วิวฒันาการการศึกษา · max weber (1911) -...

Post on 04-Nov-2019

0 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

วิวฒันาการการศึกษา

วิวฒันาการการศึกษา หรือ พฒันาการการศึกษา แบง่ออกเป็นยคุ หรือ แบง่ตามกระบวนทศัน์

หรือพาราไดม(์paradigm)

ค.ศ. 1970-ปัจจบุนั

สมยัทฤษฎีและแนวการศึกษา รปศ.สมยัใหม่

ววิฒันาการการศกึษา รฐัประศาสนศาสตร ์

วิวฒันาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวนัตก

ค.ศ. 1887-1950

สมยัทฤษฎีดัง้เดิม

พทิยา บวรวฒันา (2541)

ค.ศ. 1950-1970

สมยัทฤษฎีท้าทายหรือวิกฤติการณ์ด้านอตัลกัษณ์ครัง้แรก

ค.ศ. 1960-1970

สมยัวิกฤติการณ์ด้านอตัลกัษณ์ครัง้ท่ีสอง

ววิฒันาการการศกึษา รฐัประศาสนศาสตร ์

วิวฒันาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวนัตก

ค.ศ. 1887-1950 สมยัทฤษฎีดัง้เดิม (ยคุคลาสสิก) (Classic theory)

พทิยา บวรวฒันา (2541)

การบริหารแยกออกจากการเมือง ระบบราชการ วิทยาศาสตรก์ารจดัการ และ หลกัการบริหาร

ววิฒันาการการศกึษา รฐัประศาสนศาสตร ์

วิวฒันาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวนัตก

พทิยา บวรวฒันา (2541)

ทฤษฎีและแนวการศึกษาเรื่อง การบริหาร

คือ การเมือง ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ

มนุษยสมัพนัธ ์และ ศาสตรก์ารบริหาร

ค.ศ. 1950-1960 สมยัทฤษฎีท้าทายหรือวิกฤติการณ์ด้านอตัลกัษณ์ครัง้แรก

หรือ ยคุการบริหารเชิงมนุษยสมัพนัธ ์

(Human Relations Management theory)

ววิฒันาการการศกึษา รฐัประศาสนศาสตร ์

วิวฒันาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวนัตก

พทิยา บวรวฒันา (2541)

แนวความคิดทางพฤติกรรมศาสตรแ์ละ

รฐัประศาสนศาสตรใ์นความหมายใหม่

ค.ศ. 1960-1970

สมยัวิกฤติการณ์ด้านอตัลกัษณ์ครัง้ท่ี 2

หรือ ยคุการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร ์

(Behavioral Science management theory)

ววิฒันาการการศกึษา รฐัประศาสนศาสตร ์

วิวฒันาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวนัตก

พทิยา บวรวฒันา (2541)

ทฤษฎีและแนวการศึกษาเรื่อง นโยบายสาธารณะ ทางเลือกสาธารณะ เศรษฐศาสตรก์ารเมือง

ความสมัพนัธร์ะหว่างองคก์าร การจดัการแบบประหยดั ชีวิตองคก์าร การออกแบบองคก์ารสมยัใหม่ ฯลฯ

ค.ศ. 1970-ปัจจบุนั

สมยัทฤษฎีและแนวการศึกษา รปศ.สมยัใหม่

หรือ ยคุการบริหารสมยัใหม่ (Modern Management)

พฒันาการการศึกษา รฐัประศาสนศาสตร ์

ยคุก่อน WW II

ยคุหลงั WW II ถึง 1970

ยคุก่อน WW II

ยคุ 1970 ถึง ปัจจบุนั

พฒันาการการศึกษารฐัประศาสนศาสตร ์

ยคุก่อน WW II

Woodrow Wilson (1887)

- บทความเรื่อง The Study of Administration

- politics / administration dichotomy

(แนวความคิดการบริหารแยกจากเมือง)

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุกอ่น WW II

Woodrow Wilson (1887)

1. การบริหารควรถกูแยกออกจากการเมือง

โดยเหน็ว่า หน้าท่ีของฝ่ายบริหาร กคื็อ

การน านโยบายไปสู่การปฏิบติั

ส่วนหน้าท่ีของฝ่ายการเมือง กคื็อ

การก าหนดนโยบายหรือหน้าท่ีในการออกกฎหมาย

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุกอ่น WW II

Woodrow Wilson (1887)

2. สนับสนุนให้มีการปฏิรปูระบบการบริหารงานบคุคล

โดยให้แยกข้าราชการประจ าออกจากข้าราชการ

การเมือง เพื่อป้องกนัการแทรกแซงทางการเมือง

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุกอ่น WW II

Woodrow Wilson (1887)

3.การเพ่ิมอ านาจฝ่ายบริหารให้สามารถคาน

อ านาจของฝ่ายการเมือง ในการบริหารและ

ปกครองประเทศ

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุกอ่น WW II

Frank Goodnow (1900)

- นักรฐัศาสตร ์จาก Columbia University - สนับสนุนแนวคิดการเมืองแยกออกจากการบริหาร

- หนังสือช่ือ Politics and Administration

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุกอ่น WW II

Frederick W. Taylor (1911)

- บทความ The Principles of Scientific Management

หนังสือ Scientific Management

- พฒันาวิธีการใหม่ของการจดัการโรงงานในภาคเอกชน แต่กมี็

การน าแนวคิดมาใช้ในภาครฐั

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุกอ่น WW II

- บิดาแห่งการบริหารจดัการแบบวิทยาศาสตร(์The father of Scientific Management) - มีพืน้ฐานความรู้ทางด้านวิศวกร - ผูจ้ดัการโรงงานในเมืองฟิลาเดลเฟีย ในขณะนัน้ปัญหาของโรงงานอตุสาหกรรมท่ีประเทศอเมริกาในขณะนัน้ประสบอยู่คือปัญหาในเรือ่งประสิทธิภาพการผลิต

การบรหิารงานตามหลกัวทิยาศาสตรก์ารจดัการเป็นวธิทีีด่กีวา่การอาศยัหลกัการความเคยชนิ

Frederick W. Taylor (1911)

- บทบาทของนักบริหาร

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุกอ่น WW II

1. สรา้งหลกัการท างานทีเ่ป็นวทิยาศาสตรส์ าหรบัการท างานในขัน้ตอนต่างๆ ของงาน 2. คดัเลอืกคนงานตามหลกักฎเกณฑว์ทิยาศาสตร ์3. พฒันาคนงานใหเ้รยีนรูห้ลกัการท างานแบบวทิยาศาสตร ์4. เน้นการจดัการแบบมรีะบบและหลกัเกณฑ ์5. สรา้งบรรยากาศการรว่มมอืระหวา่งผูบ้รหิารกบัคนงาน

การบรหิารงานตามหลกัวทิยาศาสตรก์ารจดัการเป็นวธิทีีด่กีวา่การอาศยัหลกัการความเคยชนิ

Frederick W. Taylor (1911)

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุกอ่น WW II

- การบรหิารงานทีด่ตีอ้งท าตามวธิปีฏบิตัทิีฝ่า่ยบรหิาร ศกึษาแลว้วา่ดทีีส่ดุ (One-Best Way) - ไมเ่หน็ความส าคญัของคนงาน คนงานเปรยีบเสมอืนเครือ่งจกัรที ่สามารถปรบัปรงุเปลีย่นแปลง หรอื ทดแทนได ้เพือ่ตอบสนองต่อการเพิม่ผลผลติเป็นปจัจยัส าคญั

การบรหิารงานตามหลกัวทิยาศาสตรก์ารจดัการเป็นวธิทีีด่กีวา่การอาศยัหลกัการความเคยชนิ

Max Weber (1911) - นักสงัคมวิทยาชาวเยอรมนั

- Bureaucracy (การจดัองคก์ารแบบระบบราชการ)

- Theory of domination (การได้มาซ่ึงอ านาจของบคุคล)

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุกอ่น WW II

หลกัการการบรหิารแบบระบบราชการ (Bureaucracy) เป็นรปูแบบการบรหิารที ่สามารถน ามาซึง่ความส าเรจ็สงูสดุในการด าเนินงานต่างๆ

เสนอแนวคดิเกีย่วกบการจดัองคก์ารขนาด ใหญ่ทีม่รีปูแบบที ่ เรยีกวา่ “ระบบราชการ”

แนวความคดิของ Max Weber มองวา่ระบบราชการ(Bureaucracy) เป็นรปูแบบขององคก์รในอุดมคตทิีพ่งึประสงค ์

Leonard White (1926)

- หนังสือช่ือ Introduction to the Study of Public

Administration, 1926

- ต าราเล่มแรกของวิชา รปศ.

- เสนอหลกั 4 ประการท่ีเป็นรากฐานการศึกษา รปศ.

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุกอ่น WW II

Leonard White (1926) 1. การบรหิารเป็นกระบวนการหน่ึงเดยีวทีส่ามารถศกึษาไดอ้ยา่งเป็นระเบยีบ ทัง้ระดบัชาต ิระดบัมลรฐั และระดบัทอ้งถิน่ (Administration is a unitary process that can be studied uniformly, at the federal, state, and local levels)

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุกอ่น WW II

2. พืน้ฐานของการศกึษามาจากการจดัการ ไมใ่ช่กฎหมาย

(The basis for study is management, not law)

3. การบรหิารยงัคงเป็นศลิปะ แต่แนวคดิในการเปลีย่นไปสูศ่าสตรเ์ป็นเรือ่งทีเ่กดิขึน้ได้

และคุม้ค่าต่อการศกึษา (Administration is still art but the ideal of transformance to science is feasible and worthwhile)

4. การบรหิารไดเ้ป็น และจะยงัคงเป็นหวัใจของปญัหาของรฐับาลสมยัใหมต่่อไป (Administration has become and will continue to be the heart of the problem of modern government)

Henri Fayol (1942) - ผูจ้ดัการ/วิศวกร ในโรงงานในฝรัง่เศส

- หนังสือ General and Industrial Management

- หลกัการบริหารจดัการ 14 ประการ

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุกอ่น WW II

ประการที1่ หลกัอ านาจหน้าทีแ่ละความรบัผดิชอบ ประการที2่ หลกัของการมผีูบ้งัคบับญัชาเพยีงคนเดยีว ประการที3่ หลกัของการไปในทศิทางเดยีวกนั ประการที4่ หลกัสายการบงัคบับญัชา ประการที5่ หลกัของการแบ่งงานกนัท า ประการที6่ หลกัความมรีะเบยีบวนิยั ประการที7่ หลกัประโยชน์ของส่วนบุคคลเป็นรองจากประโยชน์ส่วนรวม ประการที8่ หลกัของการใหผ้ลตอบแทน ประการที9่ หลกัของการรวมอ านาจ ประการที1่0 หลกัความเป็นระเบยีบเรยีบรอ้ย ประการที1่1 หลกัความเสมอภาค ประการที1่2 หลกัความมัน่คงในการท างาน ประการที1่3 หลกัความคดิรเิริม่ ประการที1่4 หลกัความสามคัค ี

สรปุหลกัการบริหารของ Henri Fayol 1.การวางแผน 2.การจดัองคก์ร 3.การบงัคบับญัชาสัง่การ 4.การประสานงาน 5.การควบคุม

แนวคิดการแยก การบริหารออกจากการเมือง

การศึกษาหลกัการ และ เทคนิค การบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ

Henri Fayol เผยแพร่หลกัการบริหาร 14 ประการ (ตีพิมพใ์นหนังสือ General and Industrial Management) ในปี 1942

Max Webber ระบบราชการ (Bureaucracy)

ผูป้กครอง

เพ่ือให้การใช้อ านาจในการปกครองได้มีประสิทธิภาพ ต้องอาศยักลไกด้านการบริหารเข้ามาช่วย

การยอมรบั

อ านาจ

ผูถ้กูปกครอง

แยกการบริหาร(Bureaucracy)ออกจากการเมือง(Politics)

รฐัประศาสนศาสตรย์คุก่อนสงครามโลกครัง้ทีส่อง

หลกัเกณฑ ์ เพ่ิมประสิทธิภาพ หลกัความประหยดัคุ้มค่า

การบริหาร อาศยัหลกัการวิทยาศาสตรม์าศึกษา

การได้มาซ่ึงอ านาจตามแนวคิดของ Max Webber

1. แบบท่ีอาศยัจารีตประเพณี (traditional domination) - อ านาจจะได้มาจากความเช่ือหรอืประเพณีนิยมและส่ิงท่ีถอืปฏิบติักนัมาในอดีต ได้แก่ ระบบศกัดินา (feudal)

2. แบบท่ีอาศยับารมี (charismatic domination) - ผูบ้ริหารท่ีมีคณุสมบติัพิเศษหรือบารมีท่ีจะให้ผูอ้ยู่ใต้บงัคบับญัชาเกิดความศรทัธาในตวัผูบ้ริหารและพร้อมท่ีจะให้ความสนับสนุน ได้แก่ ระบบเผดจ็การ (dictation)

3. แบบท่ีอาศยักฎหมายและการมีเหตมีุผล (legal domination) - การเคารพและปฏิบติัตามกฎหมาย เพราะเหน็ว่ากฎหมายได้รบัการกลัน่กรองแล้ว โดยทัง้ผูน้ าและผูอ้ยู่ใต้บงัคบับญัชาต่างยอมรบั ได้แก่ ระบบราชการ (bureaucracy)

พฒันาการการศึกษารฐัประศาสนศาสตร ์

ยคุหลงั WW II ถึง 1970

- ความเจริญของ รปศ. สะดดุลงเม่ือเกิด WW II - เกิดวิกฤติการณ์ความเช่ือถือของ รปศ. - เกิดแนวคิดไม่เหน็ด้วยกบัการแยกการบริหารออกจากการเมือง - แนวคิด “การบริหารเป็นส่วนหน่ึงของการเมือง” - แนวคิด “การบริหารเป็นส่วนหน่ึงของศาสตรก์ารบริหาร”

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุหลงั WW II ถงึ ค.ศ. 1970

Paul H. Appleby (1945)

- หนังสือ “Big Government”

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุหลงั WW II ถงึ ค.ศ. 1970

- การบรหิารภาครฐัเป็นเรือ่งของการเมอืงและตอ้งเกีย่วขอ้งกบัการเมอืง - สง่เสรมิการใหก้ลุ่มต่างๆ เขา้มารว่มก าหนดนโยบายสาธารณะ - ผูบ้รหิารตอ้งมจีรยิธรรม

Robert A. Dahl (1947)

- หนังสือ “The Science of Public Administration”

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุหลงั WW II ถงึ ค.ศ. 1970

สนบัสนุนใหว้ชิารฐัประศาสนศาสตรเ์ป็นวทิยาศาสตรโ์ดย ศกึษาพฤตกิรรมมนุษยแ์ละใชว้ธิกีารศกึษาแบบเปรยีบเทยีบ (Comparative)

Dwight Waldo (1948)

- หนังสือ “The Administrative State”

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุหลงั WW II ถงึ ค.ศ. 1970

รฐัประศาสนศาสตรค์วรสนใจเรือ่งของคา่นิยม ประชาธปิไตย และความสมัพนัธร์ะหวา่งการเมอืงกบัการบรหิาร

เรยีกรอ้งใหน้กัรฐัประศาสนสตรค์นอืน่ๆหนัมาสนใจศกึษารฐัศาสตรใ์นลกัษณะที่มุง่ศกึษาพฤตกิรรมต่างๆ ของรฐับาลในการก าหนดนโยบายสาธารณะใหม้ากขึน้ แทนทีจ่ะศกึษาโครงสรา้งและหน้าทีท่างการเมอืงและการบรหิารเพยีงอยา่งเดยีว

Elton Mayo (1927)

- Anti-Scientific Management

- Human Relations

- Hawthorne Studies

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุหลงั WW II ถงึ ค.ศ. 1970

Elton Mayo, William Dickson

รฐัประศาสนศาสตรย์คุหลงัสงครามโลกครัง้ทีส่องถงึ ค.ศ. 1970

ผลการศึกษา

ศึกษาความสมัพนัธ ์ของ สภาพแวดล้อม กบั ประสิทธิภาพการท างานของคน ในโรงงาน

Western Electric Company ในเมือง Hawthorne

ท้าทายหลกัการจดัการเชิงวิทยาศาสตรข์อง Taylor ท่ีมองความเป็นมนุษยต์ามแบบหลกัการจดัการเชิงวิทยาศาสตร ์เพียงอยา่งเดียว ท่ีดเูป็นเสมือนเครือ่งจกัรเครือ่งกล

มีผลต่อประสิทธิภาพ

ทศันคติ และ พฤติกรรมกลุ่ม การทดลองท่ีฮอรธ์อรน์

(Hawthorne Experiments) หรอื การศึกษาท่ีฮอรธ์อรน์

Hawthorne Studies

เป็นกลุม่นกัวชิาการดา้น รปศ. ที่เน้นมนุษยสมัพนัธซ์ึง่ใหค้วามสนใจต่อปจัจยัมนุษย ์เน้นการศกึษาธรรมชาตขิองแรงจงูใจต่างๆ

Abraham Maslow (1954) ทฤษฎีล าดบัขัน้ของความต้องการ

(Maslow’s Hierarchy of human needs)

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุหลงั WW II ถงึ ค.ศ. 1970

หน้าทีข่องผูบ้รหิารคอื เพือ่จดัหาหนทางสนองความตอ้งการของผูท้ างานซึง่สง่เสรมิเป้าหมายขององคก์ารดว้ย และเพือ่ขจดัสิง่ทีม่าขดัขวางการสนองความตอ้งการและท าใหเ้กดิความไมส่บายใจ เจตคตใินทางลบ

Chris Argyris (1957) - เสนอแนวความคิดทางการจดัการเชิงพฤติกรรมศาสตร ์

- Personality and Organization (1957)

- เสนอแนวคิดการเติบโตเป็นผูใ้หญ่(Mature Man)

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุหลงั WW II ถงึ ค.ศ. 1970

ภาวะเดก็ (Infancy) เฉื่อยชา (Passivity) พึง่พาคนอื่น (Dependency) มพีฤตกิรรมไมส่ลบัซบัซอ้น (Limited Behavioral) ไมส่นใจในเรือ่งลกึซึง้ (Shallow Interest) มองปญัหาเฉพาะหน้า (Short Time Perspective) ชอบอยูใ่ตบ้งัคบับญัชา (Subordinate Pollster) ไมต่ระหนกัในตน (Lack of Self-awareness)

บรรลวุฒิุภาวะ (Maturity) ตื่นตวัเสมอ (Activity) มอีสิระ (Independence) มพีฤตกิรรมสลบัซบัซอ้น (Differentiate Behavioral) สนใจในเรือ่งทีล่กึซึง้ (Deeper Interest) มองการณ์ไกล (Long time Perspective) เป็นตวัของตวัเอง (Equal) มคีวามตระหนกัในตนและควบคมุตนเองได ้(Self Control)

พฒันาการของคนจะเริม่ตน้จากบุคลกิภาพแบบเดก็ (Infancy) ไปสูก่ารมวีฒุภิาวะ (Maturity)

Frederick Herzberg (1959)

- ทฤษฎีการจงูใจกบัสขุวิทยา (Motivator-Hygiene Theory)

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุหลงั WW II ถงึ ค.ศ. 1970

การท างานตอ้งมกีารการใชแ้รงจงูใจหรอืการกระตุน้การท างาน อนัน ามาซึง่ความส าเรจ็ มคีวามสขุหรอืมคีวามพอใจในการปฏบิตังิาน

Douglas McGregor (1960)

- เป็นศาสตราจารยด้์านการบริหารของ MIT

- The Human Side of Enterprise

- Theory X – Theory Y (ทฤษฎีแรงจงูใจตามทฤษฎี X และทฤษฎี Y ของแมคเกรเกอร)์

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุหลงั WW II ถงึ ค.ศ. 1970

Donglas McGregor เหน็วา่คนม ี2 ประเภท และการบรหิารคนทัง้ 2 ประเภท ตอ้งใชว้ธิกีารบรหิารแตกต่างกนั

Douglas McGregor (1960)

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุหลงั WW II ถงึ ค.ศ. 1970

Donglas McGregor เหน็ว่าคนมี 2 ประเภทและการบริหารคนทัง้ 2 ประเภท ต้องใช้วิธีการบริหารแตกต่างกนั

หลกัการบริหารของผูน้ าตามสมมติุฐานตามทฤษฎี X-Y

- ควบคุมการท างานใกลช้ดิ - สอดสอ่งดแูลอยา่งสม ่าเสมอ - ใหเ้สรภีาพ และโอกาสน้อย

- ใหเ้สรภีาพในการท างาน - เปิดโอกาสใหค้ดิและรเิริม่สรา้งสรรค ์ท างานดว้ยตนเอง - ควบคุมอยา่งหา่ง ๆ กวา้ง ๆ

Chester I. Barnard

- The Functions of the Executives

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุหลงั WW II ถงึ ค.ศ. 1970

ใหค้วามส าคญัในการคดิศาสตรแ์หง่การบรหิาร เชน่ - การจดัระบบความรว่มมอืการท างานในองคก์าร - การด ารงอยูข่ององคก์าร ขึน้กบัความส าเรจ็ - ความอยูร่อดขององคก์าร ขึน้กบัความสามารถของฝา่ยบรหิาร - เน้น ความรว่มมอืระหวา่งคนในองคก์าร และ องคก์ารกบัสมาชกิ ภายใตก้ารแลกเปลีย่นผลประโยชน์ระหวา่งกนั เป็นตน้

สนบัสนุนใหก้ารบรหิารเป็นสว่นหนึ่งของศาสตรก์ารบรหิาร

นักวิชาการไม่เหน็ด้วยกบัแนวคิดแยกการบริหาร(Bureaucracy)ออกจากการเมือง(Politics)

รฐัประศาสนศาสตรย์คุหลงัสงครามโลกครัง้ทีส่องถงึ ค.ศ. 1970

การบริหารเป็นส่วนหน่ึงของการเมือง

เสนอแนวคิดใหม่

การน าเสนอในวารสาร Public Administration Review

ในปี ค.ศ. 1949

การบริหารราชการมีรปูแบบความแตกต่างจากบริหารองคก์าร

รปูแบบอ่ืนๆ และในความเป็นจริงแล้วการบริหารราชการแยกออก

จากกระบวนทางการเมือง

ในชว่งเวลานี้ไดเ้กดิขอ้เสนอการบรหิารแบบ “ระบบราชการทีไ่มเ่ป็นทางการ” ซึง่พยายามชีใ้หเ้หน็วา่ แทจ้รงิแลว้เป้าหมายขององคก์ารขึน้อยูก่บัความสามารถขององคก์ารในการควบคุมพฤตกิรรม และขึน้อยูก่บัลกัษณะความสมัพนัธแ์บบไมเ่ป็นทางการภายในองคก์ารนัน้ๆ

แนวคิดท่ี 1

รฐัประศาสนศาสตรย์คุหลงัสงครามโลกครัง้ทีส่องถงึ ค.ศ. 1970

การบริหารเป็นส่วนหน่ึงของการเมือง

เปรียบเสมือนเหรียญสองด้านท่ีแยกออกจากกนั

ไม่ได้

แนวคิดท่ี 2

ควรให้ความส าคญัของโครงสรา้งท่ีไม่เป็นทางการของระบบราชการ

แนวคิดท่ี 3

เน้นให้ความส าคญักบัความเป็น

ปัจเจกบคุคล และพฤติกรรมกลุ่มต่อประสิทธิภาพขององคก์าร ผา่นหลกัการ

“มนุษยสมัพนัธ”์

แนวคิดท่ี 4

ศึกษาพฤติกรรมเชิงประจกัษ์ของ

พฤติกรรมการบริหาร ให้ความเหน็ว่า “การบริหาร เป็นส่วนหน่ึงของ

ศาสตรก์ารบริหาร”

น าเสนอแนวคิด

สรปุภาพรวม

พฒันาการการศึกษารฐัประศาสนศาสตร ์

ยคุ 1970 ถึง ปัจจบุนั

- การท้าทายวิกฤติการณ์ของ รปศ. ครัง้ท่ี 2

- เหน็ว่า ทฤษฎีต่างๆ เป็นการพฒันาให้เป็นวิชาการเกินไปกว่าการ

น าไปใช้

- ปี 1968 นักวิชาการ รปศ. ประชมุท่ีหอประชมุ Minnowbrook,

Syracuse University

- ”ทฤษฎีเพื่อความสอดคล้องกบัความต้องการของสงัคม” หรือ ยคุ

หลงัพฤติกรรมศาสตร ์(post-behavioralism)

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุ 1970 ถงึ ปจัจุบนั

พฒันาการการศึกษา รปศ. ยคุ 1970 ถึง ปัจจบุนั

การบริหารเป็นส่วนหน่ึง

ของการเมือง

การบริหารเป็นส่วนหน่ึง

ของศาสตรก์ารบริหาร

สอดคล้องกบัความ

ต้องการของคนในสงัคม

รฐัประศาสนศาสตรใ์นความหมายใหม ่

(New Public Administration)

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุ 1970 ถงึ ปจัจุบนั

Post-Behavioralism

ยคุตัง้แต่คริสตศ์กัราชท่ี 1970 จนถึงปัจจบุนั

Post-Behavioralism

การให้ความสนใจเรื่องท่ีสอดคล้องกบัความต้องการของสงัคม (relevance)

พฒันาการการศกึษา รปศ. : ยคุ 1970 ถงึ ปจัจุบนั

การให้ความส าคญักบัค่านิยม (value)

การให้ความส าคญัต่อความเสมอภาคทางสงัคม (social equity)

การรู้จกัริเร่ิมเปล่ียนแปลง (change) และพฒันาอย่างต่อเน่ือง

New Public Administration

top related