agri specific crop

69
การใชผลิตภัณฑเพื่อการเกษตรแอมเวย กับพืชเศรษฐกิจ

Upload: prawit-yothasiri

Post on 15-Feb-2017

739 views

Category:

Business


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Agri specific crop

การใชผลิตภัณฑเพื่อการเกษตรแอมเวย กับพืชเศรษฐกิจ

Page 2: Agri specific crop

พืชเศรษฐกิจที่สําคัญในประเทศไทย

ยางพารา

ปาลมน้ํามัน

มันสําปะหลัง

ออย

ขาว

ขาวโพด

ไมดอกไมประดับ

ไมผล

พืชผัก

Page 3: Agri specific crop

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของขาว

• ขาวนาป ป 2556 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรประมาณการ ณ เดือน กันยายน 2555 มีเนื้อที่เพาะปลูก 61.72 ลานไร ผลผลิตตอไรเฉลี่ย 424 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้นจากป 2555 สงผลใหภาพรวมการผลิตขาวเพิ่มขึ้น

• ขาวนาปรัง ป 2556 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรประมาณการ ณ เดือน มิถุนายน 2555 มีเนื้อที่เพาะปลูก 17.12 ลานไร ผลผลิต 11.67 ลานตัน และผลผลิตตอไรเฉลี่ย 682 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้นจากป 2555

Page 4: Agri specific crop

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของขาว

• การสงออก ป 2556 คาดวาไทยจะสงออกประมาณ 8.00-8.50 ลานตันขาวสาร เพิ่มขึ้นจากป 2555 รอยละ 23.08 โดยภาครัฐไดกําหนดแผนขยายตลาดสงออกขาวที่มุง แสวงหาตลาดใหมๆ เชน ประเทศในภูมิภาคแอฟริกา อเมริกาใต และตะวันออกกลาง โดยแผนการประชาสัมพันธเนนคุณภาพของขาวไทยและมาตรฐานเปนที่ยอมรับใน ตลาดโลก

Page 5: Agri specific crop

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของขาวโพด

• ความตองการใชขาวโพดเลี้ยงสัตว ป 2556 คาดวามี 4.67 ลานตัน เพิ่มขึ้น จาก 4.36 ลานตัน ในป 2555 รอยละ 7.11 เนื่องจากการขยายตัวของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว เพื่อการบริโภคภายในประเทศและเพื่อการสงออกเนื้อสัตวและผลิตภัณฑ ทําใหความตองการใช ขาวโพดเลี้ยงสัตวเพื่อเปนวัตถุดิบอาหารสัตวเพิ่มขึ้น

• ขาวโพดฝกสด ไดแก ขาวโพดฝกออนและขาวโพดหวาน ใชในการประกอบอาหารตางๆ ปจจุบันความตองการใชขาวโพดฝกสดในประเทศมีเปนจํานวนมาก แตปริมาณการสงออกไปจําหนายยังตางประเทศนั้นมีนอย เนื่องจากมีพื้นที่ปลูกนอยหากเทียบกับพืชเศรษฐกิจอื่นๆในประเทศ

Page 6: Agri specific crop

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของถั่วเหลือง

• ความตองการใชเมล็ดถั่วเหลือง ตั้งแตป 2551 - 2555 ภายในประเทศมีความตองการ เพิ่มขึ้นรอยละ 3.77 ตอป ในป 2555 การใชประโยชนมีหลาย วัตถุประสงค ไดแก สกัดน้ํามัน ทําพันธุ และแปรรูปผลิตภัณฑอาหาร

• การสงออก ของไทยสวนใหญเปนการสงออกเมล็ดถั่วเหลืองสายพันธุธรรมชาติ (Non-GMOs) ที่ผลิตไดภายในประเทศ ตลาดสงออกสวนใหญอยูในทวีปเอเชีย โดยในชวงป 2551 - 2555 ปริมาณสงออกอยูระหวาง 954 - 2,629 ตัน

Page 7: Agri specific crop

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของออย

• ป 2555/56 ไทยมีเนื้อที่เพาะปลูกออย 8.09 ลานไร เพิ่มขึ้นจากป 2554/55 0.8 ลานไร

• ป 2555/56 ผลผลิตออย 99.61 ลานตัน เพิ่มขึ้นจาก 98.40 ลานตัน ในป 2554/55 รอยละ 1.22

• ไทยบริโภคน้ําตาลปละ 1.6-1.7 ลานตัน เปนมูลคา 17,000-19,000 ลานบาท

• ไทยมีการสงออกมากกวาปละ 3 ลานตัน เปนมูลคา 20,000-30,000 ลานบาท ทําใหประเทศไทยเปนผูสงออกน้ําตาลอันดับ 4 ของโลก

Page 8: Agri specific crop

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของมันสําปะหลัง

• มันสําปะหลังถือเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศ เปนอันดับ 3 รองจากขาวและยางพารา

• เกษตรกรหลายพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังเพื่อปอนเขาโรงงานผลิตเอทานอล

• ป 2555 ความตองการใชมันสําปะหลังเพิ่มขึ้นในสวนที่ใชเพื่อเปนอาหารและพลังงาน ประเทศผูผลิตในเอเชีย เชน ไทย จีน อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และเวียดนาม มีนโยบายสงเสริมการผลิตพลังงานทดแทนเชื้อเพลิงมากขึ้น ทําใหความตองการใชมันสําปะหลังขยายตัวมากขึ้น

Page 9: Agri specific crop

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของยางพารา

• ไทยเปนผูสงออกยางพาราธรรมชาติมากเปนอันดับ 1 ของโลก • ในป 2554 ประเทศไทยสงออกผลผลิตยางพาราในรูปแบบยาง

ธรรมชาติ ประมาณ 440,862 ลานบาท• ในเดือน มกราคม-ตุลาคม ของป 2555 เราไดสงออกผลผลิต

ยางพาราในรูปแบบผลิตภัณฑยางตางๆ ประมาณ 227,665 ลานบาท

Page 10: Agri specific crop

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของปาลมน้ํามัน

• ปจจุบัน ไทยมีจํานวนเกษตรกรผูปลูกปาลมน้ํามันมากกวา 1.28 แสนครัวเรือน มีพื้นที่เพาะปลูก และพื้นที่ใหผลผลิตประมาณ 4.28 และ 3.98 ลานไร

• ไทยสามารถผลิตน้ํามันปาลมดิบไดปละ 1.9 ลานตัน ซึ่งชวยสรางรายไดใหแกเกษตรกรประมาณ 6 หมื่นลานบาทตอป

• การผลิตน้ํามันปาลมดิบของไทยในป 2555 มีแนวโนมขยายตัวรอยละ 5-7 จากปกอนหนา

Page 11: Agri specific crop

ผลิตภัณฑเพื่อการเกษตรแอมเวยสารเสรมิประสิทธิภาพ

แอ็ปซา-80ปุยธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม

นิวทริแพลนท เอจี

ปุยธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอนปุยธาตุอาหารหลัก

นิวทริแพลนท ไนโตรเจน พลัส

ปุยธาตุอาหารหลัก นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

ปุยธาตุอาหารหลัก นิวทริแพลนท โพแทสเซียม พลัส

สารปรับปรงุบํารุงดินนิวทริแพลนท ซอยลพลัส

Page 12: Agri specific crop

สารเสริมประสิทธิภาพ แอ็ปซา-80Adjuvant APSA-80

X ไมใช ปุย X ไมใช ยา X ไมใช ฮอรโมนพืช

แอดจูแวนทสารเสริมประสิทธิภาพชนิดเขมขน

Page 13: Agri specific crop

สวนประกอบ

สารออกฤทธิ์ 80% ประกอบดวย

2. กรดไขมันอิสระสารประกอบอื่นๆ 20%แอลกอฮอลล**เปนสารลดแรงตึงผิวที่ไมมีประจุ (Non Ionic)**

1. อัลคิล อัลริล อัลคอกซีเลต

Page 14: Agri specific crop

คุณสมบัติของแอ็ปซา-80

3. เปนตัวกระทําอิมัลชั่น2. เปนสารกระตุน

4. เรงการแทรกซึมน้ําลงสูดิน5. ไมมีฤทธิ์กัดกรอนโลหะ6. สูตรเขมขน ชวยประหยัด

1. เปนสารชวยแผกระจาย

Page 15: Agri specific crop

วิธีการผสมสารเสริมประสิทธิภาพ แอ็ปซา-80 กับสารเคมีตางๆ

น้ํา 3 ใน 4 สวน

แอ็ปซา-80สารปองกันกําจัดศัตรูพชื

ผสมแอ็ปซาใหเขากับน้ําเพื่อปรับสภาพน้ํากอน

ผสมสารปองกันกําจัดศัตรูพืชใหเขากับน้ําและแอ็ปซาที่เตรียมไว

เติมน้ําใหเต็มถังผสมสารปองกันกําจัดศัตรูพืชใหเขากันกับน้ําและแอ็ปซากอนนําไปฉีดพน

Page 16: Agri specific crop

ปุยเคมีธาตุอาหารรองธาตุอาหารเสริมในรปูคีเลตและสารประกอบ

เชิงซอนสําหรบัพชืผลทางการเกษตรชนิดฉีดพนทางใบ

สูตรชีวภาพ

นิวทริแพลนท เอจี คืออะไร?

Page 17: Agri specific crop

ธาตุอาหารรอง

ธาตุอาหารเสริม

กํามะถัน (S) 0.75%

- เหล็ก(Fe) 0.32% - โมลิบดีนัม(Mo) 0.0005%

- โบรอน(B) 0.014% - ทองแดง(Cu) 0.025%

- แมงกานีส(Mn) 0.26% - สังกะสี (Zn) 0.53%

สารอาหารอินทรีย โปรตีน กรดอะมิโน กรดอินทรีย คารโบไฮเดรต

สวนผสมหลักในนิวทริแพลนท เอจี

Page 18: Agri specific crop

ธาตุอาหาร ความสําคัญ

กํามะถัน(S)

โบรอน (B)

ทองแดง (Cu)

เหล็ก (Fe)

แมงกานีส (Mn)

โมลิบดีนัม (Mo)

สังกะสี (Zn)

เปนองคประกอบของกรดอะมิโน โปรตีน และวิตามินที่สําคัญกับพืช

ชวยในการออกดอกผสมเกสร มีบทบาทสําคัญในการติดผลและการเคลื่อนยายน้ําตาลมาสูผลชวยในการสังเคราะหคลอโรฟลล การหายใจ การใชโปรตีนและแปง กระตุนการทํางานของเอ็นไซมบางชนิดชวยในการสังเคราะหคลอโรฟลล มีบทบาทสําคัญในการสังเคราะหแสงและหายใจชวยในการสังเคราะหแสงและการทํางานของเอ็นไซมบางชนิด

ชวยใหพืชใชไนเตรตใหเปนประโยชนในการสังเคราะหโปรตีน

ชวยในการสังเคราะหออกซิน (ฮอรโมนพืช) คลอโรฟลล และแปง

ความสําคัญของธาตุอาหารในนิวทริแพลนท เอจี

Page 19: Agri specific crop

*** ออกซิน (ฮอรโมนพืช) สงผลใหพชืแตกยอดออน แตกรากกระตุนการเจรญิเติบโตของลําตน ***

Page 20: Agri specific crop

เชื้อจุลินทรยี

สารอาหาร

ถังอาหารเพาะเชือ้จลุินทรยีเพื่อการผลิตปุย

กระบวนการผลิตสารเชิงซอนทางชีวภาพ “Biological Complexation Process หรือ BCP

กระบวนการผลิตนิวทริแพลนท เอจี

Page 21: Agri specific crop

อบใหเชือ้เจริญเติบโตและเกิดสารเมแทบอไลท

กรดอะมิโน

คารโบไฮเดรต

กรดอินทรยี

โปรตีน

กระบวนการคีเลชัน่

ไอออนโลหะ (จุลธาตุ)

สารเมแทบอไลท ในรปูของโปรตีน กรดอะมิโน กรดอินทรยี

คารโบไฮเดรต

ไอออนโลหะ (จุลธาตุ)

สารคีเลต

- เหล็ก(Fe) - โมลิบดีนัม(Mo) - ทองแดง(Cu) - แมงกานีส(Mn) - สังกะสี (Zn)

1. คีเลตอันเกิดจากการรวมตัวกับกรดอะมิโน

2. คีเลตอันเกิดจากการรวมตัวกับกรดอินทรีย

3. คีเลตอันเกิดจากการรวมตัวกับคารโบไฮเดรต

เติมธาตุอาหารอื่นผสมเขาดวยกัน ทําใหผลิตภัณฑมีเสถยีรภาพในขั้นสุดทาย

กระบวนการผลิตนิวทริแพลนท เอจี

Page 22: Agri specific crop

บรรจุลงภาชนะออกมาเปนผลิตภัณฑปุยนิวทริแพลนท เอจี

Page 23: Agri specific crop

สังกะสี(ไอออนบวก)จับตัวกับฟอสเฟต(ไอออนลบ) ทําใหเกิดการตกตะกอน

ฟอสเฟต

สังกะสีฟอสเฟต

สังกะสี

ตกตะกอน

ฟอสเฟตไมสามารถจับตัวกับสังกะสี(ไอออนบวก)ไดเพราะมีคีเลตปกปองอยู

ฟอสเฟตคีเลต

สังกะสี

คีเลต

สังกะสี

ฟอสเฟต

ไมเกิดการตกตะกอน

คุณสมบัติที่ไดจากกระบวนการผลิตปุยคีเลต

Page 24: Agri specific crop

ผิวใบพืช

ผิวใบพืช

ขนาดของคีเลตและสารประกอบเชิงซอนเล็กทําใหพืชดูดไปใชงานไดงายขึ้น

คุณสมบัติที่ไดจากกระบวนการผลิตปุยคีเลต

Page 25: Agri specific crop

ผิวใบ ผิวใบ ผิวใบ ผิวใบ ผิวใบ

เนื้อเยื่อภายในใบ

คุณสมบัติที่ไดจากกระบวนการผลิตปุยคีเลต

Page 26: Agri specific crop

NUTRIPLANT AG ชวยลดความเสียหายลงได 55%

NUTRIPLANT® AG ลดความเสียหายอันเกิดจากเครียดดานความแหงแลง

Treated =ฉีดพนปุย 2 ครั้ง (สัปดาหละครั้ง), แลวใหอยูในสภาพแหงแลง 1-4 ชั่วโมง

NUTRIPLANT® AG

ลดความเสียหายที่เกิดกับพืชวัดจากปริมาณสารใน

ของเหลวที่รัว่ซึมออกมาจากเซลล เมื่อคิดจากปริมาณ

ของเหลวทั้งหมด ในชวงเวลา 1-4 ชั่วโมง

Page 27: Agri specific crop

NUTRIPLANT® AG ชวยใหพืชทนตอสภาพที่มีอุณหภูมิสูงตนมะเขือเทศทางขวามือ ฉีดพนปุย 2 ครั้ง (สัปดาหละครั้ง), แลวใหอยูในหองที่มีอุณหภูมิ 116º F (47ºC) เปนเวลา 2 ชั่วโมง

ลดความเสียหายเนื่องจากอุณหภูมิสูงNUTRIPLANT® AG

Control Treated

Page 28: Agri specific crop

NUTRIPLANT® AG ชวยใหพืชทนตอสภาพที่มีอุณหภูมิต่ําตนมะเขือเทศทางขวามือ ฉีดพนปุย 2 ครั้ง (สัปดาหละครั้ง), แลวใหอยูในหองที่มีอุณหภูมิ 23º F ( -5ºC) เปนเวลา 2 ชั่วโมง

ลดความเสียหายเนื่องจากอุณหภูมิต่ํา

Control Treated

NUTRIPLANT® AG

Page 29: Agri specific crop

เพิ่มประสิทธิภาพและคณุภาพผลผลิตใหสูงขึ้น

ชวยในการสังเคราะหแสงของพชื

ใหผลผลิตเร็วขึ้นเสรมิการเจรญิเติบโตของพืชเสรมิการออกดอกออกผล และชวยปองกันดอกและผลรวง

มีสวนประกอบที่สมดุลของธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม

คุณประโยชนของนิวทริแพลนท เอจี

Page 30: Agri specific crop

ปุยเคมีธาตุอาหารหลัก ฉีดพนทางใบ ซึ่งใหธาตุอาหารหลักครบถวน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม

นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส สูตร 4-18-18

Page 31: Agri specific crop

ประกอบดวยธาตุอาหารหลักในปริมาณ ดังนี้ ไนโตรเจนทัง้หมด (N) 4%ฟอสฟอรัสทีเ่ปนประโยชน (P2O5) 18%โพแทชทีล่ะลายน้ํา (K2O) 18%

สวนประกอบในปุยเคมีนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

Page 32: Agri specific crop

ธาตุอาหารหลักในนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

ประกอบดวยไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K)

• ไนโตรเจน มีประโยชนในการสังเคราะหหนวยโครงสรางพืน้ฐานของกรดอะมิโน กรดนิวคลีอิก และคลอโรฟลล

• ฟอสฟอรัส เกี่ยวของกับการใชประโยชนจากน้ําตาล แปง และการสงผานพลังงาน

• โพแทสเซียม มีประโยชนตอการเจรญิเติบโตและพฒันาการของราก สรางน้ําตาล และน้ํามัน ความทนทานตอสภาพอากาศหนาวเย็น คุณภาพของผล (น้ําตาล สี และการควมคุมสภาพกรด) และชวยใหพชืทนแลง

Page 33: Agri specific crop

อาการขาดไนโตรเจนของใบขาวโพด (ขวา) ปรากฏที่ใบ

แกหรือใบลางเปรียบเทียบกับใบปรกติในตําแหนงเดียวกัน (ซาย)

อาการขาดไนโตรเจนของขาวโพด

Page 34: Agri specific crop

อาการขาดฟอสฟอรัสของขาวโพด

อาการขาดธาตุฟอสฟอรัสของขาวโพด แสดงอาการที่ใบแก ลักษณะเดนคือมีสีมวงเกือบทั้งแผนใบ ยกเวน

เสนกลางใบ

Page 35: Agri specific crop

อาการขาดโพแทสเซียมของขาวโพด

ใบลางของขาวโพด แสดงใบปรกติ (ซาย) ใบที่ขาดไนโตรเจน (กลาง) และใบที่ขาดโพแทสเซียม (ขวา)

Page 36: Agri specific crop

5. ชวยสงเสรมิภูมิคุมกัน (Elicitors) ใหกับพืช

คุณสมบัติ 5 ประการในนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

1. ลิแกนดธรรมชาติ (Natural Ligands) ที่ไดจากกระบวนการผลิตชวยใหปุยซึมเขาสูใบพืชไดรวดเร็วและเปนประโยชนกับพชื

2. ชวยตานอนุมูลอิสระ (Antioxidants) ในเซลลพชื

3. ชวยปองกันภัยจากภาวะออสโมซิสผิดปกติ (Osmorprotectants)

4. ชวยสงเสรมิกระบวนการทางชีวภาพ (Biostimulants) ของพืชใหเปนปกติ

Page 37: Agri specific crop

อยูในรูปแบบน้ํา ใชฉีดพนทางใบ ละลายน้ําได 100 % ชวยแกไขอาการขาดธาตุอาหารหลักในพืชไดอยางรวดเร็วและเห็นผลชัดเจน มีธาตุอาหารหลัก N P K ที่พืชตองการอยางครบถวน นอกจากมีธาตุอาหารหลัก N P K แลวใน นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส ยังประกอบไป

ดวยสารประกอบอินทรียหลายชนิด ธาตุอาหารหลัก N P K และสารอินทรียตางๆในผลิตภัณฑปุยอยูในรูปสารประกอบ

เชิงซอนโมเลกุลเล็ก(คลายคีเลต) ธาตุอาหารหลักและสารอินทรีย มีการเกาะตัวกันอยางเหมาะสม และมีความสามารถ

รวมตัวเขากับสารอื่นๆไดดี ไมเกิดการตกตะกอน

คุณสมบัติเดนของนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส สูตร 4-18-18

Page 38: Agri specific crop

คุณประโยชนของปุยนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

• ชวยเรงการออกดอก ออกผล ใหกับพืช จึงเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิตใหสูงขึ้น

• ชวยใหพืชเจริญเติบโตไดอยางสมบูรณสูงสุด และไมทําลายสภาพดินและสิง่แวดลอม

• ชวยใหพืชมีความทนทานตอสภาพแวดลอมอันเลวรายตางๆไดดียิ่งขึ้น

• ใหผลผลิตเร็วขึ้น เกษตรกรเก็บเกี่ยวไดเร็วขึ้นชวยใหเกษตรกรยิ้มได

Page 39: Agri specific crop

39

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

“ชวยใหโครงสรางของผนังเซลล เยื่อหุมเซลลและเยื่ออื่นๆในเซลล

มีความสมบูรณ”

“ชวยใหโครงสรางของผนังเซลล เยื่อหุมเซลลและเยื่ออื่นๆในเซลล

มีความสมบูรณ”

Page 40: Agri specific crop

40

หากพืชขาดแคลเซียมและโบรอน นอกจากผลผลิตจะลดลงมากแลว ยังทําใหคุณภาพและมูลคาของผลผลิตที่เก็บรักษาไวลดลงมากดวย

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

Page 41: Agri specific crop

41

การผสมเกสรนอย จึงไมคอยติดผล

มีอาการกนผลเนาในมะเขือเทศ พริก แตงโม และผลไมอื่นๆรวมทั้งความผิดปกติที่ใบผักตางๆดวย

ผลสมปริแตก

เนื้อในของผลมังคุดเปนเนื้อแกว เนื้อเหลืองและยางไหล

ความผิดปกติในพืช ซึ่งเกิดจากการขาดแคลเซียมและโบรอน หรือภาวะไมสมดุลของแคลเซียมและโบรอน

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

Page 42: Agri specific crop

42

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

ตํารับปุย อัตราที่ใช อาการผิดปกติที่เกิดกับผลCaO กรัม/เฮ็กตาร

เก็บในหองเย็น 90 วัน เก็บในหองเย็น 90 วันและขางนอกอีก 15 วัน

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน 510 3.7 4.5แคลเซียมเพียงอยางเดียว 2,430 14.8 8.9

Source: Agrisouth, Colbun, Chile – 2008, 2009 ทดลองกับตนแอบเปลที่ผิวผลมีอาการผิดปกติ คือ รอยบุม ปุยแคลเซียมที่ใช คือแคลเซียมคลอไรด

ฉีดพนปุยนิวทริแพลนทแคลเซียม-โบรอน อัตราต่ํา 5 ครั้ง ลดอาการผิดปกติไดถึง 49% เมื่อเทียบกับการใชปุยแคลเซียมเพียงอยางเดียว

ผลิตภัณฑที่มีแคลเซียมและโบรอนอยูดวยกันใหผลดีกวาการใชปุยที่มีแคลเซียมเพียงอยางเดียว

ลดลง 49%

Page 43: Agri specific crop

ผลิตภัณฑนิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอนประกอบดวย

43

แคลเซียม (CaO) 12%โบรอน (B) 0.75%

แคลเซียม โบรอน

Page 44: Agri specific crop

44

องคประกอบดานสารอินทรียลิแกนตธรรมชาติที่ชวยเพิม่การดูดซึมเขาสูใบและการเคลื่อนยายของแคลเซียมและโบรอนในใบสารตอตานอนุมูลอิสระทีช่วยปกปองพชืจากอันตรายทีเ่กิดจากอนุมูลอิสระสารกระตุนเชงิชวีภาพทีช่วยสงเสรมิกระบวนการซึ่งสําคัญตอชวีิตและการเจริญเติบโตสารเสรมิประสิทธิภาพการจบัใบและดูดซึมธาตุอาหารเขาสูใบ

* ลิแกนดเปนสารอนิทรยีทีจ่ับกับธาตุอาหารแลวเพิม่ประสิทธิภาพการดูด และการเคลื่อนยายธาตุนั้นในพชื

องคประกอบของนิวทริแพลนทแคลเซียม-โบรอน

Page 45: Agri specific crop

45

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

บทบาทสําคัญของนิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน ทําให1) โครงสรางของผนังเซลลสมบูรณ 2) เพิ่มเสถียรภาพของเยื่อหุมเซลล 3) สงเสริมการยืดตัวของเซลลและเปลี่ยนสภาพของเนื้อเยื่อ 4) เปนสารตานอนุมูลอิสระจึงชวยใหเกิดผลดีตอพืชหลายประการ

Page 46: Agri specific crop

คุณประโยชนของนิวทริแพลนทแคลเซียม-โบรอน• การติดผล การติดเมล็ด การติดฝก ของพืชแตละชนดิดีขึ้น ทําใหผลผลิตสูง• ผลไม ผักสด และเมล็ดพืชมีคุณภาพดีขึ้น• มะเขือเทศ พริก แตง และพืชอืน่ๆไมมีอาการกนผลเนา• ผลไมรูปทรงดีไมมีผลที่รูปรางบิดเบี้ยว จึงเปนที่ตองการของตลาด• คุณภาพของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวดีขึ้น• ลดความสูญเสียระหวางการเก็บรักษาและการขนสง

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

Page 47: Agri specific crop

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

การออกดอก การติดผล และการพัฒนาผลในระยะแรก

ไมผล: ใชอัตรา 160-240 มล./ไร ในระยะติดผล และฉีดพนซ้ําทุกสัปดาหอีก 3 ครั้ง แนะนําใหฉีดพนในระยะผลเขาสีดวย

พืชใหผลประเภทเบอรี่ (ผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด): เชน บลูเบอรี่ สตอเบอรี องุน-ใชอัตรา 160-640 มล./ไรเมื่อผลเขาสี และฉีดพนซ้ําตามความจําเปนเพื่อแกไขการขาดธาตุอาหาร

พืชไร ตลอดจนพืชผัก ธัญพืช พืชน้ํามันและถั่วตางๆ: ใชอัตรา 160-640 มล./ไร ในระยะกอนออกดอก ติดผล และฉีดพนซ้ําตามความจําเปนเพื่อแกไขการขาดธาตุอาหาร

นิวทริแพลนทแคลเซียม-โบรอน จําเปนตอการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืชในระยะตางๆ

Page 48: Agri specific crop

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

วิธีใช:เขยาขวดกอนเปดขวด นําปุยมาเจือจางดวยน้ําปริมาณเพียงพอที่จะใชฉีดพนไดอยางทั่วถึงหากใชถังฉีดพนแบบสะพายหลัง ควรละลายปุย 40-160 มล./น้ํา 20 ลิตรใชสารละลายปุยที่เจือจางไวแลว 20 ลิตรฉีดพนในพื้นที่ 0.25 ไร (1 งาน)

Page 49: Agri specific crop

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

ตํารับปุย ปริมาณแคลเซียมที่ใหทั้งหมด

ความเขมขนของแคลเซียมในผล (มก./100 กรัมผลสด)

(กรัม/เฮ็กตาร) ตัวอนางที่เก็บครั้งที่ 1

ตัวอยางที่เก็บครั้งที่ 2

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน 357 3.9 a* 4.0 aปุยแคลเซียมแบบอื่น 2,924 3.0 b 3.1 c

* ตัวเลขที่ตามดวยตัวอักษรตางกัน แสดงวาความแตกตางมีนับสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอนใหผลการใชดีกวาปุยแคลเซียมรูปอื่นๆ

การใชปุยนิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอนอัตราต่ํากวาปุยอื่น 8 เทา แตทําใหปริมาณแคลเซียมในผลสูงกวาการใชปุยแคลเซียมแบบอื่น 30%

เพิ่มขึ้น30%

Source: cv. Royal Gala. Agrisouth, Colbun, Chile – 2008, 2009 Calcium salt supplied in a form of calcium chloride

Page 50: Agri specific crop

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

จากบทบาทของปุยนิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอนในดาน:ชวยใหโครงสรางของผนังเซลลสมบูรณสรางเสถียรภาพของเยื่อหุมเซลลการยืดตัวของเซลลและการเปลี่ยนสภาพของเนื้อเยื่อกิจกรรมตานอนุมูลอิสระ

เพื่อใหไดผลผลิตและคุณภาพผลผลิตสูงขึ้น อายุการเก็บรักษานานขึ้น

Page 51: Agri specific crop

แนะนําใชใหเกิดประโยชนสูงสุดทางใบ

ใชรวมกับสารเสรมิประสิทธิภาพแอปซา-80 เพื่อเพิม่ประสิทธิภาพในการดูดซึมธาตุอาหารของพืชและชวยใหเกิดผลดียิ่งขึ้น

Page 52: Agri specific crop

นิวทริแพลนท ซอยลพลัส

Page 53: Agri specific crop

ประโยชนของนิวทริแพลนท ซอยลพลัส

• ใชทางดิน เพื่อชวยเพิ่มกิจกรรมของจุลินทรียดินที่มีประโยชนใชไดผลดีกับดินทุกชนิด

• ชวยใหกิจกรรมทางชีวภาพของดินสูงขึ้น จึงทําใหสภาพของดินดีขึ้น

• ชวยเพิ่มธาตุอาหารในดิน ดังนั้นจึงชวยใหพืชเจริญเติบโตและมีผลผลิตสูงขึ้น

Page 54: Agri specific crop

คุณประโยชนของนิวทริแพลนท ซอยลพลัส ชวยเพิ่มการเจริญเติบโตของจุลินทรียดินที่เปนประโยชน ชวยปรับปรุงโครงสรางของดิน

จํานวนโคโลนีของจุลินทรยีทีน่บัไดจากดิน 1 กรัม (CFU)จุลินทรยี กอนใชนวิทรแิพลนท

ซอยลพลัสหลังจากใชนวิทรแิพลนท

ซอยลพลัสแบคทีเรยี 93 x 106 9.8 x 107

แอกติโนไมซีต 4.9 x 106 2.6 x 107

เชื้อรา 6.2 x 103 7.8 x 103

* Colony Forming Units

“นิวทริแพลนท ซอยลพลัส ชวยเพิ่มกิจกรรมของจุลินทรียดินที่เปนประโยชน เชน แอกติโนไมซีต แบคทีเรีย และเชื้อรา”

Page 55: Agri specific crop

การทํางานของนิวทริแพลนท ซอยลพลัสนิวทริแพลนท ซอยลพลัส ชวยเพิ่มประชากรของจุลินทรียที่เปนประโยชนดานการปรับปรุงดิน

จลุินทรีย จํานวนโคโลนีของจุลินทรียที่นับไดจากดิน 1 กรัม (CFU/g) กอนใชสาร หลังจากใชสาร

แบซิลลสั 105 107

คลอสตริเดียม 103 105

ฟลาโวแบคทีเรียม 106 107

ไมโครคอกคัส 105 106

ไรโซเบียม 104 106

CFU/g = Colony Forming Units per gram of Soil

นิวทริแพลนท ซอยลพลัส เพิ่มประชากรของแบคทีเรีย ซึ่งมีบทบาทสําคัญในการเพิ่มธาตุอาหารในดินและความอุดมสมบูรณของดิน ทําใหสุขภาพของพืชดีขึ้น

Page 56: Agri specific crop

ความสําคัญของจุลินทรียดิน บาซิลลัส ชนิดตางๆ• ทําหนาที่ปรับปรุงสภาพดินและชวยในการหมุนเวียนธาตุอาหารพืชในดิน • ชวยใหฟอสฟอรัสในดินเปนประโยชนตอพืชมากขึ้น• ชวยปกปองรากมิใหเชื้อโรคเขาทําลาย • ผลิตสารปฏิชีวนะได สารนี้ชวยควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อสาเหตุโรคพืช• กระตุนระบบภูมิคุมกันโรคใหแกพืช • ชวยควบคุมวงจรของไนโตรเจนใหขับเคลื่อนไปไดดี

Page 57: Agri specific crop

ความสําคัญของจุลินทรียดิน คลอสทริเดียม ชนิดตางๆ• ชวยปรับปรุงสภาพดิน และขับเคลื่อนวงจรธาตุอาหารในดิน ดวยการยอยสลายสารอินทรียตางๆ • ปกปองพืชมิใหโรคพืชเขาทําลายพืชปลูก โดยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อสาเหตุโรคพืช • ชวยเพิ่มปริมาณไนโตรเจนที่พืชใชประโยชนได โดยการตรึงไนโตรเจนในสภาพที่ดินขาดออกซิเจน

Page 58: Agri specific crop

ความสําคัญของจุลินทรียดิน ฟลาโวแบคทีเรียม ชนิดตางๆ

• ปรับปรุงสภาพดินและความอุดมสมบูรณของดิน • มีความสามารถในการละลายสารประกอบอนินทรียฟอสเฟตในดิน จึงชวยใหฟอสฟอรัสเปนประโยชนแกพืชมากขึ้น •มีความสามารถในการสังเคราะหออกซิน ซึ่งเปนฮอรโมน จึงชวยใหพืชเจริญเติบโตดีขึ้น

Page 59: Agri specific crop

ความสําคัญของจุลินทรียดิน ไมโครคอกคสั ชนิดตางๆ•ปรับปรุงสภาพดิน และขับเคลื่อนวงจรธาตุอาหารในดิน โดยการยอยสลายซากพืช รวมทั้งลิกนินซึ่งเปนสารที่สลายยากดวย•ชวยลดสภาพพิษของสารตางๆ โดยการยอยสลายสารมลพิษในดิน เชนสารเคมีฆาวัชพืช และสารเคมีฆาแมลงหลายชนิด•ควบคุมวงจรของไนโตรเจนในบางขั้นตอน เชน การเปลี่ยนสารประกอบไนเตรตใหเปนไนไตรท

Page 60: Agri specific crop

ความสําคัญของจุลินทรียดิน ไรโซเบียม ชนิดตางๆ

•เพิ่มไนโตรเจนที่เปนประโยชนใหแกพืช โดยอยูในรากพืชตระกูลถั่ว แลวเปลี่ยนแกสไนโตรเจนซึ่งพืชใชประโยชนไมได ใหอยูในรูปที่พืชใชประโยชนงาย

Page 61: Agri specific crop

ประโยชนของการเพิ่มกิจกรรมของจุลินทรียดิน

•ชวยใหสมบัติทางฟสิกสและเคมีของดินดีขึ้น•ลดความแนนทึบของดิน•เพิ่มการถายเทอากาศ•เพิ่มความจุในการเก็บน้ําไวใหพืชใชประโยชน •เพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดินที่เปนประโยชนตอพืช

การปรับปรุงดินใหมีสภาพแวดลอมเหมาะสมแกการเจริญเติบโตของพืชมากขึ้น ยอมทําใหไดผลผลิตสูงขึ้น

Page 62: Agri specific crop

อัตราการใชนิวทริแพลนท ซอยลพลัส

ชนิดของดินอัตราการใช

การฉีดทั่วแปลง ฉีดพนหรือราดเฉพาะบริเวณใตทรงพุมหรือขางแถวพืช

ดินทราย 160 ซีซี/ไร 80 ซีซี/ไรดินรวน 120 ซีซี/ไร 45 ซีซี/ไรดินเหนียว 80 ซีซี/ไร 40 ซีซี/ไร

Page 63: Agri specific crop

สรุปคุณประโยชนของนิวทริแพลนท ซอยลพลสั

ประโยชนตอดิน•เพิ่มจํานวนของจุลินทรยีดิน•ปรับปรุงโครงสรางดินและชวยใหดินไมแนนทบึ

ประโยชนตอพชื•รากดูดธาตุอาหารที่เปนประโยชนไดมากขึ้น•การกระจายตัวของรากดีขึ้น•ผลผลิตมากเพิ่มขึ้น

Page 64: Agri specific crop

แนะนําใชใหเกิดประโยชนสูงสุดทางดิน

ใชรวมกับสารเสรมิประสิทธิภาพแอปซา-80 เพื่อเพิม่ประสิทธิภาพในการดูแลดินเพือ่เพาะปลูกพชื

Page 65: Agri specific crop

ประกาศเพิ่มเติมวิธีการใชแอ็ปซา-80 รวมกับนิวทริแพลนท ซอยลพลัส ในเอกสารฝกอบรมผลิตภัณฑเพื่อการเกษตร เลม พืชพลังงานเศรษฐกิจ,

พืชสวนเศรษฐกิจ และพืชไรเศรษฐกิจเดิม เปลี่ยนเปน

โปรดแจงนักธุรกิจแอมเวยในองคกรใหทราบโดยทั่วกัน

Page 66: Agri specific crop

ขอกําหนดตาม พ.ร.บ. เกี่ยวกับการจําหนายปุย 2518

ตองขายปุย ณ สถานที่ที่ไดรับอนุญาตการขาย เชน แอมเวยช็อปนธอ. สามารถซื้อนิวทริแพลนท เอจี เพื่อการใชเอง โดย “ไม”

สามารถนําไปเสนอขายตอ ยกเวน นธอ.ที่มีใบอนุญาตจําหนายปุยกรณีทําผิด มาตรา 57 แหง พ.ร.บ.ปุย จะไดรับโทษจําคุกไมเกิน 5 ป

หรือปรับไมเกินสองแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 67: Agri specific crop

การขออนุญาตจําหนายปุยเคมี

ในกรุงเทพมหานคร ดําเนินการขอไดที่ ฝายปุยเคมี สํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทร.02-579-5536-7 ผูขอตองมีใบทะเบียนการคาหรือทะเบียนพาณิชย ใบอนุญาตออกใหจําหนายตามที่อยูที่ขอเทานั้น คาธรรมเนียม 100 บาท ใชเวลาดําเนินการ 1 วันทําการ อายุ

ใบอนุญาตมีอายุตามกําหนดไมเกิน 1 ป

Page 68: Agri specific crop

การขออนุญาตจําหนายปุยเคมี

ในตางจังหวัดสามารถขออนุญาตจําหนายปุยเคมีไดที่สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร 8 เขต ไดแก เชียงใหม ชัยนาท พิษณุโลก จันทบุรี ขอนแกนสุราษฏรธานี อุบลราชธานี สงขลา

Page 69: Agri specific crop