท์�085-9167835�Email�:�attpol0708@gmail.com

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

�จัดทำ�โดย

นายอรรถพล�พลเยี่ยม5211309322

สาขาวิชา�ศิลปกรรม�แขนงออกแบบนิเทสศิลป์มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

บรรณานุกรม1)�เว็บไซต์

http://th.wikipedia.org/wikiบทความโดย�สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต�ทางทรูวิชั่นส์:�พฤหัสบดีที่�3�มกราคม�2556หนังสือสัตว์สวยป่างาม�โดย�ชมรมนิเวศวิทยา�มหาวิทยาลัยมหิดล�สิงหาคม�2518

http://www.nupet.org

Mascot Thailand Research Expo 2013

by Attpol Polyiam

Chandrakasem Rajabhat Universityคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาศิลปกรรม

Mascot Thailand Research Expo 2013

by Attpol Polyiam

top related