1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1

Post on 23-Jul-2015

724 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

1051202 จติว ิทยาการเร ียนร ู้(Learning Psychology)

ผศ .ดร . ธนศักด ิ์ อศัวจ ุฬามณี• ความหมายของจ ิตว ิทยา

(Psychology) ในอดีต Psychology = Psyche + Logos Psyche = ว ิญญาณ Logos = การศ ึกษา• ในช่วงศตวรรษที่ 19 เป ็นต ้นมาจนถึงปจัจบุ ันได ้น ำาหล ักการทางว ิทยาศาสตร ์มาใช้ในการศ ึกษาว ิชา

จ ิตว ิทยา การศ ึกษาทางจติว ิทยาจงึได ้พ ัฒนามาเปน็ศาสตร ์ท ี่ศ ึกษาเก ี่ยวก ับพฤติกรรมและประสบการณข์องมนุษย ์ ช่วงน ี้ก ่อให ้เก ิดน ักจ ิตว ิทยาที่ถ ือว ่าเปน็บดิาแหง่จติว ิทยาการ

ทดลอง คือ ว ุนด ์ (Wundht)

พฤติกรรมของมนุษย์

• พฤติกรรม (Behavior) แบ่งออกเป ็น 2 ประเภท คือ

1. พฤติกรรมภายนอก(Overt behavior) แบ่งเป ็น

1.1 พฤติกรรมโมลา (Molar behavior)

1.2 พฤติกรรมโมเลก ุล (Molecular behavior)

2. พฤติกรรมภายใน (Covert behavior)

จิตวทิยาสาขาต่างๆ• จิตว ิทยาพัฒนาการ• จิตว ิทยาบคุล ิกภาพ• จิตว ิทยาสงัคม• จิตว ิทยาการเร ียนร ู้• จิตว ิทยาธรุก ิจ• จิตว ิทยาอ ุตสาหกรรม• จิตว ิทยาการให้ค ำาปร ึกษา• จิตว ิทยาคลีน ิค• จิตว ิทยาการศ ึกษา ฯลฯ

แนวคิดหล ักทางจ ิตว ิทยาในการมองพฤตกิรรมของมนุษย ์

และการประย ุกต ์ใช ้ก ับการเร ียนร ู้

• แนวคิดของกลุม่จ ิตว ิเคราะห์(Psychoanalysis)• แนวคิดของกลุม่พฤติกรรมนิยม

(Behavioralism)

• แนวคิดของกลุม่มานุษยนิยม(Humanism)

แนวคิดของกลุ่มจติแนวคิดของกลุ่มจติว ิเคราะห ์ว ิเคราะห ์(Psychoanalysis)(Psychoanalysis) ซิกม ันด ์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เช ื่อว ่า

จิต ม ี 3 ระด ับ - จิตส ำาน ึก (Conscious mind) - จิตใต ้ส ำาน ึก (Subconscious mind) - จิตไร ้ส ำาน ึก (Unconscious mind)

ฟรอยด์ เช ือ่ว ่าจ ิตไร ้ส ำานกึ มอี ิทธพิลต ่อการเก ิดพฤติกรรมของมนษุย ์พลังท ี่ก ่อให้เก ิดพฤติกรรม ได้แก ่ - Id =ความอยาก - Ego = เหต ุผล/ความจร ิง - Superego = จร ิยธรรมแรงขับ(Drive) 3 ประเภท สง่ผลต่อ

พฤติกรรม ไดแ้ก ่ แรงขับของการดำารง ชีว ิตอย ู่ แรงข ับของการทำาลาย และแรง

ขับทางเพศ

แนวคดิของกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavioralism)

• เน ้นศ ึกษาพฤติกรรมที่สามารถ สังเกตเห ็นได้ โดยใช้

กระบวนการทางว ิทยาศาสตร ์และเช ื่อว ่าพฤติกรรมของคน

สามารถปร ับเปล ี่ยนได้ น ัก จิตว ิทยาในกลุม่น ี้ ได ้แก ่ จอห์น บ ี

ว ัตส ัน (John B. Watson) สกินเนอร ์(Skinner) อีวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) เป ็นต ้น

แนวคิดของกลุ่มมานุษยนิยม (Humanism)

• แนวคิดของกลุ่มน ี้ให ้ความส ำาค ัญกับค ุณค่าของมนุษย ์

มาก โดยเฉพาะความเป ็น อิสระท ี่จะกระทำา และความร ับ

ผ ิดชอบในสิ่งท ี่ตนเองต ัดส ิน ใจ โดยมองว ่ามนุษย ์ม ีแต ่ส ิ่งท ี่

ดีงาม และอยากทำาความดี ผู้น ำาในกลุ่มน ี้ได ้แก ่ คาร ์ล อาร ์

โรเจอร ์ (Carl R. Rogers) และ อ ับรา แฮม เอช มาสโลว ์ (Abraham H.

Maslow)

Maslow’s Hierarchy of Needs

Physiological needs(food, water, sex, shelter)

Physiological needs(food, water, sex, shelter)1

Safety needs(security, protection & order)

Safety needs(security, protection & order)

2

Social needs(sense of belonging, love)

Social needs(sense of belonging, love)3

Esteem needs(self-esteem, recognition)

Esteem needs(self-esteem, recognition)

4

Self-actualization

Self-actualization

5

กระบวนการสืบค้นความรูท้างจิตวิทยา

• เปา้หมายของการสบืคน้ความร ู้ทางจ ิตว ิทยา

1. เพ ื่อการพรรณนาเหตุการณ์ตา่งๆท ี่เก ิด ขึ้นท ั้งสภาพแวดล้อม

และพฤติกรรมของมนษุย ์ท ี่เก ิดตามมา 2. เพ ื่อการอธบิายเหต ุและผลที่เก ิดข ึ้นเพ ื่อ

สร ้างเปน็แนวคดิ ทฤษฎีต ่างๆ 3. เพ ื่อการทำานายหร ือคาดการณ์เหต ุการณ์และพฤตกิรรมที่จะ

เก ิดข ึ้นล ่วงหนา้ 4. เพ ื่อการควบคมุ ปรับปร ุง เปล ี่ยนแปลงพฤตกิรรมให้เปน็ไป

ตามทิศทางที่ต ้องการ

ประเภทต่างๆของการสบืค ้นความร ู้ทางจติว ิทยา

• การสบืค ้นเช ิงส ำารวจ• การสบืค ้นเช ิงความสมัพันธ ์• การสบืค ้นเช ิงเปร ียบเท ียบ• การสบืค ้นเช ิงทดลอง• การว ิจ ัยเอกสาร• การสงัเคราะห์งานว ิจ ัย• การประเมนิโครงการ• การสร ้างแบบทดสอบ

เครื่องมือทีใ่ชใ้นการศกึษาข้อมูลเพือ่การสืบคน้ความรู้ทางจิตวทิยา

• การสังเกต (Observation)• แบบสอบถาม (Questionnaire)• แบบสัมภาษณ์ (Interview)• แบบทดสอบ (Test)• อัตชีวประว ัต ิ (Autobiography)• มาตราส ่วนประมาณค่า (Rating Scale)• สังคมมิต ิ (Sociometric Method)• การทดลอง (Experimentation)• การศกึษารายกรณี (Case Study)• การว ิจ ัย - การว ิจ ัยเช ิงปร ิมาณ

(Quantitative Research) - การว ิจ ัยเช ิงค ุณภาพ ( Qualitative

Research)

จติว ิทยาพฒันาการของมนุษย ์• สชุา จ ันทร ์เอม (2540) สร ุปว ่า พ ัฒนาการของ

มนษุย ์ หมายถึง กระบวนการเปล ี่ยนแปลง(Process of change) ของมนษุย ์ท ุกสว่นที่ต ่อเน ือ่ง

กันไปในระยะเวลาหนึง่ ๆ ต ั้งแตแ่รกเก ิดจน ตลอดชวี ิต การเปล ี่ยนแปลงนีจ้ะก ้าวหนา้ไป

เร ื่อย ๆ เปน็ข ั้น ๆ จากระยะหนึ่งไปส ูอ่ ีกระยะ หนึ่งเพ ื่อท ี่จะไปส ูว่ ุฒ ิภาวะ ทำาให ้มลี ักษณะและ

ความสามารถใหม่ ๆ เก ิดข ึ้น ซ ึ่งม ีผลทำาให ้ เจร ิญก้าวหนา้ย ิ่งข ึ้นตามล ำาด ับ

• ว ุฒ ิภาวะ(Maturation) คอืการเปล ี่ยนแปลงทีท่ ำาให ้บ ุคคลมคีวามสามารถพอที่จะกระทำาก ิจกรรมอย่าง

 ใดอย่างหนึ่งอย ่างเหมาะสมในแต่ละว ัย เปน็ สภาวะที่เก ิดข ึ้นเองตามธรรมชาติ ไมใ่ชก่าร

 เร ียนร ู้หร ือประสบการณ์• การเจร ิญเต ิบโต (Growth) คอืการเปล ีย่นแปลง

โครงสร ้างทางร ่างกายที่ม ีความเก ี่ยวข ้องก ับ ขนาด นำ้าหนกั สว่นสงู กระด ูก กล ้ามเน ื้อ ร ูป

ร ่าง ซ ึง่ เปน็การเปล ี่ยนแปลงในเชงิของปร ิมาณ

ธรรมชาตแิละพัฒนาการของมนุษย ์• หลกัพฒันาการของมนุษย ์ 1. พัฒนาการจะเปน็ไปในลกัษณะต่อเน ือ่ง

กัน (Continuity) หลงัจากมกีารปฏิสนธแิล ้ว จะโดยธรรมชาตหิร ือจากหลอดแก้วก ็ตาม

จะเก ิดเปน็ตวัอ ่อนขึ้น แล ้วพ ัฒนาเปน็ ทารก เปน็เด ็กเปน็ว ัยร ุ่น และเปน็ผ ูใ้หญ่ใน

ล ักษณะต่อเน ือ่งก ัน2. พัฒนาการจะพัฒนาไปตามขั้นตอนตาม

ลำาด ับ (Sequence) พัฒนาการของมนษุย ์จะ เปน็ไปตามขั้นตอน

เชน่ ทารกจะเอ ียงต ัว พล ิกหงาย พลิก ควำ่า

คลาน นัง่ ต ั้งไข ่ ย ืน และเด ิน ตามล ำาด ับ

หลักพัฒนาการของมนุษย ์(ต่อ)

3. พฒันาการจะพฒันาตามทิศทางโดย เฉพาะ (Developmental Direction) ซึ่งเป ็นไป

ตามกฎเกณฑ์ด ังน ี้ 3.1 กฎจากสว่นบนสูส่ ่วนล ่าง (The

Cephalocaudal Law) มนุษยจ์ะพัฒนาที่ศ ีรษะ ลำาต ัว และปลายเท ้า ตามล ำาด ับ

3.2 กฏจากสว่นกลางส ูภ่ายนอก (The Proximodistal Law) มนุษย ์จะพัฒนาจากสว่น

อกสูส่ว่นแขน และมือตามล ำาดบั เช ่น   ทารกจะใช้แขนได้ก ่อนใช้น ิ้วม ือ เปน็ต ้น

4. อัตราของพัฒนาการของแต่ละคนจะแตก ต่างก ัน (Different Ratio) เด ็กว ัยร ุ่นบางคน

เปน็หนุ่มสาวเร ็ว แต ่บางคนเปน็หนุ่มสาวช้า

5. อัตราของพฒันาการของแต่ละ ว ัยจะแตกตา่งก ัน (Different Age)

ว ัยก ่อนคลอดอัตราของ พฒันาการจะส ูงท ีส่ ุด (1-9 เด ือน)

เฉล ีย่น ำ้าหนักจาก 1 กรัม เป ็น 2,800 กรัม และความสูงจาก 1

เซนติเมตร เป ็น 50 เซนติเมตรอ ัตราพัฒนาการของว ัยทารกอยู่

ในอัตราส ูง ต ่อจากนั้นจะลดลงและอ ัตราของพัฒนาการจะส ูงอ ีก

ในว ันร ุ่น แตจ่ะค ่อยๆ ช้าลงใน ว ัยผ ู้ใหญ่ และว ัยชรา ตามลำาด ับ

หลักพัฒนาการของมนุษย ์(ต่อ)

6. อัตราการเจร ิญเต ิบโตของอว ัยวะของ แต่ละคนจะแตกต่างก ัน (Different

Organs) อว ัยวะที่ส ำาค ัญมอี ัตราการเจร ิญ เต ิบโตที่แตกต่างก ัน จ ัดแบ ่งเปน็ 4

ประเภท คือ 6.1 การเจร ิญเต ิบโตของร ่างกาย

ทั่วไป (General Type) เปน็การเจร ิญ เต ิบโตของร ่างกายด้านนำ้าหนัก ส ่วน

สงู ระบบการหายใจ ระบบทางเด ิน อาหาร ระบบทางเด ินป ัสสาวะ ระบบ

ไหลเว ียน ไขมนัใต ้ผ ิวหนัง ต ับ ม ้าม กล้ามเน ื้อ โครงกระด ูก และหลอด

เล ือด ซึ่งจะเต ิบโตรวดเร ็วมากในขวบ ปแีรกแล้วคอ่ยๆ ช้าลง และเขา้ส ูอ่ ัตรา

การเต ิบโตที่เร ็วอ ีกคร ั้งหนึ่งในระยะว ัยร ุ่น

หลักพฒันาการของ มนุษย ์ (ต่อ)

6.2 การเจร ิญเต ิบโตของระบบ ประสาท (Neural Type) ไดแ้ก ่ สมอง

ไขสนัหลัง ตา และประสาทของตา ศีรษะ อว ัยวะเหล ่าน ี้เต ิบโตรวดเร ็วใน

ระยะ 2 ปีแรกหลังเก ิด และเต ิบโตเก ือบ เต ็มท ีเ่ม ื่อเด ็กอายปุระมาณ 6 ปี

6.3 การเจร ิญเต ิบโตของเน ื้อเย ื่อ น ำ้า เหล ือง (Iymphoid Type) ได้แก ่ ต ่อมนำ้า เหล ือง ต ่อมไธมสั ต ่อมทอนซิล และอดิ นอยด์ ต ่อมเหล ่าน ี้โตเร ็วมากเปน็ 2

เท ่าของผู้ใหญ่ เม ื่อเด ็กอาย ุ 10 - 12 ปี หลังจากนั้นแล ้วต ่อมเหล ่าน ี้จะคอ่ยๆ

เล ็กลงเม ื่อเข ้าว ัยร ุ่น

หลักพฒันาการของ มนุษย ์ (ต่อ)

6.4 การเจร ิญเตบิโตของอว ัยวะ สืบพันธ ุ์ (Genital Type) ได้แก ่ ลกู

อัณฑะ ต่อมลกูหมากในเด ็กชาย ร ังไข ่และมดลูกในเด ็กหญิง อว ัยวะ

เหลา่น ี้จะเต ิบโตอย่างช ้าๆ ภายหลังเก ิดและจะเต ิบโตอย่างรวดเร ็ว

เม ื่อย ่างเข ้าส ู่ระยะว ัยแรกร ุ่น(Puberty) และว ัยร ุ่น

7. อัตราการเจร ิญเต ิบโตของเด ็กชาย และเด ็กหญิงจะแตกต่างก ัน

(Different Sex)

หลักพฒันาการของ มนุษย ์ (ต่อ)

จิตว ิทยาพัฒนาการนักเรยีนในวัยต ่างๆ

• พัฒนาการนักเรียนประถมศึกษา ช่วงชั้นที่ 1-2

• พัฒนาการนักเรียนประถมศึกษา ช่วงชั้นที่ 3-4

• พัฒนาการนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น• พัฒนาการนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย

ทฤษฎีการพัฒนาสติป ัญญาของเพ ียเจท ์(Piaget’s Cognitive Development Theory)

เพ ียเจท์ได ้เน ้นว ่าพ ัฒนาการทางสตปิ ัญญาของมนุษย ์ จะเป ็นไปตามขั้นตอน มีท ั้งหมด 4 ขั้นตอนตามลำาด ับ ค ือ

1. ขั้นตอนการใชป้ระสาทสมัผสั (Sensorimoter Stage) เปน็พ ัฒนาการทางสต ิปญัญาชว่งแรกเก ิด - 2 ขวบ เด ็กจะเร ียนร ู้สภาพ

แวดล้อมโดยการร ับร ู้ผ ่านอว ัยวะสมัผ ัสโดยตรง ฉะนัน้ควรสง่เสร ิมพ ัฒนาการเด ็กโดยให้สมัผสัก ับส ิง่แวดล ้อมโดยใชป้ระสาทสมัผสัต ่างๆ

ทฤษฎีพ ัฒนาการ

ทฤษฎีการพัฒนาสติป ัญญา ของเพียเจท์ (ต่อ)

• 2. ขั้นเตร ียมการ (Preoperational Stage) เป ็นพัฒนาการทางสติป ัญญา

ขั้นท ี่สองของเด ็กว ัย 3 - 7 ขวบ ซึ่ง ถือว ่าตนเองเป ็นผ ู้ใหญ่ หร ือเป ็น

ศูนย ์กลางของสงัคม (Ego Centric) จึง เอาแต่ใจตนเอง ขาดความมีเหตมุ ี

ผล ขาดความร ู้ส ึกผ ิดชอบชัว่ด ี กฎหมายบ้านเม ืองจ ึงไม ่เอาผ ิด แก่

เด ็กอาย ุไม ่เก ิน 7 ขวบ ทีก่ระท ำา ความผิดทางกฎหมาย ขั้นน ี้เป ็นข ั้น

เตร ียมการทางสมองที่จะเร ิ่มม ีเหต ุ มีผลต่อไป

• 3. ขั้นเร ียนร ู้ร ูปธรรม (The Concrete Operation Stage) เป ็นพฒันาการของ

เด ็กว ัย 8 - 12 ปี สต ิป ัญญาพัฒนาดี ขึ้น สามารถใช้ความคิดในการเก ิด

ความคิดรวบยอดของว ัตถ ุส ิ่งของม ิต ิ ต่างๆ ได้แก ่ ความกว ้าง ยาว ล ึก

และมิต ิของเวลา ว ันน ี้ พร ุ่งน ี้ มะร ืนน ี้เข ้าใจในการใชเ้หตุผลและการ

เปร ียบเท ียบ ได้แก ่ได ้มากกว ่า น ้อย กว่า ใหญ่กว ่า ส ั้นกว ่า ยาวกว ่า และ

เท ่าก ัน สามารถจัดรวมและจ ัดแยก ประเภทของส ิ่งของได้

ทฤษฎีการพฒันาสติปัญญาของเพีย เจท์ (ต่อ)

ทฤษฎีการพัฒนาสติ ปัญญาของเพียเจท์ (ต่อ)

• 4. ขั้นเร ียนร ู้ส ิ่งท ีเ่ป ็นนามธรรม (Formal Operation Stage)เป ็นพฒันาการของเด ็ก

ว ัยร ุ่น (13-16 ปี) เป ็นพัฒนาการของ เด ็กว ันร ุ่น (13-16 ปี) สติปญัญาของ

เด ็กว ัยร ุ่นจะพัฒนาได้ด ีประมาณ 90% จึงสามารถเร ียนร ู้ส ิ่งต ่างๆ ทั้งท ี่เป ็น

ร ูปธรรมนามธรรม ตลอดจนหลกั ตรรกศาสตร ์ได ้ นอกจากนี้ย ังเข ้าใจ

กฎเกณฑข์องส ังคม สามารถตัดส ิน ใจแก้ป ัญหา ทดสอบข้อสมมติฐาน

และข้อพสิ ูจน ์ต ่างๆ ได้

ทฤษฎีพ ัฒนาการทางเพศของฟทฤษฎีพ ัฒนาการทางเพศของฟ รอยด ์รอยด์

((Freud’sFreud’s Psychosexual Theory)Psychosexual Theory)• ซิกม ันต ์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เปน็นกั

จ ิตว ิทยาชาวย ิว เปน็ผ ูท้ ี่สร ้างทฤษฎีจ ิต ว ิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) ซึ่งเปน็ทฤษฎี

ทางด้านการพัฒนา Psychosexual โดยเช ือ่ว ่า เพศหร ือกามารมณ์ (sex) เปน็ส ิง่ท ี่มอีทิธพิลต ่อ

 การพัฒนาของมนษุย ์• ฟรอยด์เช ือ่ว ่ามนษุย ์มสีญัชาตญาณติดต ัวมา

แต่ก ำาเนดิ พฤติกรรมของบคุคลเปน็ผลมาจากแรงจ ูงใจหร ือแรงขับพื้นฐานที่กระต ุน้ให ้

บคุคลมีพฤตกิรรม คอื สญัชาตญาณทางเพศ(sexual instinct) 2  ลักษณะคอื1. สญัชาตญาณเพื่อการด ำารงชวี ิต (eros = life instinct) 2. สญัชาตญาณเพื่อความตาย (thanatos = death instinct)

• ฟรอยด์ได ้สร ุปถ ึงพ ัฒนาการทางเพศ ของบุคคลไว ้ 5 ขั้นตอน

1. ความสุขอยู่ท ี่ปาก (Oral Stage) เร ิ่ม ตั้งแต ่ทารกแรกเก ิดถ ึง 2 ขวบ จะ

ทำาการสนองความต้องการเพ ื่อให ้เก ิดความพอใจและเป ็นความสุขของตนโดยใชป้ากเป ็นการเปล ่งเส ียง

ต่างๆ ก ิน อม ดูด ก ัด และแทะ ดังน ัน้จ ึงกล ่าวได ้ว ่า "ทารกจะมี

ความสุขก ับการดูด" ความสุขเช ่นนี้ อาจตดิต ัวเด ็กมาถ ึงว ัยผ ู้ใหญ่ได ้

ทฤษฎีพ ัฒนาการทางเพศของฟทฤษฎีพ ัฒนาการทางเพศของฟ รอยด ์รอยด์ ((ต่อต ่อ ) )

ทฤษฎีพ ัฒนาการทางเพศ ของฟรอยด์ (ต่อ)• 2. ความสขุอย ู่ท ี่การใช้ทวารหนัก

(Anal Stage) ความพอใจและความสุข ของเด ็กว ัย 2 -3 ขวบ อยู่ท ี่การขับ

ถ ่ายและสามารถบังค ับอว ัยวะขับ ถ่ายของตนเองได้

• 3. ความสขุอย ู่ท ี่การผ ูกพันก ับบ ิดา หรือมารดา (Phallic Stage) ความพอใจ

และความสุขของว ัยเด ็ก 4-6 ขวบนี้จะม ีความร ู้ส ึกผ ูกพนัก ับมารดาและหวงมารดาเป ็นพิเศษในทางตรงกัน

ข้าม เด ็กหญิงจะร ักใคร ่ผ ูกพ ันก ับ บิดา และห่วงบ ิดาเป ็นพิเศษ ซึ่งฟ

รอยด์เร ียกพฤติกรรมนี้ว ่า"ปมโอดิป ุส"(Oedipus Complex)

• 4. ความสุขอย ู่ท ีก่ารเกบ็กด ความแฝงเร ้นทางเพศ (Latency

Stage ) ความพอใจและความสุข ของเดก็ว ัย 6-12 ปี อย ูท่ ี่การ

เกบ็กดความแฝงเร ้นทางเพศไว ้ไปสนใจสิ่งแวดล ้อมทีอ่ย ู่

รอบตัว มคีวามอยากร ูอ้ยาก เห ็น อยากมเีพ ือ่น ต ้องการ

เขา้ส ังคม ใช้กลว ิธใีนการ ปรับต ัวแบบต่างๆ ทั้งแบบ

ต่อส ูแ้ละแบบถอยหนี

ทฤษฎีพ ัฒนาการทางเพศ ของฟรอยด์ (ต่อ)

• 5. ความสุขอยู่ท ี่การได้สนใจในเพศ ตรงข้าม (Genital Stage) ความพอใจ

และความสุขของเด ็กว ัยร ุ่น 13-18 ปี อยู่ท ี่ความสนใจในเพศตรงข้าม จ ึง

อาจเร ียกว ัยน ี้ว ่า "ว ัยหวาน" เด ็กชาย จะเร ิ่มห ่างแม ่ แตห่ ันมาสนใจและ เล ียนแบบพ่อ เด ็กหญิงจะเร ิ่มห ่างพ่อ

แต่มาสนใจและเลยีนแบบแม่พฤติกรรมดังกลา่วจะต ิดต ัวเด ็กว ัยร ุ่น

จนถึงว ัยผ ู้ใหญ่ พฤติกรรมที่ปรากฏชัดเจนก็คอืผ ู้ใหญ่ท ี่เป ็นหนุ่ม -สาวจะผูกพันร ักใคร ่ก ับเพศตรงข้ามจนถึงข ั้นแต ่งงานเป ็นสามีภรรยากันและ

ครอบครัว พร ้อมให้ก ำาเน ิดบ ุตรจน ครบวงจรของชีว ิต

ทฤษฎพีฒันาการทางเพศ ของฟรอยด์ (ต่อ)

ทฤษฎีพฒันาการทางสงัคมของอิริคสนั(Erikson’s Psychosocial Theory)

อิร ิคส ันได ้แบง่พ ัฒนาการทางสงัคมของ บคุคลไว ้ 8 ขัน้ดงัน ี้

• 1. การสร ้างความร ู้สกึไว ้วางทางใจ ช่วงอายแุรกเก ิดถ ึง 1 ขวบ ถ้าเดก็ได ้

ร ับอาหาร นำ้า ความรกั ความเอาใจ ใส ่ และความใกล้ช ิดจากมารดาหร ือพี่

เล ี้ยงเปน็อย ่างด ี เด ็กจะเก ิดความร ู้สกึ ไว ้วางใจและความอบอุ่นม ั่นคง ในทาง

ตรงข้ามถ ้าถ ูกทอดทิ้งและม ิได ้ความร ัก จะเก ิดความร ู้ส ึกไมไ่ว ้วางใจใคร ใน

ว ัยเด ็กจะเก ี่ยวขอ้งก ับผ ู้ใกล ้ชดิ ไดแ้ก ่ บิดา มารดา หร ือพี่เล ี้ยงเปน็ส ่วนใหญ่

ทฤษฎพีฒันาการทางสงัคม ของอริคิสนั (ตอ่)

2. การสร ้างความร ู้สกึเป ็นต ัวของต ัว เอง ว ัยน ี้เดก็จะแสดงออกให้เห ็นว ่า

ตนเองม ีความสามารถ มคีวามเปน็ ตัวของต ัวเอง ในทางตรงข้าม ถ ้า

เด ็กม ิได ้ร ับความสำาเร ็จหร ือความ พอใจ เดก็จะเก ิดความอายและกล ัว

การแสดงออก ในวัยเด ็กจะเก ี่ยวขอ้ง กับบ ิดามารดา และหร ือพีเ่ล ี้ยงมาก

3. การสร ้างความคดิร ิเร ิม่ ว ัยน ี้เดก็จะ เล ียนแบบสมาชิกในครอบครัว

ทดลองส ิ่งใหม่ๆ ถ ้าทดลองแล ้วผ ิด พลาด เด ็กจะเก ิดความขยาดและ

หวาดกลัว ในว ัยน ี้เด ็กจะเก ี่ยวขอ้ง กับสมาชกิในครอบครัวและเดก็ๆ

นอกบา้น

4. การสร ้างความร ู้สกึร ับผ ิดชอบ ว ัยน ี้เด ็กจะเร ิ่มเก ี่ยวขอ้งก ับสงัคมมากขึ้น

ตามลำาดบั จะขยนัเร ียนขยนัอ ่าน หนังสอืประเภทต่างๆ พูดคยุและอวด

โชว์ความเด ่นและความสามารถของ ตนเพื่อให ้เพ ื่อนยอมร ับ ถ ้าเด ็กท ำาไม ่

ได้เขาจะผ ิดหว ัง และมคีวามร ูส้ ึกเปน็ ปมดอ้ย

5. การสร ้างบ ุคล ิกภาพของตน ช่วง อาย ุ 13-18 ปี ว ัยน ี้เด ็กจะสร ้าง

เอกล ักษณ์หร ือบ ุคล ิกภาพของตน โดย เล ียนแบบจากเพื่อนๆ หร ือผ ู้ใกล ้ช ิด

ถ ้ายงัสร ้างเอกล ักษณ์ของตนไม่ได ้จะ เก ิดความว ้าว ุ่น ว ้าเหว ่ และหมดหวัง

ทฤษฎพีฒันาการทางสงัคม ของอริคิสนั (ตอ่)

6. การสร ้างความเป ็นผ ู้น ำา ช่วงอาย ุ19-40 ปี เปน็ว ัยท ี่เปล ี่ยนไปสู่ความเปน็

ผู้ใหญ่ต ้องการเป ็นผ ูน้ ำา ต ้องการต ิดต ่อ และสมัพันธก์ ับเพ ื่อนต ่างเพศ จนเปน็ เพ ือ่นสนิทและหร ือเป ็นค ูช่ ีว ิต ยอมที่จะ

เปน็ผ ู้น ำาในบางขณะ ถ้าผ ิดหว ังจะแยก ตนเองออกจากสงัคม หรืออย ูต่ามล ำาพ ัง

ในว ัยน ี้จะม ีเพ ื่อนร ัก เพ ือ่นร ่วมงาน และ เพ ือ่นสนิทเป ็นจ ำานวนมาก

7. การสร ้างความเปน็ผ ู้ใหญ่ เปน็ว ัยท ีม่ ีความร ับผดิชอบในการเป ็นบดิามารดาให้

กำาเน ิดบตุร ให้การอบรมเล ี้ยงด ู ให ้การ ศึกษา ให้ความร ักและความเอาใจใส ่เพ ื่อ

สร ้างค ุณภาพชวี ิตให้แก ่สมาชิกใหม่ท ุก คน ถ้าพบกับความล ้มเหลวในชีว ิต เขา

จะเปน็บ ิดามารดาที่ด ีไม ่ได ้

ทฤษฎพีฒันาการทางสงัคม ของอริคิส ัน (ต่อ)

8. การสร้างความมัน่คงของชีวิต ตั้งแต่ 61 ปีขึ้นไป เป็นวัยที่ต้องการ

ความมัน่คงสมบูรณ์ในชีวิต จะภาคภูมใิจในความสำาเร็จแห่งชีวิตและผล

งานของตน ถ้าผิดหวังจะเกิดความ รู้สึกล้มเหลวในชีวิต

ทฤษฎพีฒันาการทางสงัคม ของอริคิสนั (ตอ่)

ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก (Kohlberg’s Psychosocial Theory)

• โคลเบอร์ก ได้แบ่งขั้นตอนการพัฒนาการทาง จริยธรรมไว้เปน็ 6 ขั้นดังนี้

1. ขั้นหลบหลีกการถูกลงโทษ ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่เด็กแรก เกิดจนถึงอายุประมาณ 7 ปี ซึ่งชอบใชห้ลักการหลีก

เลี่ยงมิให้ได้รับโทษ และจะเลือกกระทำาในทางที่จะ เกิดประโยชนแ์ก่ตนเองมากกว่า เด็กระยะนี้เข้าใจ

ความดีว่าหมายถึงสิง่ที่ทำาแล้วไม่ถูกลงโทษหรือถูก ตำาหนิ เช่น เด็กยอมทำาการบา้น เพราะกลัวครู ทำาโทษ เป็นต้น ส่วนการตัดสินใจว่าอะไรถูกอะไร

ผดิ เด็กจะมองที่ผลของการกระทำาว่า ถ้าเสยีหาย มากก็ตัดสินว่าการกระทำานั้นผิด ไม่ได้มองที่สาเหตุ

ของการกระทำา2. ขั้นการแสวงหารางวัล อายุ 7-10 ปี ขั้นนี้เด็กจะ

คอ่ยๆ เนน้ความสำาคญัของการได้รับรางวัลและคำา ชมเชย การสญัญาจะให้รางวัลจึงเปน็แรงจูงใจให้

เด็ก กระทำาความดีได้มากกว่าการดุว่าหรือขู่ว่าจะ ลงโทษ เชน่ เด็กจะชว่ยพ่อแม่ทำางานเพื่อได้รับคำา ชมเชย จริยธรรมของบุคคลในขั้นนี้จะเนน้ในด้าน

การรับคำาชมเชย และรางวัลกว่าในการถูกลงโทษ

ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ ก (ต่อ)3. ขัน้การทำาตามเพื่อน อายุ 10-13 ปี ขั้นนี้

เด็กยา่งเข้าสูว่ัยรุ่น จะให้ความสำาคญัแก่กลุ่ม เพื่อนมาก ต้องการให้กลุ่มยอมรับจึงทำาตาม

บคุคลที่ตนเห็นว่าดีงาม คือ เอาอยา่ง Good boy, nice girl เด็กวัยนี้ส่วนมากจะทำาตามในสิง่ที่ตน

ตัดสนิว่าคนอื่นจะเห็นด้วย เพื่อให้เปน็ที่ชอบพอของเพือ่นฝงูและเปน็ที่ยอมรับของกลุ่ม

   เพื่อน จริยธรรม ของบคุคลในขั้นนี้เน้นหนักด้านการทำาตามคนอื่นมากกว่าคำานึงถึงเรื่องการ

ถูกลงโทษ และรางวัล4. ขั้นการทำาตามหน้าท ี่ อายุ อายุ 13-16 ปี

เด็กวัยนี้จะมีความรู้และประสบการณ์ว่าแต่ละ กลุ่มจะมีกฎเกณฑ์ให้สมาชิกยึดถือ และเขาก็มี

ความเข้าใจในหน้าที่ของตนในกลุ่ม มีศรัทธาต่อกฎเกณฑ์ของกลุ่มมากพอสมควรเขา้ใจ

บทบาทของผูอ้ื่น การกระทำาที่ถูกต้องจะ พิจารณาเพือ่กลุ่มและสว่นรวม จริยธรรมขั้นนี้

     เน้นเรื่องการกระทำาตาม หน้าทีใ่นหมู่คณะ ทำาตามขนบธรรมเนียมประเพณี และศีลธรรม

มากกว่าเรื่องการลงโทษ รางวัลและการทำาตาม เพื่อน

5. ขั้นการทำาตามสัญญา อายุ 16 ปขีึ้นไปขั้นนี้บคุคลจะพยายามกระทำาเพือ่หลบหลีกมิให้

ถูกตราหน้าว่าเปน็คนขาดเหตุผล เปน็คนไม่ แน่นอน คำาว่าการทำาตามสญัญาของบคุคลใน ขั้นนี้ หมายถึงการทำาตามที่ตกลงหรือให้

สัญญาไว้กับผู้อื่น แม้พยายามที่จะลิดรอนสิทธิ ของผูอ้ื่น เห็นประโยชน์สว่นรวมมากกว่าสว่น

ตัว มีความเคารพตนเองและต้องการให้ผูอ้ื่น เคารพตนเองด้วย

6. ขั้นหล ักอ ุดมคติสากล ขัน้นี้เกิดกับวัย ผู้ใหญ่ บุคคลในขั้นนี้จะมีอุดมคติหรือคุณธรรม

ประจำาใจ เชน่ ยึดหลักหิริโอตตัปปะ ซึ่งมี ความละอายแก่ใจตนเอง ในการที่จะกระทำา ชั่วและเกรงกลัวต่อบาป และเปน็บุคคลที่เสีย

สละเพื่อสังคมอยา่งแท้จริง เชน่ คานธี เปน็ต้น

ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของ โคลเบอร์ก (ต่อ)

• โคลเบอร ์ก เช ื่อว ่า พ ัฒนาการ ของการใช้เหต ุผลเช ิงจร ิยธรรม

จะด ำาเน ินไปตามขั้นตอน จาก ขั้นท ี่หน ึ่งเร ื่อยไปจนถึงข ั้นท ี่หก

จะข้ามขั้นม ิได ้ และ  พัฒนาการอาจจะชะง ักอย ู่ใน

ขั้นใดขั้นหนึ่งกไ็ด ้ ท ั้งน ี้ข ึ้นอย ู่ก ับความสามารถทางสติป ัญญา

และเหตุการณ์ทางส ังคมผู้ใหญ่ส ่วนมากจะม ีพ ัฒนาการ

ทางจร ิยธรรมถึงข ั้นท ี่ส ี่เท ่าน ั้น

ทฤษฎีพ ัฒนาการทางจร ิยธรรม ของโคลเบอร ์ก (ต่อ)

สมองกับการเรยีนรู้• ชว่งอาย ุ 3 ขวบแรก จะเป ็นช่วง

สำาค ัญสุดของการพัฒนาของเด ็ก• สมองคนเราเร ิ่มก ่อต ัวต ั้งแต ่อาย ุ 2

สปัดาห์ในครรภ์• ปัจจ ัยท ีไ่ด ้ร ับขณะตั้งครรภ์ก ็จะม ีผลตอ่การเจร ิญเตบิโตของสมองเช ่น

กัน เช ่น แม่ต ้องม ีอารมณ์ด ี ได ้ร ับ สารอาหารทีค่รบ 5 หมู่ โดยเฉพาะ

ธาตุเหล ็ก ไอโอดีน โปรตีน กรดโฟ ลกิ ว ิตาม ิน ไขมันปลา ได้ฟ ังเพลงที่

ชอบ ไม่ได ้ร ับสารพิษ เชน่ บ ุหร ี่ เหล ้า ได ้ความร ักและก ำาลงัใจจาก

สามี• เม ื่อทารกคลอดออกมา สมองหนัก

ประมาณ 1 ปอนด์ และเจร ิญเต ิบโต เต ็มท ี่ 3 ปอนด์ ท ีอ่าย ุ 18 - 20 ปี

สมองกับการเร ียนร ู้(ต่อ)• จำานวนเซลล์สมองแรกเก ิดม ีประมาณ 1

แสนล้านเซลล์ มใียประสาทประมาณร้อย ละ 20 ของผู้ใหญ่ หล ังจากคลอดแล้ว

จำานวนเซลล์สมองไมไ่ด ้เพ ิ่มข ึ้น แต ่จะขยายตัวและเพ ิ่มสายใยประสาทเพื่อเช ื่อมระหว ่างเซลล ์ใยประสาทมากน้อย

ขึ้นก ับส ิ่งแวดล ้อมและการกระต ุ้นต ่างๆ ยิง่มใียประสาทมากยิง่ฉลาด และเร ียนร ู้

ได้เร ็ว• ถึงแม ้จ ำานวนเซลล์สมองเท ่าเด ิม แต ่ก ็อาจจะสญูเสยีการต ิดต ่อส ื่อสารระหว ่าง

เซลล ์ด ้วยก ันได ้ ซ ึง่ เก ิดจากเซลล์สมองที่ ไม่ได ้ถ ูกใช้ในช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม

โดยเฉพาะในว ัยท ี่ก ำาล ังเจร ิญเต ิบโต( ภายใน 10 ขวบแรก) ซึง่เราจะส ูญเสยี

ความทรงจ ำา และไม ่เก ิดการเร ียนร ู้ของ เซลล ์กล ุ่มน ั้น

• เซลล ์สมองที่เก ี่ยวก ับการเร ียนร ู้ม ี 2 อย่าง คอื Neurons และ Glial cells ซึ่ง

ส ่วนใหญ่จะอยู่ท ี่ส ่วนบนของสมอง ชั้นนอก (Neocortex)

• การเร ียนร ู้จะเก ิดข ึ้นได ้เม ื่อเซลล ์ สมอง 2 เซลล ์ ต ิดต ่อก ัน โดยผ่าน

ทางสายใยประสาทส่งผ ่านข้อม ูล ซึ่งก ันและก ัน

• เซลล ์สมองมีส ่วนประกอบ 3 ส่วน

1. เซลล ์สมอง (Cell body) 2. สายใยประสาทร ับข ้อม ูล

(Dendrite) 3. สายใยประสาททีส่ ่งข ้อม ูล

(Axon)

• เซลล ์สมองจะเก ิดการเร ียนร ู้โดยข้อมลูท ี่ เราได ้ร ับจากสมัผ ัสท ัง้ 5 คอื ผ ่านทางตา

หู จมกู ล ิ้น สมัผ ัสผ ิวกาย จะสง่ผา่นเขา้ สูส่มอง จากเซลล์สมองสง่ผ ่านทางสายใย

ประสาทสง่ข ้อม ูล ไปยงัสายใยประสาทร ับ ข้อมลูของเซลล์ประสาทสายใยตัวร ับ โดย

จะม ีจ ุดเช ื่อมระหว ่างก ัน เม ื่อม ีข ้อมลูผ ่าน มาบ่อยๆ จะทำาให้จ ุกเช ือ่มน ี้แขง็แรง ซึ่ง

เซลล ์สมองแต่ละเซลล ์จะเช ื่อมก ัน 5,000 - 10,000 เซลล ์ และม ีต ัวเช ื่อมประมาณ 1

ล้านล ้าน และเด ็กๆ จะสรา้งใยประสาทได้ เร ็วและงา่ยกว ่าผ ู้ใหญ่ ย ิง่ใชบ้ ่อยๆ ใย

ประสาทก็จะแข็งแรงมากขึ้น ข ้อม ูลก ็จะ เด ินทางได้เร ็วข ึ้น ท ำาให้เร ียนร ู้ได ้งา่ยข ึ้น

ทำาให้เด ็กๆ จะเร ียนร ู้ได ้เร ็วกว ่าผ ู้ใหญ่• กระบวนการของการร ับส ่งข ้อมลูในสมองจะเปน็แบบกระแสไฟฟา้ - สารเคม ี โดย

ภายในเซลล์ประสาทจะเป ็นไฟฟา้ สว่น ระหว ่างเซลล ์ประสาทจะเปน็สารเคม ี

top related