สารบัญ - psruwebdata.psru.ac.th/~pisut/tot/multimedia.pdf-...

Post on 01-Jun-2020

3 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

สารบัญ

เรื่อง หน้า

ความหมายของพหุสื่อ (Multimedia) 1 การจัดการไฟล์พหุสื่อบนคอมพิวเตอร์ 1 การจัดการเกี่ยวกับไฟล์รูปภาพ - รู้จักกับ พกิเซล(Pixel) 1 - ตัวอย่างขนาดของรูป 2 - ขนาดแสดงภาพมาตรฐาน 2 - ประเภทและคุณสมบัติของนามสกุลไฟล์ภาพชนิดต่างๆ 3 - การใช้งานโปรแกรม PhotoScape ในการปรับขนาดรูปภาพ (แบบภาพเดียว) 4 - การใช้งานโปรแกรม PhotoScape ในการปรับขนาดรูปภาพ (แบบหลายภาพ) 10 - การใช้งานโปรแกรม PhotoScape ในการเปลี่ยนนามสกุลรูปภาพ 16 การจัดการเกี่ยวกับไฟล์วีดีโอ - อัตราส่วนการแสดงผลของจอภาพมาตรฐานต่างๆ 21 - ประเภทและคุณสมบัติของนามสกุลไฟล์วิดีโอชนิดต่างๆ 21 - การใช้งานโปรแกรม Freemake Video Converter ในการแปลงไฟล์วีดีโอเป็นนามสกุลอื่น 23 การจัดการเกี่ยวกับไฟล์เสียง - รูปแบบนามสกุลไฟล์เสียง 30 - การใช้งานโปรแกรม Freemake Audio Converter ในการแปลงไฟล์เสียงเป็นนามสกุลอื่น 31

1

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์

พหุสื่อ (Multimedia)

พหุสื่อ คือสื่อประเภท เสียง ภาพและวีดีโอ ดังนั้นการบันทึกพหุสื่อ จึงหมายถึงการบันทึกภาพ เสียง และวีดีโอต่างๆ

การจัดการไฟล์พหสุื่อบนคอมพิวเตอร ์

เป็นการน าไฟล์สื่อประเภทเสียง ภาพ และวีดีโอ มาไว้เก็บไว้บนคอมพิวเตอร์และท าการจัดเตรียมไฟล์ให้พร้อมส าหรบัน าไปใช้งานในรูปแบบต่างๆ เช่น ใช้ในการตกแต่งภาพ,การตัดต่อวีดีโอ,การแปลงไฟล์เพื่อน าเสนอบนเว็บไซต์ เป็นต้น

การจัดการเกีย่วกับไฟล์รปูภาพ

พิกเซล(Pixel)

Pixel มาจาค าว่า picture (ภาพ) กับค าว่า Element (พื้นฐาน) คือ หนว่ยพ้ืนฐานซึ่งเล็กที่สุดของภาพดิจิตอล เทียบได้กับจุดสีของภาพ 1 จุด หลากหลายส ีหลายๆจุดที่เรยีงชิดติดกันถูกรวมกันท าให้เกิดเป็นภาพนั่นเอง แต่ 1 พิกเซลจะเป็นสีหนึ่งสีใดเพียงสีเดียวเท่านั้นจะมีสีอื่นไมไ่ด้ เนื่องจากว่าเป็นส่วนที่เล็กที่สุดของการแสดงผลพิกเซลนั้นมคีวามส าคัญต่อการสร้างกราฟฟิกของคอมพิวเตอร์มาก เพราะทุกๆส่วนของกราฟฟิก เช่น จุด เส้น แบบลายและสีของภาพ ล้วนเกิดจากพิกเซลทั้งสิ้น อย่างกล้องถ่ายรูปความละเอียด 5 ล้านพิกเซล นัน้หมายความว่าเมื่อถ่ายภาพที่ความละเอียดสูงสุด (ที่กล้องสามารถจะถ่ายได้) จะได้เม็ดพิกเซล5 ล้านเม็ด ดังนั้นจึงอาจสรุปได้ง่ายๆว่า ยิ่งมีค่าพิกเซลสูงเทา่ไหร่ภาพที่ได้ยิ่งมีความละเอียดสูงด้วย จอภาพที่มีจ านวนพิกเซลมาก จะมีความละเอียดของภาพมาก โดยมากจะระบุจ านวนพิกเซลแนวนอน x แนวตั้ง เช่น 1024 x 768 พิกเซล

2

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

ตัวอย่างขนาดของรูป

ขนาด 200 x 200 ขนาด 100 x 100 ขนาด 20 x 20

ขนาดแสดงภาพมาตรฐาน

ขนาดแสดงภาพมาตรฐานมีดังนี้:

- VGA 0.3 ล้านพิกเซล = 640×480 - SVGA 0.5 ล้านพิกเซล = 800×600 - XGA 0.8 ล้านพิกเซล = 1024×768 (หรืออาจเรียก XVGA) - SXGA 1.3 ล้านพิกเซล = 1280×1024 - EXGA 1.4 ล้านพิกเซล = 1400×1050 - UXGA 1.9 ล้านพิกเซล = 1600×1200 - QXGA 3.1 ล้านพิกเซล = 2048×1536 - QSXGA 5.2 ล้านพิกเซล = 2560×2048 - WQSXGA 6.6 ล้านพิกเซล = 3200×2048 - QUXGA 7.7 ล้านพิกเซล = 3200×2400 - WQUXGA 9.2 ล้านพิกเซล = 3840×2400

3

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

ประเภทและคณุสมบัติของนามสกุลไฟล์ภาพชนิดต่างๆ

BMP เป็นไฟล์มาตรฐานที่ระบบปฏิบัติการ Windows สร้างขึ้นมา เป็นไฟล์ที่สามารถรกัษาความละเอียดของภาพได้เป็นอย่างดี แต่มีข้อจ ากดัคือ ไฟล์นั้นจะมีขนาดใหญน่ ามาใช้งานไม่สะดวก

JPG เป็นไฟล์ที่มีการบันทึกขอ้มูลแบบสูญเสียข้อมูล ภาพที่ได้น ามาใช้งานทั่วๆไป ไฟล์ประเภทนี้จะตัดรายละเอียดของภาพบางส่วนออก ซึ่งเป็นรายละเอียดที่ไม่สามารถมองเห็นสีได้มากนัก เหมาะส าหรับเก็บไว้ดูหรือน าไปลงอินเทอร์เน็ต

GIF เป็นไฟล์ที่มีการบีบอัดข้อมูลสูง แต่จะใหค้วามละเอียดของภาพมากกว่า ท าให้ไฟล์มขีนาดเล็กมาก มักน ามาใช้งานบนอินเทอร์เน็ตมากที่สุด เพราะไฟล์ที่มีขนาดเล็กท าให้ไม่เสียเวลาในการเปิดหน้าเว็บไซต์ที่มีรูปภาพประกอบได้ในเวลาอันรวดเร็ว

TIF เป็นไฟล์ที่ใช้ส าหรับงานสิ่งพิมพ์เป็นส่วนใหญ ่สามารถแสดงผลความละเอียดของภาพได้ทุกระดับตั้งแต่ภาพขาวด าไปจนถึงภาพสี ซึ่งจะน าไปใช้กับงานทางด้านการพิมพ์

PNG เป็นไฟล์ที่มีความยืดหยุ่นสูง ใช้งานได้กับเครื่องที่มีการเปลี่ยนแพลตฟอร์มการท างาน และสามารถท างานอยู่บนคนละระบบปฏิบัติการเช่น Linux และ Windowsจะเห็นได้ว่าไฟล์แต่ละประเภทนั้นมีลักษณะการท างานและการบีบอัดไฟล์ที่ต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับการน ามาใช้งานและความต้องการของผู้ใช้งานว่าต้องการไฟล์แบบใด

4

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

การใช้งานโปรแกรม PhotoScape ในการปรับขนาดรูปภาพ

แบบภาพเดียว

1. เปิดโปรแกรม Photoscape โดยมีไอคอนดังรูป

2. เมื่อเปิดโปรแกรมมาหน้าจอของโปรแกรมจะเป็นดังรูป

5

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

3. เลือกที่ “แก้ไขภาพ”

4. เลือกที่เก็บไฟล์รูปภาพ(ซ้ายบน) ดังรูป

6

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

5. เลือกภาพที่ต้องการปรับขนาด(ซ้ายล่าง)

6. โปรแกรมจะแสดงภาพที่เลือกดังรูป

7

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

7. เลือกเมนู “ย่อ/ขยาย”

8. ปรับขนาดของรูปภาพตามที่ต้องการ แล้วตอบตกลง

8

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

9. เลือกที่เมนู บนัทึก

10. เลือกรูปแบบการบันทึก ในรปูเลือกเมนูบันทึกที่ 2 คือการบันทึกในโฟลเดอร์

9

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

11. เปิดโฟลเดอร์ที่บันทึกไฟล์ และตรวจสอบไฟล์ที่ปรับขนาดว่าได้ขนาดตามที่ปรับหรือไม ่

10

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

แบบหลายภาพ

1. เปิดโปรแกรม Photoscape โดยมีไอคอนดังรูป

2. เมื่อเปิดโปรแกรมมาหน้าจอของโปรแกรมจะเป็นดังรูป

11

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

3. เลือกที่ “แก้ไขภาพเป็นกลุ่ม”

4. เลือกที่เก็บไฟล์รูปภาพ(ซ้ายบน) ดังรูป

12

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

5. เลือกภาพที่ต้องการปรับขนาด(ซ้ายล่าง) ซึ่งสามารถเลือกได้มากกว่า 1 ภาพ

6. ด้านขวามือ จะมีเมนูส าหรับปรับขนาด ให้เลือกที่ “เพิ่ม/ลดความกว้าง” แล้วใส่ค่าความกว้างที่ต้องการลงไป

13

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

7. เลือกที่เมนู “แปลงทั้งหมด”

8. เลือกที่ ก าหนดโฟลเดอร์ปลายทาง แล้วคลกิเพื่อก าหนดที่เก็บไฟล์ที่แปลง ดังรูป

14

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

9. เลือกที่ส าหรับเก็บไฟล์ที่แปลง แล้วตอบ OK

10. กดปุ่มบันทึก เพื่อท าการย่อขนาดรูปภาพที่เลือก

15

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

11. เมื่อเสร็จโปรแกรมจะมีข้อความแจ้งเตือน ให้ตอบ OK

12. ตรวจสอบสอบไฟล์รูปภาพ ในโฟลเดอร์ที่เลือกบันทึกในข้อ 9

16

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

การใช้งานโปรแกรม PhotoScape ในการเปลี่ยนนามสกุลรูปภาพ

1. เปิดโปรแกรม Photoscape โดยมีไอคอนดังรูป

2. เมื่อเปิดโปรแกรมมาหน้าจอของโปรแกรมจะเป็นดังรูป

17

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

3. เลือกที่ “แก้ไขภาพ”

4. เลือกที่เก็บไฟล์รูปภาพ(ซ้ายบน) ดังรูป

18

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

5. เลือกภาพที่ต้องการปรับขนาด(ซ้ายล่าง)

6. โปรแกรมจะแสดงภาพที่เลือกดังรูป

19

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

7. เลือกที่เมนู “บันทึก”

8. เลือกเมนูการบันทึก อันที่ 3 “บันทึกเป็น”

20

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

9. ท าการเลือกโฟลเดอร์ที่เก็บ ตั้งชือไฟล์ และเลือกนามสกุลไฟล์ภาพที่ต้องการ แล้วกดปุม่ Save

10. ตรวจสอบโฟลเดอรท์ี่เก็บไฟล์ แล้วตรวจสอบว่าได้นามสกุลที่ต้องการหรือไม่

21

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

การจัดการเกีย่วกับไฟล์วีดีโอ

อัตราส่วนการแสดงผลของจอภาพมาตรฐานต่างๆ

จากรูป เป็นการเปรียบเทียบการแสดงผลส าหรับจอภาพตามมาตรฐานต่างๆ

- Full HD (High Definition) 1920 x 1080

- HD (High Definition) 1280x720

- PC XGA (Extended Graphics Array) 1024x768

- SD (Standard Definition) PAL TV 768x576

- SD (Standard Definition) NTSC TV 720x480

- CIF (Common Intermediate Format) 352x288

- QCIF (Quarter Common Intermediate Format) 176x144

ประเภทและคณุสมบัติของนามสกุลไฟล์วดิีโอชนิดต่างๆ

Video file format เป็นรูปแบบที่ใช้บันทกึภาพและเสียงที่สามารถท างานกับคอมพิวเตอร์ได้เลย มีหลายรูปแบบได้แก่

22

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

AVI (Audio / Video Interleave)เป็นฟอร์แมตที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ เรียกว่า Video for Windows มีนามสกุลเป็น .avi ปัจจุบันมีโปรแกรมแสดงผลติดตั้งมาพร้อมกับชุด Microsoft Windows คือ Windows Media Player เป็นรูปแบบของไฟล์มัลติมีเดียบน Windows ส าหรับเสียงและภาพเคลื่อนไหวที่ใช้คุณสมบัติของ RIFF (Resource Interchange File Format) ของ Windows เป็นไฟล์วิดีโอที่มีความละเอียดสูง เหมาะสมกบัการน ามาใช้ในงานตัดต่อวิดีโอ แต่ไม่นิยมน ามาใช้ในสื่อดิจิตอลอื่นๆ เพราะไฟล์มีขนาดใหญ่มาก

MPEG (Moving Pictures Experts Group) รูปแบบของไฟล์ที่มีการบีบอัดไฟล์ เพื่อให้มีขนาดเล็กลง โดยใช้เทคนิคการบีบข้อมูลแบบ Inter Frame หมายถึง การน าความแตกต่างของข้อมูลในแต่ละภาพมาบีบ และเก็บ โดยสามารถบีบข้อมูลได้ถึง 200:1 หรือเหลือข้อมูลเพียง 100 kb/sec โดยคุณภาพยังดีอยู่ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดย MPEG-1 มีนามสกุล คือ .mpg

DAT (Digital-Analogue Tape) เป็นระบบของไฟล์ภาพยนตร์หรือไฟล์คาราโอเกะจากแผ่น VCD ที่อยู่ในรูปแบบไฟล์ MPEG-1 สามารถเปิดเล่นด้วยโปรแกรมดูหนัง เช่น Power DVD หรือ โปรแกรม Windows Media Player มีการเข้ารหัสบีบอัดไฟล์คล้ายกับไฟล์ MPEG สามารถเล่นได้บนเครื่องเล่น VCD หรือ DVD ทั่วไป

WMV (Windows Media Video) เป็นไฟล์วิดีโอของบริษัทไมโครซอฟท์ สร้างขึ้นมาจากโปรแกรม Windows Movie Maker เป็นไฟล์ที่ได้รับความนิยมในปจัจุบันจากสื่ออินเทอร์เน็ต มีจดุประสงค์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อการชมวิดีโอแบบ Movie on Demand ด้วยคุณภาพที่ดีและมีขนาดไฟล์ที่เล็ก สามารถที่จะ Upload ขึ้นเว็บไซต์ได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว

Quick Time เป็นฟอร์แมตทีพ่ัฒนาโดยบริษัท Apple ซึ่งมีความนิยมสูงในเครื่องตระกูล Macintosh สามารถใช้ได้กับเครื่องที่ใช้ระบบ Windows แต่จ าเป็นต้องติดตั้งโปรแกรม QuickTime ก่อน นิยมใช้น าเสนอข้อมูลไฟล์ผ่านอินเทอร์เน็ต มีนามสกุลเป็น .mov หรือ qt

Real Player เป็นรูปแบบของแฟ้มที่พัฒนาโดยบริษัท เรียลเน็ตเวิร์ก (Real Network) รูปแบบแฟ้มชนิดนี้มีส่วนขยายเป็น rm ra และ ram โปรแกรมใช้ในการอ่านข้อมูลของแฟ้มประเภทนี้ได้แก่ เรียล เพลเยอร์ เรียลเพลเยอร์ จีทู (Real Player G2 ) และ เรียลวัน เพลเยอร์ (Real One Player)

FLV (Flash Video)เป็นไฟล์วิดีโอในรูปแบบของ Flash ซึ่งมีข้อดีคือ สามารถน ามาใช้งานร่วมกับ Component ของ Flash รวมทั้งไฟล์ที่บีบอัดแล้วมีขนาดเล็กแต่ยังคงรายละเอียดของไฟล์ต้นฉบับได้ เป็นอย่างดี แต่มีข้อเสียคือไฟล์วิดีโอที่ท าการบีบอัดแล้วจะไม่มีเสียง อันนี้กข็ึ้นอยู่กับการน าไฟล์ไปประยุกต์ใช้งานของแต่ละคนนะครับ

23

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

การใช้งานโปรแกรม Freemake Video Converter ในการแปลงไฟล์วีดีโอเป็นนามสกุลอืน่

1. เปิดโปรแกรม Freemake Video Converter โดยมีไอคอนดังรูป

2. เมื่อเปิดโปรแกรมขึ้นมา จะไดห้น้าจอดังรูป

24

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

3. กดที่ปุ่ม Video เพื่อเลือกไฟล์วีดีโอที่ต้องการจะแปลง

4. เลือกไฟล์ที่ต้องการจะแปลง

25

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

5. เมื่อเลือกเสร็จ โปรแกรมจะแสดงรายการไฟล์วีดีโอที่เลือก ดังรูป

6. เลือกนามสกุลไฟล์วีดีโอที่ต้องการแปลง (รูปไอคอนด้านล่างของโปรแกรม) ดังรูป

26

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

7. เลือกขนาดการแสดงผลของไฟล ์

27

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

8. เลือกที่เก็บไฟล์วีดีโอที่แปลง

9. กดปุ่ม Convert เพื่อเพิ่มแปลงไฟล์วีดีโอ

28

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

10. โปรแกรมจะท าการแปลงไฟล์วีดีโอที่เลือก ดังรูป

11. เมื่อโปรแกรมแปลงไฟล์วีดีโอเสร็จ จะมีข้อความแจ้งเตือน ให้กดปุ่ม OK

29

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

12. กดที่ปุ่ม Close เพื่อปิดหน้าต่างการแปลงไฟล์ ดังรูป

13. เปิดโฟลเดอร์ที่เก็บไฟล์วีดีโอ ที่เลือกในข้อ 8 จะเห็นไฟล์ทีแ่ปลง ดังรูป

30

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

การจัดการเกีย่วกับไฟลเ์สียง

รูปแบบนามสกุลไฟล์เสียง

Wave (เวฟ) นามสกุล .wav เป็นไฟล์ข้อมูลคลื่นเสียงทีบ่ันทึกจากเสียงอนาล็อกเป็นรูปแบบดิจิตอล เก็บเอาไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ คล้ายกับการบันทึกเทปแต่เป็นการบันทึกไว้ในดิสก์ของคอมพิวเตอร์แทน Wave เป็นรูปแบบไพล์พื้นฐานของระบบพีซี มีขนาดไฟล์ใหญ่ สามารถก าหนดคุณภาพเสียงได้หลากหลาย เช่น เสียงโมโนหรือสเตอริโอ มีระดับความละเอียดน้อยมาก

CD Audioเป็นแทร็กเสียงดิจติอลที่รูปแบบเหมือนกับไฟล์ Wave บรรจุไว้ในแผ่นซีดีเพลงด้วยรูปแบบพิเศษเฉพาะ ถ้าใส่แผ่นซีดีเพลงเข้าไปในไดรฟ์ซีดีรอมแล้วเปิด My Computer จะเห็นช่ือไฟล์ในแผ่นซีดีมีนามสกุลเป็น .cda เช่นไฟล์ trac1.cda ซึ่งมันไม่ใช่ไฟล์ข้อมูลคอมพิวเตอร์อย่าง Wave หรือ MP3 จึงไม่สามารถก๊อบปี้แทร็ก CD Audio เก็บไว้ในฮาร์ดิสก์ได ้

MP3 (นามสกลุ .mp3) เป็นไฟล์เสียงที่มีพื้นฐานจากไฟล์ Wave แต่มีขนาดเล็กกว่าประมาณ 8-10 เท่า เนื่องจากข้อมูลในไฟลถ์กูบีบอัดให้เล็กลงแต่ยังคงคุณภาพไว้ใกล้เคียงต้นฉบับ ไฟล์ MP3 ได้รับความนิยมมากส าหรับการบันทึกเพลง ไฟล์ประเภทนี้ความยาว 4 นาที มีขนาดประมาณ 5MB สามารถก๊อบปี้เก็บไว้ในฮารด์ดิสก์ได้เหมือนไฟล์ข้อมูลข้อมูลปกติทั่วไป แต่การสร้างและการแก้ไขไฟล์ค่อนข้างซับซ้อน ก่อนที่จะสร้างไฟล์ MP3 ได้ ต้องใช้คอมพิวเตอร์บันทึกเสียงจากภายนอกให้เป็นไฟล์ Wave แล้ว จากนั้นจึงเข้ารหัสบีบอัดให้กลายเป็น MP3 หรือต้องใช้อุปกรณ์พิเศษที่สามารถบันทึกและเข้ารหัส MP3 ในทันทีได้

WMA (Windows Media Audio) เป็นไฟล์เสียงดิจิตอลรูปแบบใหม่กวา่ MP3 มีการบีบอัดดีกว่า ท าให้ไฟล์มีขนาดเล็กกว่า MP3 คุณสมบัติทั่วไปเหมือนกับ MP3

RA (Real Audio) เป็นไฟล์เสียงส าหรับใช้กับโปรแกรม Real Player โดยเฉพาะ มีพื้นฐานมาจากไฟล์ Wave แต่ถูกบบีอัดให้เล็กลงด้วยเทคโนโลยีเฉพาะ เพื่อใช้ในการรับส่งข้อมูลเสียงทางอินเทอร์เน็ตเป็นหลัก

MIDI (Musical Instrument Digital Interface) (อ่านว่า “มิดี”้) ที่มีนามสกุล .mid เป็นไฟล์ข้อมูลดนตรีที่ถูกบันทึกหรือโปรแกรมเอาไว้ เช่น เสียงเครื่องดนตรีต่างๆ ตัวโน๊ต ความเร็วจังหวะ ฯลฯ ส าหรับน าไปใช้กับอุปกรณ์ดนตรี เช่น ซาวนด์การ์ด หรือ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์เมื่อข้อมลูถูกส่งจากคอมพิวเตอร์เข้าสู่อุปกรณ์ดนตรีจะท าให้ อุปกรณ์ดนตรีจะเล่นดนตรีตามข้อมูลในไฟล์ เหมือนกับคนอื่นมาเล่นดนตรีให้ฟังในวงการดนตรี MIDI คือลักษณะการต่อเช่ือมเครื่องดนตรีแบบดิจิตอล ใช้อ้างถึงความสามารถในการสื่อสารระหว่างเครื่องดนตรีผ่านทางพอร์ต MIDI (ช่องส าหรับเสียบสายสัญญาณ) โดยเครื่องดนตรีเครื่องหนึ่งส่งข้อมูลไปให้อีกเครื่องหนึ่ง เพื่อสั่งให้ท างานหรือส่งเสียงตามที่ต้องการได้

31

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

การใช้งานโปรแกรม Freemake Audio Converterในการแปลงไฟล์เสียงเป็นนามสกุลอื่น

1. เปิดโปรแกรม Freemake Audio Converter โดยมีไอคอนดังรูป

2. เมื่อเปิดโปรแกรมขึ้นมา จะไดห้น้าจอดังรูป

32

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

3. ให้เลือกที่ Add เพื่อเลือกไฟล์เสียงที่ต้องการแปลง

33

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

4. เมื่อเลือกไฟล์ที่ต้องการแล้ว จะแสดงรายการไฟล์ที่เลือกในโปรแกรม ดังรูป

5. เลือกประเภทนามสกุลไฟล์ที่ต้องการแปลง (รูปไอคอนด้านล่าง) ดังรูป

34

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

6. เลือกคุณภาพ(quality) ที่ต้องการ

35

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

7. เลือกที่เก็บไฟล์ที่แปลง

8. กดปุ่ม Convert เพื่อท าการแปลงไฟล์เสียง

36

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

9. โปรแกรมจะท าการแปลงไฟล์เสียงเป็นนามสกุลที่เลือก ดังรูป

10. เมื่อโปรแกรมท าการแปลงไฟล์เสียงเสร็จจะขึ้นข้อความแจ้งเตือน ให้กดที่ปุ่ม OK

37

การบันทึกพหุสื่อ (Multimedia) และการจัดการไฟล์บนคอมพิวเตอร์ นายโสภณ พินิจกิจเจริญกุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

11. กดที่ปุ่ม Close เพื่อปิดหน้าต่างการแปลงไฟล์เสียง

12. ไฟล์เสียงที่แปลงเสร็จแล้ว จะถูกเก็บอยู่ที่โฟลเดอร์ที่เก็บไฟล์ที่เลือกในข้อ 7 ดังรูป

top related