ปอ ปยุตฺโต

Post on 19-Jun-2015

209 Views

Category:

Documents

4 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

พระพรหมคณุาภรณ ์

(ประยทุธ ์ปยตฺุโต)

พระพรหมคณุาภรณ ์

(ป. อ. ปยตุโต)

นามเดิม ประยทุธ ์

นามสกลุ อารยางกรู

เป็นบตุรคนท่ี ๕

ของนายส าราญ และ

นางชนุกี อารยางกรู

เกิดเม่ือวนัท่ี ๑๒ มกราคม ๒๔๘๑

ตรงกบัวนัพฤหสับดี แรม ๗ ค ่า เดือน

๑๒ ปีขาล

ท่ีตลาดใต ้อ าเภอศรปีระจนัต ์จงัหวดั

สพุรรณบรุี

เริม่การศึกษาเบ้ืองตน้ เม่ือ พ.ศ.

๒๔๘๗ ท่ีโรงเรียนอนบุาลครเูฉลียว

ตลาดศรปีระจนัต ์จงัหวดัสพุรรณบรุี

บรรพชาเป็นสามเณร เม่ือ ๑๐

พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๔ ท่ีวดับา้น

กรา่ง อ าเภอศรปีระจนัต ์จงัหวดั

สพุรรณบรุ ีเม่ืออายยุา่ง ๑๓ ปี เริ่ม

เรยีนพระปรยิติัธรรม ณ วดันัน้

พ.ศ. ๒๔๙๕ ยา้ยไปอย ูท่ี่วดัปราสาท

ทอง อ าเภอเมือง จงัหวดัสพุรรณบรุ ี

เพ่ือศึกษาพระปรยิติัธรรม และฝึก

วิปัสสนา เม่ือจบแลว้ พระอาจารย์

ผ ูน้ าการปฏิบติัไดช้วนไปอย ูป่ระจ าใน

ส านกัวิปัสสนา แต่โยมบิดาไม่ยนิยอม

เพราะเห็นว่าสามเณรบตุรชาย ควร

ไดศึ้กษาปรยิติัธรรมขัน้สงูต่อไป

พ.ศ. ๒๔๙๖ ยา้ยมาจ าพรรษาท่ีวดั

พระพิเรนทร ์กรงุเทพมหานคร

เรยีนพระปรยิติัธรรมจนสอบได้

เปรยีญธรรม ๙ ประโยค ขณะยงัเป็น

สามเณร นบัเป็นสามเณรรปูท่ี ๔ ใน

สมยัรตันโกสินทร ์

จึงไดร้บัพระราชทานพระบรมรา

ชานเุคราะหใ์หอ้ปุสมบทในฐานะ

นาคหลวง เม่ือวนัจนัทรท่ี์ ๒๔

กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ ณ พระ

อโุบสถวดัพระศรรีตันศาสดาราม

ไดน้ามฉายาว่า 'ปยตฺุ

โต' แปลว่า 'ผูเ้พียรประกอบแลว้'

พ.ศ. ๒๕๐๕ ส าเรจ็การศึกษา

ปรญิญาพทุธศาสตรบ์ณัฑิต

(เกียรตินิยมอนัดบั ๑) จากมหา

จฬุาลงกรณราชวิทยาลยั และ

สอบได ้วิชาชดุคร ูพ.ม. ในปี พ.ศ.

๒๕๐๖

หลงัจากส าเรจ็การศึกษาเป็น

อาจารยใ์นมหาจฬุาลงกรณราช

วิทยาลยั เป็นผ ูช่้วยเลขาธิการและ

ต่อมาเป็นรองเลขาธิการ จนถึง

พ.ศ. ๒๕๑๗ และไดเ้ป็นเจา้อาวาส

วดัพระพิเรนทร ์กรงุเทพมหานคร

ตัง้แต่ พ.ศ. ๒๕๑๕ ถึง พ.ศ.

๒๕๑๙

หลงัจากส าเรจ็การศึกษาเป็น

อาจารยใ์นมหาจฬุาลงกรณราช

วิทยาลยั เป็นผ ูช่้วยเลขาธิการและ

ต่อมาเป็นรองเลขาธิการ จนถึง

พ.ศ. ๒๕๑๗ และไดเ้ป็นเจา้อาวาส

วดัพระพิเรนทร ์กรงุเทพมหานคร

ตัง้แต่ พ.ศ. ๒๕๑๕ ถึง พ.ศ.

๒๕๑๙

หลงัจากส าเรจ็การศึกษาเป็น

อาจารยใ์นมหาจฬุาลงกรณราช

วิทยาลยั เป็นผ ูช่้วยเลขาธิการและ

ต่อมาเป็นรองเลขาธิการ จนถึง

พ.ศ. ๒๕๑๗ และไดเ้ป็นเจา้อาวาส

วดัพระพิเรนทร ์กรงุเทพมหานคร

ตัง้แต่ พ.ศ. ๒๕๑๕ ถึง พ.ศ.

๒๕๑๙

นอกจากสอนวิชาพระพทุธศาสนา

ตามมหาวิทยาลยัต่างๆ ใน

ประเทศไทยแลว้ ท่านไดร้บันิมนต์

ไปบรรยาย ณ University Museum

แห่งมหาวิทยาลยั Pennsylvania ใน

พ.ศ. ๒๕๑๕ และท่ี Swarthmore

College สหรฐัอเมรกิา ใน พ.ศ.

๒๕๑๙

ต่อมาไดร้บันิมนตใ์หเ้ป็น

visiting scholar และไดร้บั

แต่งตัง้เป็น research fellow

ณ Divinity Faculty แห่ง

มหาวิทยาลยั Harvard

ต่อมาไดร้บันิมนตใ์หเ้ป็น

visiting scholar และไดร้บั

แต่งตัง้เป็น research fellow

ณ Divinity Faculty แห่ง

มหาวิทยาลยั Harvard

ท่านมี ธรรมกถาท่ี เผยแพร่

นบัพนัรายการ และมีผลงานหนงัสือ

ท่ีใชเ้ป็นหลกัอา้งอิงหลายรอ้ยเรือ่ง

เฉพาะอยา่งยิง่พทุธธรรม

พจนานกุรมพทุธศาสตร ์ฉบบั

ประมวลธรรม และพจนานกุรมพทุธ

ศาสน ์ฉบบัประมวลศพัท์

สถาบนัการศึกษาชัน้สงูเกือบ

๒๐ แห่ง ทัง้ในและต่างประเทศ

ไดถ้วายปรญิญาดษุฎีบณัฑิต

กิตติมศกัด์ิ และต าแหน่งเชิดช ู

เกียรติต่างๆ มี ตรปิีฏกาจารย์

กิตติมศกัด์ิ จาก

นวนาลนัทามหาวิหาร

ประเทศอินเดีย และเมธา

จารย ์(Most Eminent

Scholar) จากมหาวิทยาลยั

พระพทุธศาสนาแห่งโลก

เป็นอาทิ

ส านกัของท่านในปัจจบุนั

คือ วดัญาณเวศกวนั

ตัง้อย ู ่ในอ าเภอสามพราน

จงัหวดันครปฐม

พ.ศ. ๒๕๐๕-๒๕๐๗ สอนในแผนกบาลีเตรียม

อดุมศึกษา มหาจฬุาลงกรณราชวิทยาลยั

พ.ศ. ๒๕๐๗-๒๕๐๗ ไดร้บัแต่งตัง้เป็นผ ูช้่วย

เลขาธิการและต่อมาเป็นรองเลขาธิการ เป็น

อาจารยส์อนในชัน้ปรญิญาตรี พทุธศาสตร์

บณัฑิต ของมหาจฬุาลงกรณราชวิทยาลยั

บรรยายท่ีคณะโบราณคดี มหาวิทยาลยัศิลปากร

และในโครงการศาสนาเปรียบเทียบ

มหาวิทยาลยัมหิดล

พ.ศ. ๒๕๑๕-๒๕๑๙ เจา้อาวาสวดั

พระพิเรนทร์

พ.ศ. ๒๕๑๕ ไดร้บัอาราธนาไปบรรยาย

วิชาพทุธศาสนากบัวฒันธรรมไทยท่ี

University Museum, University of

Pennsylvania

พ.ศ. ๒๕๑๙-๒๕๒๑ ไดร้บัอาราธนาไป

บรรยายวิชาการทางพระพทุธศาสนา

ท่ี Swarthmore College, Pennsylvania

พ.ศ. ๒๕๒๔ ไดร้บัอาราธนาเป็น

Visiting Scholar ท่ี Center for the Study

of World Religions และบรรยาย

วิชาการทางพทุธศาสนา ส าหรบั

Divinity Faculty และ Arts Faculty ท่ี

Harvard University

พ.ศ. ๒๕๓๗-ปัจจบุนั ด ารงต าแหน่งเจา้

อาวาสวดัญาณเวศกวนั ต าบลบางกระ

ทึก อ าเภอสามพราน จงัหวดันครปฐม

ปรญิญาดษุฎีบณัฑิต

กิตติมศกัด์ิ

พทุธศาสตรดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ มหาจฬุาลง

กรณราชวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๒๕

ศิลปศาสตรดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ (สาขา

ปรชัญา) มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร ์พ.ศ. ๒๕๒๙

ศึกษาศาสตรดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ (สาขา

หลกัสตูรและการสอน) มหาวิทยาลยัศิลปากร พ.ศ.

๒๕๒๙

ศิลปศาสตรดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ

(ศึกษาศาสตร-์การสอน)

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร ์พ.ศ. ๒๕๓๐

อกัษรศาสตรดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ

จฬุาลงกรณม์หาวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๓๑

ศิลปศาสตรดษุฎีบณัฑิตกติติมศกัด์ิ (สาขา

ภาษาศาสตร)์ มหาวิทยาลยัมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๑

การศึกษาดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ (สาขา

ปรชัญาการศึกษา) มหาวิทยาลยัศรนีครนิทรวิ

โรฒ พ.ศ. ๒๕๓๓

ปรชัญาดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ สาขาปรชัญา

ศึกษาศาสตร ์มหาวิทยาลยัรามค าแหง พ.ศ.

๒๕๓๖

ศึกษาศาสตรดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ

มหาวิทยาลยัสงขลานครนิทร ์พ.ศ. ๒๕๓๗

ตรปิีฏกาจารยกิ์ตติมศกัด์ิ (สาขา

ปรชัญา) นวนาลนัทามหาวิหาร รฐัพิหาร

ประเทศอินเดีย พ.ศ. ๒๕๓๘

อกัษรศาสตรดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ

(จรยิศาสตรศึ์กษา) มหาวิทยาลยัมหิดล

พ.ศ. ๒๕๓๘

วิทยาศาสตรด์ษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ

มหาวิทยาลยัเชียงใหม ่พ.ศ. ๒๕๔๑

ศาสนศาสตรด์ษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ

สาขาพทุธศาสตร ์จากมหาวิทยาลยัมหา

มกฎุราชวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๔๔

ครศุาสตรด์ษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ สาขา

พระพทุธศาสนา สถาบนัราชภฏับา้นสมเด็จ

เจา้พระยา พ.ศ. ๒๕๔๔

ศิลปศาสตรดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ สาขา

ปรชัญาวิชาการบริหารองคก์ร มหาวิทยาลยั

ศรีปทมุ พ.ศ. ๒๕๔๕

ปรชัญาดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ สาขาวิชา

ศาสนาและปรชัญา มหาวิทยาลยับรูพา พ.ศ.

๒๕๕๒

ปรชัญาดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ สาขาวิชา

การศึกษา มหาวิทยาลยันเรศวร พ.ศ. ๒๕๕๒

นิเทศศาสตรดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ

มหาวิทยาลยัสโุขทยัธรรมาธิราช พ.ศ.

๒๕๕๒

ปรชัญาดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ (พฒันา

ทรพัยากรมนษุย)์ สถาบนับณัฑิตพฒันบริ

หารศาสตร ์พ.ศ. ๒๕๕๓

ศึกษาศาสตรดษุฎีบณัฑิตกิตติมศกัด์ิ

มหาวิทยาลยัหาดใหญ่ พ.ศ. ๒๕๕๔

ประกาศเกียรติคณุ

และรางวลั

พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดร้บัการประกาศเกียรติคณุ

ในฐานะผ ูท้ าคณุประโยชนแ์ก่

พระพทุธศาสนา ในการฉลอง ๒๐๐ ปี กรงุ

รตันโกสินทร์

พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดร้บัรางวลัวรรณกรรมชัน้ท่ี

๑ ประเภทรอ้ยแกว้ ส าหรบังานนิพนธพ์ทุธ

ธรรม จากมลูนิธิ ธนาคารกรงุเทพ

พ.ศ. ๒๕๓๒ ไดร้บัพระราชทานโลร่างวลั

'มหิดลวรานสุรณ'์

พ.ศ. ๒๕๓๒ ไดร้บัพระราชทานโล่

รางวลั 'มหิดลวรานสุรณ'์

พ.ศ. ๒๕๓๒ ไดร้บัโลผ่ ูท้ าคณุประโยชน์

ต่อการศึกษา ในวาระครบรอบ ๒๐ ปี

คณะศึกษาศาสตร ์

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์

พ.ศ. ๒๕๓๓ ไดร้บัรางวลักิตติคณุ

สมัพนัธ ์'สงัขเ์งิน' สาขาเผยแผ่

พระพทุธศาสนา

พ.ศ. ๒๕๓๗ ไดร้บัรางวลัการศึกษาเพ่ือ

สนัติภาพ จากองคก์ารยเูนสโก (UNESCO

Prize for Peace Education)

พ.ศ. ๒๕๓๘ คณะกรรมการวฒันธรรม

แห่งชาติ ประกาศเชิดชเูกียรติเป็น

'ผ ูท้รงคณุวฒิุทางวฒันธรรม'

พ.ศ. ๒๕๓๘ สถาบนันวนาลนัทา ประเทศ

อินเดีย ถวายต าแหน่ง "ตรีปิฎอาจารย"์

หมายถึงอาจารยผ์ ูร้ ูแ้ตกฉานในพระไตรปิฎก

พ.ศ. ๒๕๔๑ มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร ์และ

มลูนิธิโตโยตา้ ประเทศไทย ถวายรางวลั TFF

Award สาขาสงัคมศาสตรแ์ละ มานษุยวิทยา

ส าหรบัผลงานทางวิชาการดีเด่น หนงัสือ 'การ

พฒันาท่ียัง่ยนื'

พ.ศ. ๒๕๔๔ รางวลั 'สาโรช บวัศร ีปราชญผ์ ู้

ทรงศีล' จาก มหาวิทยาลยัศรนีครนิทรวิโรฒ

พ.ศ. ๒๕๔๔ มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา้ฯ

แต่งตัง้ เป็น 'ศาสตราจารยพิ์เศษ' ของ

มหาวิทยาลยัมหาจฬุาลงกรณราชวิทยาลยั

พ.ศ. ๒๕๔๗ มหาวิทยาลยั

พระพทุธศาสนาแห่งโลก ถวาย

ต าแหน่ง 'เมธาจารย'์ (Most Eminent

Scholar) ในฐานะนกัปราชญ ์ทาง

พระพทุธศาสนาสายเถรวาท

พ.ศ. ๒๕๔๙ มีพระบรมราชโองการ

โปรดเกลา้ฯ แต่งตัง้ เป็น 'ราชบณัฑิต

(พิเศษ)'

พ.ศ. ๒๕๕๒ โลว่ชัรเกียรติคณุ

จาก คณะกรรมการศาสนา

ศิลปะและวฒันธรรม

พ.ศ. ๒๕๕๒ ปชูนียบคุคลดา้น

ภาษาไทย จาก คณะกรรมการ

วฒันธรรมแห่งชาติ

จบการน าเสนอ

มยรุฉตัร ผิวอ่อนดี

top related